Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม การแปล - Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม ไทย วิธีการพูด

Sportswear Garment Technology - Wat

Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นวัตกรรมอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอ

เรียบเรียงโดย สุมนทิพย์ วิชัยดิษฐ

 

กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความกดดันจากกลุ่มนักอนุรักษ์เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดการลดการใช้ทรัพยากรน้ำในปริมาณมากในการย้อมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ทำให้ปัจจุบันมีการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมแบบไม่ใช้น้ำ บริษัทสิ่งทอไทย เป็นรายแรกๆที่พัฒนาร่วมกับไนกี้และอดิดาส ในการปรับใช้กระบวนการใหม่นี้  

อดิดาส ภายใต้แนวทางการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (Design for Environmental) และเพื่อโลกที่ดีกว่า (to make the world a Better Place) ได้รวมทีมกับกลุ่ม Yeh Group (Tong Siang) ในการพลิกโฉมเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้า พัฒนาเทคโนโลยีที่ชื่อว่า “DryDye” ในการย้อมสี/ใส่สีเข้าไปในเสื้อโดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรน้ำ Yeh Group ผู้ผลิตผ้าถักและสปอร์ตแวร์ในกรุงเทพ เป็นรายแรกที่มีการปรับใช้กระบวนการผลิตย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำเมื่อสามปีก่อน เทคโนโลยีนี้แทนที่การใช้น้ำด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่สามารถรีไซเคิลได้ ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและลดการใช้สารเคมีในกระบวนการ
อดิดาสเป็นแบรนด์แรกที่เริ่มแนะนำ DryDye เมื่อปี 2012 เปิดตัวโดยนำเสนอผ่านเสื้อยืดคอลเล็คชั่นพิเศษจำนวน 50,000 ตัว สู่ตลาดโดยใช้ผ้าที่มาจาก Yeh Group ซึ่งลดการใช้น้ำไปถึง 1,250,000 ลิตร และหลังจากนั้นก็เริ่มแนะนำสินค้าตัวอื่นๆ ภายใต้เทคโนโลยีนี้ ในเดือนมิถุนายน ปี 2013 มีแบรนด์เสื้อผ้ากีฬาสัณชาติเยอรมัน เปิดเผยว่า “มีการใช้ผ้าที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำ DryDye จากกลุ่ม Yeh Group ในประเทศไทยไปกว่า 1 ล้านหลา”

ตัวแทนของอดิดาสได้ให้ข้อมูลแก่ทาง just-style ว่า “DryDye เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ลึกซึ้ง มันสามารถจะใช้ตัวกลางใหม่ๆ อย่างคาร์บอนไดออกไซด์อัดแน่น ในการเป็นตัวนำสี ซึ่งกระบวนการนี้มีประโยชน์อย่างมากในหลายมุม โดย DryDye สามารถจะนำพาสีไปสู่วัตถุได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าการย้อมแบบเดิมด้วยน้ำ ซึ่งโดยปกติแล้วจะใช้น้ำ 25 ลิตรในการย้อมเสื้อ 1 ตัว เทคโนโลยีนี้ยังใช้สารเคมีน้อยลงกว่า 50% และใช้พลังงานลดลง 50% อีกด้วย นอกจากนี้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้เป็นตัวกลางในการนำสียังสามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ซ้ำได้อีก”

 

ทางด้าน ไนกี้ ก็เร่งแข่งขันการพัฒนาสปอร์ตแวร์เทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเช่นกัน โดยทางไนกี้ แถลงว่า ชุดนักวิ่งมาราธอนชาวเคนย่า ชื่อ Abel Kirui ที่ได้รางวัลเหรียญเงินในการแข่งขันมาราธอนชายในโอลิมปิกปี 2012 เป็นนักวิ่งที่สวมใส่ชุด tracksuit ที่ดีที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม Kirui วิ่งแข่ง 26.2 ไมล์ในชุดวิ่งที่ย้อมโดยปราศจากการใช้น้ำและผลิตจากผ้ารีไซเคิลที่ทำจากขวดพลาสติก 3 ขวด

ในการผลิตผ้านี้ ขวดพลาสติกจะถูกบดเป็นเกล็ดเล็กๆ นำไปหลอมละลาย แล้วนำไปฉีดเป็นเส้นด้าย ผ่านกระบวนการย้อมสีโดยการเติมสีเข้าไปโดยการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ที่รีไซเคิลมาแทนการใช้น้ำเป็นตัวช่วยในการให้ติดสี กระบวนการย้อมนี้พัฒนาโดยบริษัทชาวดัทช์ เรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “DyeCoo” ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและสารเคมีลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์

Martin Lotti ผู้อำนวยการฝ่ายออกแบบชุดของโอลิมปิค กล่าวไว้ว่า “สุดยอดนักกีฬามักจะต้องการเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงช่วยส่งเสริมพวกเขาทุกครั้งที่สวมใส่เพื่อการฝึกฝนและการแข่งขัน ซึ่งผ้าที่มาจากรีไซเคิลและย้อมแบบไม่ใช้น้ำนี้ที่นักวิ่งเคนย่าใส่เป็นเสื้อกล้ามวิ่ง มีความเหมาะสมทั้งในเรื่องน้ำหนักที่เบาและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย”
ไนกี้ มีการคิดค้นในเทคโนโลยีนี้มากว่าแปดปี เมื่อต้นปี 2012 ที่ผ่านมา ไนกี้ได้จับมือกับกลุ่มบริษัทชาวดัทช์เปิดตัวเทคโนโลยีชื่อ DyeCoo Textile Systems ในการพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมสำหรับสปอร์ตแวร์ พัฒนาเครื่องจักรย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำออกมาในเชิงพานิชย์ ผ้าของไนกี้จะถูกผลิตจากโรงย้อมแห่งใหม่ที่เพิ่งเปิดตัวด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำในไต้หวันเมื่อปลายปี 2012 โดยไนกี้ได้เซ็นสัญญากับโรงงานของชาวไต้หวัน ชื่อ Far Eastern Century Corp (FENC) ซึ่งมีโรงงานอยู่ 3 โรง หนึ่งโรงในไต้หวันและอีกสองแห่งในประเทศไทย


เทคโนโลยีนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา โดย DyeCoo Textile Systems ได้ถูกพัฒนาร่วมกับบริษัทคู่ค้าของไนกี้ชื่อ Huntsman Textile Effects มาตั้งแต่ตุลาคม 2012
Jay Bolus รองผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิคของ McDonough Braungart Design Chemistry (MBDC) กล่าวว่า “กระบวนการนี้สามารถทำงานได้โดยการลดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้อยู่ภายใต้ 1,100 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว ทำให้คาร์บอนได้ออกไซด์อยู่ในสภาวะเหนือวิกฤต ซึ่งทำให้มันมีคุณสมบัติที่เหมาะสมทั้งในสภาพที่เป็นของเหลวหรือก๊าซ” เทคโนโลยีนี้ถูกเผยแพร่อยู่ก่อนที่ไนกี้และอดิดาสจะเริ่มลงมาเล่นแล้ว เพียงแต่ยังมีปัญหาในการหาสีย้อมที่เหมาะสมกับกระบวนการ ปัญหาการใช้พลังงานอย่างมากในการทำและประสิทธิภาพของสีย้อม ซึ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับ

ประโยชน์ของกระบวนการใหม่นี้เริ่มเห็นชัดเจนขึ้น จากการใช้คาร์บอนไดออกไซด์มารีไซเคิล เมื่อ CO2 เย็นลงและกลับไปสู่สภาวะเป็นก๊าซ 95% ของ CO2 สามารถรีไซเคิลกลับมาได้ เทคโนโลยีนี้ยังมีการปล่อยสารคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่ภายนอกระบบน้อยลง 50-75%  นอกจากนี้ยังไม่ต้องเติมสารอื่นๆ ในกระบวนการและเสื้อยังแห้งเร็วกว่าเดิม ในกระบวนการนี้ไม่ต้องใช้น้ำเลยซึ่งแทบจะไม่เกิดการสูญเสีย(zero waste) การย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นำไปสู่การปล่อยคาร์บอนฟุตปริ้น (carbon footprint) ที่น้อยลง ดังที่อดิดาสได้นำเสนอไว้ว่า “กระบวนการย้อมสีเสื้อผ้าของทั้งโลกนี้ทุกๆ 2 ปีจะมีปริมาณน้ำที่ใช้เท่ากับน้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน”


สำหรับโพลิเอสเตอร์ เทคโนโลยีนี้มีข้อจำกัดกับวัตถุดิบจากโพลิเอสเตอร์ ซึ่งผ้าโพลิเอสเตอร์จะต้องใช้น้ำ 100-150 ลิตรต่อกิโลกรัมเพื่อทำให้สีอิ่มตัว สำหรับไนกี้ โรงงานสิ่งทอที่ไนกี้มีสัญญาผลิตด้วย มีการใช้น้ำประมาณ 3 พันล้านแกลลอนต่อปีในกระบวนการผลิตสินค้าจากโพลิเอสเตอร์และฝ้าย การใช้น้ำปริมาณมากนี้เป็นที่มาที่ยักษ์ใหญ่แห่งวงการสปอร์ตแวร์ของโลกทั้งสองรายพยายามที่ปรับใช้เทคโนโลยีใหม่นี้ในการกระบวนการผลิตเพื่อที่จะรักษาน้ำ ลดการใช้พลังงาน และร่วมการรณรงค์ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงอากาศโลก
Ian Burnell ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีของ Huntsman ได้พูดถึงเทคโนโลยีนี้ว่า “เป็นวิวัฒนาการของอุตสาหกรรม ยังไม่มีระบบไหนที่เหมือนเทคโนโลยีนี้ ซึ่งเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง และย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชุดกีฬาเสื้อผ้าเทคโนโลยี - Waterless ย้อมเทคโนโลยีการย้อมโดยไม่ใช้น้ำนวัตกรรมอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอเรียบเรียงโดยสุมนทิพย์วิชัยดิษฐ กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความกดดันจากกลุ่มนักอนุรักษ์เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดการลดการใช้ทรัพยากรน้ำในปริมาณมากในการย้อมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มทำให้ปัจจุบันมีการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมแบบไม่ใช้น้ำบริษัทสิ่งทอไทยเป็นรายแรกๆที่พัฒนาร่วมกับไนกี้และอดิดาสในการปรับใช้กระบวนการใหม่นี้ อดิดาสและเพื่อโลกที่ดีกว่าภายใต้แนวทางการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (ออกแบบในสิ่งแวดล้อม) (เพื่อให้โลกดีกว่า) ได้รวมทีมกับกลุ่ม Yeh กลุ่ม (เซี้ยงทอง) ในการพลิกโฉมเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าพัฒนาเทคโนโลยีที่ชื่อว่า "DryDye" ในการย้อมสี/ใส่สีเข้าไปในเสื้อโดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรน้ำ กลุ่ม Yeh ผู้ผลิตผ้าถักและสปอร์ตแวร์ในกรุงเทพเป็นรายแรกที่มีการปรับใช้กระบวนการผลิตย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำเมื่อสามปีก่อนเทคโนโลยีนี้แทนที่การใช้น้ำด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่สามารถรีไซเคิลได้ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและลดการใช้สารเคมีในกระบวนการ อดิดาสเป็นแบรนด์แรกที่เริ่มแนะนำ DryDye เมื่อปี 2012 เปิดตัวโดยนำเสนอผ่านเสื้อยืดคอลเล็คชั่นพิเศษจำนวน 50000 ตัวสู่ตลาดโดยใช้ผ้าที่มาจาก กลุ่ม Yeh ซึ่งลดการใช้น้ำไปถึง 1,250,000 ลิตรและหลังจากนั้นก็เริ่มแนะนำสินค้าตัวอื่น ๆ ภายใต้เทคโนโลยีนี้ในเดือนมิถุนายนปี 2013 มีแบรนด์เสื้อผ้ากีฬาสัณชาติเยอรมันเปิดเผยว่า "มีการใช้ผ้าที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำ DryDye จากกลุ่ม กลุ่ม Yeh ในประเทศไทยไปกว่า 1 ล้านหลา"ตัวแทนของอดิดาสได้ให้ข้อมูลแก่ทางสไตล์เพียงว่า "DryDye เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ลึกซึ้งมันสามารถจะใช้ตัวกลางใหม่ ๆ อย่างคาร์บอนไดออกไซด์อัดแน่นในการเป็นตัวนำสีซึ่งกระบวนการนี้มีประโยชน์อย่างมากในหลายมุมโดย DryDye สามารถจะนำพาสีไปสู่วัตถุได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าการย้อมแบบเดิมด้วยน้ำซึ่งโดยปกติแล้วจะใช้น้ำ 25 ลิตรในการย้อมเสื้อ 1 ตัวเทคโนโลยีนี้ยังใช้สารเคมีน้อยลงกว่าและใช้พลังงานลดลง 50% 50% อีกด้วยนอกจากนี้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้เป็นตัวกลางในการนำสียังสามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ซ้ำได้อีก"  ทางด้านไนกี้ก็เร่งแข่งขันการพัฒนาสปอร์ตแวร์เทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเช่นกันโดยทางไนกี้แถลงว่าชุดนักวิ่งมาราธอนชาวเคนย่าชื่อ Abel Kirui ที่ได้รางวัลเหรียญเงินในการแข่งขันมาราธอนชายในโอลิมปิกปี 2012 เป็นนักวิ่งที่สวมใส่ชุด tracksuit ที่ดีที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม Kirui วิ่งแข่ง 26.2 ไมล์ในชุดวิ่งที่ย้อมโดยปราศจากการใช้น้ำและผลิตจากผ้ารีไซเคิลที่ทำจากขวดพลาสติก 3 ขวดในการผลิตผ้านี้ ขวดพลาสติกจะถูกบดเป็นเกล็ดเล็กๆ นำไปหลอมละลาย แล้วนำไปฉีดเป็นเส้นด้าย ผ่านกระบวนการย้อมสีโดยการเติมสีเข้าไปโดยการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ที่รีไซเคิลมาแทนการใช้น้ำเป็นตัวช่วยในการให้ติดสี กระบวนการย้อมนี้พัฒนาโดยบริษัทชาวดัทช์ เรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “DyeCoo” ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและสารเคมีลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์มาร์ติน Lotti ผู้อำนวยการฝ่ายออกแบบชุดของโอลิมปิคกล่าวไว้ว่า "สุดยอดนักกีฬามักจะต้องการเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงช่วยส่งเสริมพวกเขาทุกครั้งที่สวมใส่เพื่อการฝึกฝนและการแข่งขันซึ่งผ้าที่มาจากรีไซเคิลและย้อมแบบไม่ใช้น้ำนี้ที่นักวิ่งเคนย่าใส่เป็นเสื้อกล้ามวิ่งมีความเหมาะสมทั้งในเรื่องน้ำหนักที่เบาและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย"ไนกี้ มีการคิดค้นในเทคโนโลยีนี้มากว่าแปดปี เมื่อต้นปี 2012 ที่ผ่านมา ไนกี้ได้จับมือกับกลุ่มบริษัทชาวดัทช์เปิดตัวเทคโนโลยีชื่อ DyeCoo Textile Systems ในการพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมสำหรับสปอร์ตแวร์ พัฒนาเครื่องจักรย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำออกมาในเชิงพานิชย์ ผ้าของไนกี้จะถูกผลิตจากโรงย้อมแห่งใหม่ที่เพิ่งเปิดตัวด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำในไต้หวันเมื่อปลายปี 2012 โดยไนกี้ได้เซ็นสัญญากับโรงงานของชาวไต้หวัน ชื่อ Far Eastern Century Corp (FENC) ซึ่งมีโรงงานอยู่ 3 โรง หนึ่งโรงในไต้หวันและอีกสองแห่งในประเทศไทยเทคโนโลยีนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา โดย DyeCoo Textile Systems ได้ถูกพัฒนาร่วมกับบริษัทคู่ค้าของไนกี้ชื่อ Huntsman Textile Effects มาตั้งแต่ตุลาคม 2012 Jay Bolus รองผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิคของ McDonough Braungart Design Chemistry (MBDC) กล่าวว่า “กระบวนการนี้สามารถทำงานได้โดยการลดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้อยู่ภายใต้ 1,100 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว ทำให้คาร์บอนได้ออกไซด์อยู่ในสภาวะเหนือวิกฤต ซึ่งทำให้มันมีคุณสมบัติที่เหมาะสมทั้งในสภาพที่เป็นของเหลวหรือก๊าซ” เทคโนโลยีนี้ถูกเผยแพร่อยู่ก่อนที่ไนกี้และอดิดาสจะเริ่มลงมาเล่นแล้ว เพียงแต่ยังมีปัญหาในการหาสีย้อมที่เหมาะสมกับกระบวนการ ปัญหาการใช้พลังงานอย่างมากในการทำและประสิทธิภาพของสีย้อม ซึ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับประโยชน์ของกระบวนการใหม่นี้เริ่มเห็นชัดเจนขึ้น จากการใช้คาร์บอนไดออกไซด์มารีไซเคิล เมื่อ CO2 เย็นลงและกลับไปสู่สภาวะเป็นก๊าซ 95% ของ CO2 สามารถรีไซเคิลกลับมาได้ เทคโนโลยีนี้ยังมีการปล่อยสารคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่ภายนอกระบบน้อยลง 50-75% นอกจากนี้ยังไม่ต้องเติมสารอื่นๆ ในกระบวนการและเสื้อยังแห้งเร็วกว่าเดิม ในกระบวนการนี้ไม่ต้องใช้น้ำเลยซึ่งแทบจะไม่เกิดการสูญเสีย(zero waste) การย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นำไปสู่การปล่อยคาร์บอนฟุตปริ้น (carbon footprint) ที่น้อยลง ดังที่อดิดาสได้นำเสนอไว้ว่า “กระบวนการย้อมสีเสื้อผ้าของทั้งโลกนี้ทุกๆ 2 ปีจะมีปริมาณน้ำที่ใช้เท่ากับน้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน”สำหรับโพลิเอสเตอร์ เทคโนโลยีนี้มีข้อจำกัดกับวัตถุดิบจากโพลิเอสเตอร์ ซึ่งผ้าโพลิเอสเตอร์จะต้องใช้น้ำ 100-150 ลิตรต่อกิโลกรัมเพื่อทำให้สีอิ่มตัว สำหรับไนกี้ โรงงานสิ่งทอที่ไนกี้มีสัญญาผลิตด้วย มีการใช้น้ำประมาณ 3 พันล้านแกลลอนต่อปีในกระบวนการผลิตสินค้าจากโพลิเอสเตอร์และฝ้าย การใช้น้ำปริมาณมากนี้เป็นที่มาที่ยักษ์ใหญ่แห่งวงการสปอร์ตแวร์ของโลกทั้งสองรายพยายามที่ปรับใช้เทคโนโลยีใหม่นี้ในการกระบวนการผลิตเพื่อที่จะรักษาน้ำ ลดการใช้พลังงาน และร่วมการรณรงค์ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงอากาศโลกIan Burnell ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีของ Huntsman ได้พูดถึงเทคโนโลยีนี้ว่า “เป็นวิวัฒนาการของอุตสาหกรรม ยังไม่มีระบบไหนที่เหมือนเทคโนโลยีนี้ ซึ่งเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง และย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชุดกีฬาเสื้อผ้าเทคโนโลยี - waterless ย้อมสีเทคโนโลยีการย้อมโดยไม่ใช้น้ำนวัตกรรมอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอ

เรียบเรียงโดยสุมนทิพย์วิชัยดิษฐ

ไหม

กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความกดดันจากกลุ่มนักอนุรักษ์เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดการลดการใช้ทรัพยากรน้ำในปริมาณมากในการย้อมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มบริษัทสิ่งทอไทยเป็นรายแรกๆที่พัฒนาร่วมกับไนกี้และอดิดาสในการปรับใช้กระบวนการใหม่นี้รึเปล่า

อดิดาสภายใต้แนวทางการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ( การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ) และเพื่อโลกที่ดีกว่า ( เพื่อให้โลกเป็นสถานที่ที่ดีกว่า ) ได้รวมทีมกับกลุ่ม Yeh Group ( ถงเซียง ) ในการพลิกโฉมเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าพัฒนาเทคโนโลยีที่ชื่อว่าในการย้อมสี / ใส่สีเข้าไปในเสื้อโดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรน้ำกลุ่มผู้ผลิตผ้าถักและสปอร์ตแวร์ในกรุงเทพเป็นรายแรกที่มีการปรับใช้กระบวนการผลิตย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำเมื่อสามปีก่อนเยซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและลดการใช้สารเคมีในกระบวนการ
อดิดาสเป็นแบรนด์แรกที่เริ่มแนะนำ drydye เมื่อปี 2012 เปิดตัวโดยนำเสนอผ่านเสื้อยืดคอลเล็คชั่นพิเศษจำนวน 50000 ตัวสู่ตลาดโดยใช้ผ้าที่มาจากค่ะกลุ่มซึ่งลดการใช้น้ำไปถึง 1250000 ลิตรและหลังจากนั้นก็เริ่มแนะนำสินค้าตัวอื่นๆภายใต้เทคโนโลยีนี้ในเดือนมิถุนายน . 2013 มีแบรนด์เสื้อผ้ากีฬาสัณชาติเยอรมันเปิดเผยว่า " มีการใช้ผ้าที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำ drydye จากกลุ่มครับกลุ่มล้านหลา "
1
ตัวแทนของอดิดาสได้ให้ข้อมูลแก่ทางสไตล์ว่า " drydye เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ลึกซึ้งมันสามารถจะใช้ตัวกลางใหม่ๆอย่างคาร์บอนไดออกไซด์อัดแน่นในการเป็นตัวนำสีซึ่งกระบวนการนี้มีประโยชน์อย่างมากในหลายมุมโดย drydye
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: