ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบ ซึ่งเป็นลั การแปล - ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบ ซึ่งเป็นลั ไทย วิธีการพูด

ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่ง

ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบ ซึ่งเป็นลักษณะที่โดดเด่นของประเทศไทย คือ ความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนต้องการความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต การคิดตัดสินใจ การเลือกกระทำหรือไม่กระทำใด ๆ ล้วนใช้เหตุผล ข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้านอย่างน้อย 3 ด้าน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ทั้งด้านร่างกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ ฐานะความเป็นอยู่ ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม ทั้งสังคม วัฒนธรรม ประเพณีและสภาพแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลทางวิชาการคือความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจนั้น ๆ การคิดแบบคิดเป็นจึงเป็นการใช้ข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้าน นำมาสู่การตัดสินใจเลือกที่จะเชื่อ เลือกที่จะกระทำ โดยสามรถอธิบายเหตุผลของตนเองได้ ซึ่งความคิดของแต่ละคนไม่จำเป็นต้องเหมือนกันเสมอไป การจัดการศึกษานอกระบบ จึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง หัวใจสำคัญ คือการยอมรับและเคารพในการตัดสินใจของผู้เรียน ซึ่งเป็นรากฐานของความเป็นประชาธิปไตย ในระดับพื้นฐานด้วย

กลุ่มเป้าหมายการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะ มีประสบการณ์ มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพ ดูแลครอบครัว และมีข้อจำกัดมากมายในการเรียนรู้ ซึ่งลักษณะดังกล่าวทำให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่เหมือนกับเด็ก เพราะมีอะไรที่แตกต่างกันหลายอย่าง เช่น ความคิดอ่าน ประสบการณ์ ความพร้อม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงจำเป็นต้องให้สอดคล้องกับความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม นำความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสำคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษาพื้นฐานนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด

การจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบจึงยึดหลักการสำคัญ 5 ประการ คือ หลักความเสมอภาคทางการศึกษา หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง หลักการบูรณาการการเรียนรู้และวิถีชีวิต หลักความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และหลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน ดังนี้(สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน.2546 : 3-4)

1. หลักความเสมอภาคทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นผู้พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม อาชีพเศรษฐกิจ และข้อจำกัดต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติ หากแต่สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน
2. หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง การจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตน สามารถเรียนรู้ เกิดความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนด้วยตนเอง พึ่งพาตนเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นปกติสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม
3. หลักการบูรณาการการเรียนรู้กับวิถีชีวิต หลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งป็นหลักการที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของการบูรณาการจึงมีความเหมาะสม โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ และบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการคุณภาพชีวิตของผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม
4. หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หลักการนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ครู กศน. มีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ วิธีการเรียน และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งเป็นกระบวนการการศึกษานอกระบบที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ
5. หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน การเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรียนนับว่าสำคัญ เป็นการส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือความผูกพัน เอื้ออาทร การช่วยกันและกัน ปลูกฝังวินัยในตนเอง ฝึกความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นสำหรับผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะ สำหรับการมีส่วนร่วมของชุมชน ก็นับว่าเป็นหลักการสำคัญในการจัดการศึกษานอกระบบ ชุมชนสามารถเข้ามาร่วมในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา การจัดสรรทรัพยากรเป็นแหล่งเรียนรู้ และสนับสนุนในเรื่องอื่น ๆ เพื่อผลิตผู้เรียนที่เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบซึ่งเป็นลักษณะที่โดดเด่นของประเทศไทยคือความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนต้องการความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตการคิดตัดสินใจการเลือกกระทำหรือไม่กระทำใดๆ ล้วนใช้เหตุผลข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้านอย่างน้อย 3 ด้านคือข้อมูลเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านร่างกายสุขภาพอนามัยจิตใจฐานะความเป็นอยู่ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมทั้งสังคมวัฒนธรรมประเพณีและสภาพแวดล้อมทางกายภาพต่างๆ รวมทั้งข้อมูลทางวิชาการคือความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจนั้นๆ การคิดแบบคิดเป็นจึงเป็นการใช้ข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้านนำมาสู่การตัดสินใจเลือกที่จะเชื่อเลือกที่จะกระทำโดยสามรถอธิบายเหตุผลของตนเองได้ซึ่งความคิดของแต่ละคนไม่จำเป็นต้องเหมือนกันเสมอไปการจัดการศึกษานอกระบบจึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจด้วยตนเองหัวใจสำคัญคือการยอมรับและเคารพในการตัดสินใจของผู้เรียนซึ่งเป็นรากฐานของความเป็นประชาธิปไตยในระดับพื้นฐานด้วย กลุ่มเป้าหมายการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะมีประสบการณ์มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพดูแลครอบครัวและมีข้อจำกัดมากมายในการเรียนรู้ซึ่งลักษณะดังกล่าวทำให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่เหมือนกับเด็กเพราะมีอะไรที่แตกต่างกันหลายอย่างเช่นความคิดอ่านประสบการณ์ความพร้อมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงจำเป็นต้องให้สอดคล้องกับความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมนำความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิตมีภารกิจสำคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงโดยเฉพาะการศึกษาพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับนอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษาพื้นฐานนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบจึงยึดหลักการสำคัญ 5 ประการคือหลักความเสมอภาคทางการศึกษาหลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเองหลักการบูรณาการการเรียนรู้และวิถีชีวิตหลักความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและหลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชนดังนี้ (สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน.2546: 3-4)1. หลักความเสมอภาคทางการศึกษากลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นผู้พลาดโอกาสและผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคมอาชีพเศรษฐกิจและข้อจำกัดต่างๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติหากแต่สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน2. หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเองการจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนสามารถเรียนรู้เกิดความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้เป็นคนคิดเป็นปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาเรียนด้วยตนเองพึ่งพาตนเองเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นปกติสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม3. หลักการบูรณาการการเรียนรู้กับวิถีชีวิตหลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสภาพปัญหาวิถีชีวิตสภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียนซึ่งป็นหลักการที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาสิ่งดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของการบูรณาการจึงมีความเหมาะสมโดยบูรณาการสาระต่างๆ เพื่อการเรียนรู้และบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาการคุณภาพชีวิตของผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม4. หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียนหลักการนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเองสามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสมครูกศน มีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนร่วมกำหนดวัตถุประสงค์สาระการเรียนรู้วิธีการเรียนและการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองซึ่งเป็นกระบวนการการศึกษานอกระบบที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ5. หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชนการเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรียนนับว่าสำคัญเป็นการส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียนก่อให้เกิดความร่วมมือความผูกพันเอื้ออาทรการช่วยกันและกันปลูกฝังวินัยในตนเองฝึกความรับผิดชอบซึ่งเป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นสำหรับผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะสำหรับการมีส่วนร่วมของชุมชนก็นับว่าเป็นหลักการสำคัญในการจัดการศึกษานอกระบบชุมชนสามารถเข้ามาร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการจัดสรรทรัพยากรเป็นแหล่งเรียนรู้และสนับสนุนในเรื่องอื่นๆ เพื่อผลิตผู้เรียนที่เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
คือ การคิดตัดสินใจการเลือกกระทำหรือไม่กระทำใด ๆ ล้วนใช้เหตุผล 3 ด้านคือข้อมูลเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านร่างกายสุขภาพอนามัยจิตใจฐานะความเป็นอยู่ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมทั้งสังคมวัฒนธรรม ๆ ๆ นำมาสู่การตัดสินใจเลือกที่จะเชื่อเลือกที่จะกระทำโดยสามรถอธิบายเหตุผลของตนเองได้ การจัดการศึกษานอกระบบ หัวใจสำคัญ ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะมีประสบการณ์มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพดูแลครอบครัวและมีข้อ จำกัด มากมายในการเรียนรู้ เพราะมีอะไรที่แตกต่างกันหลายอย่างเช่นความคิดอ่านประสบการณ์ความพร้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม การศึกษานอกระบบจึงยึดหลักการสำคัญ 5 ประการคือหลักความเสมอภาคทางการศึกษา : 3-4) 1 หลักความเสมอภาคทางการศึกษา และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา อาชีพเศรษฐกิจและข้อ จำกัด ต่าง ๆ สามารถเรียนรู้เกิดความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้เป็นคนคิดเป็น โดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาเรียนด้วยตนเองพึ่งพาตนเอง วิถีชีวิต โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ ครูกศน สาระการเรียนรู้วิธีการเรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือความผูกพันเอื้ออาทรการช่วยกันและกันปลูกฝังวินัยในตนเองฝึกความรับผิดชอบ สำหรับการมีส่วนร่วมของชุมชน สถานศึกษา และสนับสนุนในเรื่องอื่น ๆ











การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบซึ่งเป็นลักษณะที่โดดเด่นของประเทศไทยความความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนต้องการความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตการคิดตัดสินใจจะล้วนใช้เหตุผลข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้านอย่างน้อย 3 ด้านความข้อมูลเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านร่างกายสุขภาพอนามัยจิตใจฐานะความเป็นอยู่ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมทั้งสังคมวัฒนธรรมจะไม่มีรวมทั้งข้อมูลทางวิชาการคือความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจนั้นการคิดแบบคิดเป็นจึงเป็นการใช้ข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบด้านนำมาสู่การตัดสินใจเลือกที่จะเชื่อเลือกที่จะกระทำซึ่งความคิดของแต่ละคนไม่จำเป็นต้องเหมือนกันเสมอไปการจัดการศึกษานอกระบบจึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจด้วยตนเองหัวใจสำคัญคือการยอมรับและเคารพในการตัดสินใจของผู้เรียนในระดับพื้นฐานด้วย

กลุ่มเป้าหมายการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะมีประสบการณ์มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพดูแลครอบครัวและมีข้อจำกัดมากมายในการเรียนรู้เพราะมีอะไรที่แตกต่างกันหลายอย่างเช่นความคิดอ่านประสบการณ์ความพร้อมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงจำเป็นต้องให้สอดคล้องกับความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิตมีภารกิจสำคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงนอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษาพื้นฐานนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: