ในหลวง การแพทย์ สาธารณสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประ การแปล - ในหลวง การแพทย์ สาธารณสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประ ไทย วิธีการพูด

ในหลวง การแพทย์ สาธารณสุข พระบาทสมเ

ในหลวง การแพทย์ สาธารณสุข



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประชาชนชาวไทยในทุกด้าน โดยเฉพาะในด้านสุขภาพอนามัย ซึ่งพระองค์ทรงถือว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนนั้น เป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไข ดังพระราชดำรัสที่ว่า “…ถ้าคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรม ก็จะไม่สามารถพัฒนาชาติได้ เพราะทรัพยากรที่สำคัญของประเทศชาติ ก็คือพลเมืองนั่นเอง…” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นห่วง และเอื้ออาทรต่อทุกข์สุขของพสกนิกรอย่างจริงจัง

ในการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรตามท้องที่ต่างๆ ทุกครั้ง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีคณะแพทย์ที่ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากโรงพยาบาลต่างๆ และล้วนเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น โดยเสด็จพระราชดำเนินไปในขบวนอย่างใกล้ชิด พร้อมด้วยเวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์ครบครัน พร้อมที่จะให้การรักษาพยาบาลราษฎร ผู้ป่วยไข้ได้ทันที

นอกจากนั้น ยังมีโครงการทันตกรรมพระราชทาน ซึ่งเป็นพระราชดำริที่ให้ทันตแพทย์อาสาสมัคร ได้เดินทางออกไปช่วยเหลือบำบัดโรคเกี่ยวกับฟัน ตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปากและฟัน แก่เด็กนักเรียนและราษฎรที่อาศัยอยู่ในท้องที่ทุรกันดาร และห่างไกลจากแพทย์ทั่วทุกภาค โดยให้การบริการรักษาโรคฟัน โดยไม่คิดมูลค่าในการแพทย์เคลื่อนที่

ทรงห่วงใยราษฎรสำหรับ การเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมวัดทุกแห่ง ซึ่งนับเป็นศูนย์กลางของชุมชนในชนบท โดยจะพระราชทานกล่องยาแก่วัด เพื่อพระภิกษุใช้เมื่อเกิดอาพาธ และเพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎรผู้ป่วยเจ็บในหมู่บ้านนั้นๆ ส่วนในการเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมหน่วยทหาร ตำรวจ และอาสาสมัคร ที่ออกไปตั้งฐานปฏิบัติการในท้องที่ทุรกันดาร ก็จะพระราชทานสิ่งของที่จำเป็นต่างๆ รวมทั้งยารักษาโรคสำหรับใช้ในหมู่เจ้าหน้าที่ และใช้ในการรักษาพยาบาล และเพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎรในท้องที่ ที่มาขอความช่วยเหลือ อันจะทำให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปราม และประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการ ได้มีความเข้าใจอันดีต่อกันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

ทางด้านหน่วยแพทย์หลวงที่จะต้องตามเสด็จพระราชดำเนินไป ณ ที่ประทับแรมทุกแห่งนั้น จะมีเจ้าหน้าที่ให้การรักษาพยาบาลราษฎรผู้มาขอรับการรักษา ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่ประการใด นอกจากนั้น หน่วยแพทย์หลวงยังจัดเจ้าหน้าที่ออกเดินทางไปรักษาราษฎรผู้ป่วยเจ็บตามหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลออกไปอีกด้วย โดยได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นผู้แนะนำสถานที่และร่วมเดินทางไปด้วย สำหรับราษฎรผู้เจ็บป่วยรายที่มีอาการหนัก หรือจำเป็นที่จะต้องได้รับการตรวจรักษาเพิ่มเติมนั้น ก็จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชบริพารที่ตามเสด็จพระราชดำเนิน ทำการบันทึกรายชื่อ อาชีพ ที่อยู่ และอาการโดยละเอียด โดยตรวจสอบความถูกต้องกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และมีสำเนาให้รับทราบเพื่อติดต่อประสานงานต่อไป ในการพิจารณาส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาต่อ ตามความเห็นของแพทย์ผู้ทำการตรวจ

นอกเหนือจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังได้ริเริ่มหลายโครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ดังนี้

โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์ประจำพระองค์ที่ตามเสด็จฯ ตรวจและรักษาคนไข้ ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2512 เมื่อเสด็จ พระราชดำเนินทอดพระเนตรโครงการชาวเขา และทรงพบว่าราษฎรที่มา รอรับเสด็จป่วยเป็นไข้กันมาก
โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน
เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2510 เพื่อ ตรวจรักษาราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดาร โดยไม่คิดมูลค่า และถ้าจำเป็นก็จัดส่งไปยังโรงพยาบาลในจังหวัดต่าง ๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จแปรพระราชฐานประทับแรม และในท้องถิ่น ต่าง ๆ ที่ห่างไกลตัวเมืองมาก

โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์
เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2517 เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคม สร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส นิคมนี้มีสถานีอนามัย เพียงแห่งเดียว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์ หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษา แพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล นราธิวาส และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็นประจำ

หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน
ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2512 เพื่อ ส่งทันตแพทย์อาสาสมัครออกช่วยเหลือ บำบัดโรคเกี่ยวกับฟัน ตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปากและฟันแก่เด็ก นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องที่ทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่า ได้รับความ ร่วมมือจากทันตแพทย์โรงพยาบาลต่างๆ ในการออกปฏิบัติการภาคสนาม

โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2518 หลังจากที่เปิดโครงการแพทย์พิเศษตามพระราช ประสงค์ใน พ.ศ. 2517 แพทย์ ที่อาสาสมัครซึ่งเป็นแพทย์อาวุโสและมีประสบการณ์มาก เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องมีศัลยแพทย์อาสาไปช่วยปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดสกลนคร ในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ แปรพระราชฐาน ประทับที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จึงได้มีการศึกษาหาข้อมูล และความต้องการของโรงพยาบาลและหน่วยงานต่าง ๆ ในด้านศัลยกรรม และ รวบรวมจัดทำทำเนียบศัลยแพทย์อาสา แล้วก่อตั้งวิทยาลัยศัลยแพทย์ขึ้น ภายหลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับวิทยาลัยศัลยแพทย์ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ เปลี่ยนชื่อเป็น ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย

ในหลวง การแพทย์ ทุรกันดารโครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้พระราชทาน
เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2522 โดย อาศัยแพทย์หู คอ จมูกอาสาสมัครจาก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลประจำจังหวัดนครราชสีมา และโรงพยาบาลประจำจังหวัดนครพนม ผลัดเปลี่ยนกันมาปฏิบัติราชการชุดละ 2 สัปดาห์เริ่มที่จังหวัดนราธิวาสก่อน ต่อมาขยายการปฏิบัติงานไปที่จังหวัดสกนนคร และที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่

โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์
เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2517 เพื่อ บรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคม สร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส นิคมนี้มีสถานีอนามัย เพียงแห่งเดียว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์ หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษา แพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล นราธิวาส และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็นประจำ
โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัย
ตั้งขึ้นเมื่อ พ.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ในหลวงการแพทย์สาธารณสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประชาชนชาวไทยในทุกด้านโดยเฉพาะในด้านสุขภาพอนามัยซึ่งพระองค์ทรงถือว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนนั้นเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขดังพระราชดำรัสที่ว่า "...ถ้าคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรมก็จะไม่สามารถพัฒนาชาติได้เพราะทรัพยากรที่สำคัญของประเทศชาติก็คือพลเมืองนั่นเอง..." พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นห่วงและเอื้ออาทรต่อทุกข์สุขของพสกนิกรอย่างจริงจังในการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรตามท้องที่ต่าง ๆ ทุกครั้งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีคณะแพทย์ที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากโรงพยาบาลต่าง ๆ และล้วนเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้นโดยเสด็จพระราชดำเนินไปในขบวนอย่างใกล้ชิดพร้อมด้วยเวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์ครบครันพร้อมที่จะให้การรักษาพยาบาลราษฎรผู้ป่วยไข้ได้ทันทีนอกจากนั้นยังมีโครงการทันตกรรมพระราชทานซึ่งเป็นพระราชดำริที่ให้ทันตแพทย์อาสาสมัครได้เดินทางออกไปช่วยเหลือบำบัดโรคเกี่ยวกับฟันตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปากและฟันแก่เด็กนักเรียนและราษฎรที่อาศัยอยู่ในท้องที่ทุรกันดารและห่างไกลจากแพทย์ทั่วทุกภาคโดยให้การบริการรักษาโรคฟันโดยไม่คิดมูลค่าในการแพทย์เคลื่อนที่ทรงห่วงใยราษฎรสำหรับการเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมวัดทุกแห่งซึ่งนับเป็นศูนย์กลางของชุมชนในชนบทโดยจะพระราชทานกล่องยาแก่วัดเพื่อพระภิกษุใช้เมื่อเกิดอาพาธและเพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎรผู้ป่วยเจ็บในหมู่บ้านนั้น ๆ ส่วนในการเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมหน่วยทหารตำรวจและอาสาสมัครที่ออกไปตั้งฐานปฏิบัติการในท้องที่ทุรกันดารก็จะพระราชทานสิ่งของที่จำเป็นต่าง ๆ รวมทั้งยารักษาโรคสำหรับใช้ในหมู่เจ้าหน้าที่และใช้ในการรักษาพยาบาลและเพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎรในท้องที่ที่มาขอความช่วยเหลืออันจะทำให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปรามและประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการได้มีความเข้าใจอันดีต่อกันช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางด้านหน่วยแพทย์หลวงที่จะต้องตามเสด็จพระราชดำเนินไป ณ ที่ประทับแรมทุกแห่งนั้น จะมีเจ้าหน้าที่ให้การรักษาพยาบาลราษฎรผู้มาขอรับการรักษา ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่ประการใด นอกจากนั้น หน่วยแพทย์หลวงยังจัดเจ้าหน้าที่ออกเดินทางไปรักษาราษฎรผู้ป่วยเจ็บตามหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลออกไปอีกด้วย โดยได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นผู้แนะนำสถานที่และร่วมเดินทางไปด้วย สำหรับราษฎรผู้เจ็บป่วยรายที่มีอาการหนัก หรือจำเป็นที่จะต้องได้รับการตรวจรักษาเพิ่มเติมนั้น ก็จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชบริพารที่ตามเสด็จพระราชดำเนิน ทำการบันทึกรายชื่อ อาชีพ ที่อยู่ และอาการโดยละเอียด โดยตรวจสอบความถูกต้องกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และมีสำเนาให้รับทราบเพื่อติดต่อประสานงานต่อไป ในการพิจารณาส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาต่อ ตามความเห็นของแพทย์ผู้ทำการตรวจนอกเหนือจากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังได้ริเริ่มหลายโครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุขดังนี้โครงการหน่วยแพทย์พระราชทานทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์ประจำพระองค์ที่ตามเสด็จฯ ตรวจและรักษาคนไข้ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคมพ.ศ. 2512 เมื่อเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรโครงการชาวเขาและทรงพบว่าราษฎรที่มารอรับเสด็จป่วยเป็นไข้กันมากโครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทานเริ่มเมื่อพ.ศ. 2510 เพื่อตรวจรักษาราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่าและถ้าจำเป็นก็จัดส่งไปยังโรงพยาบาลในจังหวัดต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จแปรพระราชฐานประทับแรมและในท้องถิ่นต่างๆ ที่ห่างไกลตัวเมืองมาก โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์เริ่มเมื่อพ.ศ. 2517 เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาสนิคมนี้มีสถานีอนามัยเพียงแห่งเดียวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษาแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลนราธิวาสและโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้งเป็นประจำ หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทานตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2512 เพื่อส่งทันตแพทย์อาสาสมัครออกช่วยเหลือบำบัดโรคเกี่ยวกับฟันตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปากและฟันแก่เด็กนักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องที่ทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่าได้รับความร่วมมือจากทันตแพทย์โรงพยาบาลต่าง ๆ ในการออกปฏิบัติการภาคสนาม โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2518 หลังจากที่เปิดโครงการแพทย์พิเศษตามพระราช ประสงค์ใน พ.ศ. 2517 แพทย์ ที่อาสาสมัครซึ่งเป็นแพทย์อาวุโสและมีประสบการณ์มาก เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องมีศัลยแพทย์อาสาไปช่วยปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดสกลนคร ในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ แปรพระราชฐาน ประทับที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จึงได้มีการศึกษาหาข้อมูล และความต้องการของโรงพยาบาลและหน่วยงานต่าง ๆ ในด้านศัลยกรรม และ รวบรวมจัดทำทำเนียบศัลยแพทย์อาสา แล้วก่อตั้งวิทยาลัยศัลยแพทย์ขึ้น ภายหลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับวิทยาลัยศัลยแพทย์ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ เปลี่ยนชื่อเป็น ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ในหลวงการแพทย์ทุรกันดารโครงการแพทย์หูคอจมูกและโรคภูมิแพ้พระราชทานเริ่มเมื่อพ.ศ. 2522 โดยอาศัยแพทย์หูคอจมูกอาสาสมัครจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลราชวิถีโรงพยาบาลประจำจังหวัดนครราชสีมาและโรงพยาบาลประจำจังหวัดนครพนมผลัดเปลี่ยนกันมาปฏิบัติราชการชุดละ 2 สัปดาห์เริ่มที่จังหวัดนราธิวาสก่อนต่อมาขยายการปฏิบัติงานไปที่จังหวัดสกนนครและที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละจังหวัดเชียงใหม่ โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์เริ่มเมื่อพ.ศ. 2517 เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาสนิคมนี้มีสถานีอนามัยเพียงแห่งเดียวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษาแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลนราธิวาสและโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้งเป็นประจำโครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยตั้งขึ้นเมื่อพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ในหลวงการแพทย์ โดยเฉพาะในด้านสุขภาพอนามัย ดังพระราชดำรัสที่ว่า "... ถ้าคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรมก็จะไม่สามารถพัฒนาชาติได้ ก็คือพลเมืองนั่นเอง ... " ทุกครั้งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีคณะแพทย์ที่ประกอบด้วย และล้วนเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น พร้อมที่จะให้การรักษาพยาบาลราษฎรผู้ป่วยไข้ได้ทันทีทางบ้านนั้นยังมีโครงการทันตกรรมพระราชทาน และห่างไกลจากแพทย์ทั่วทุกภาคโดยให้การบริการรักษาโรคฟัน โดยจะพระราชทานกล่องยาแก่วัดเพื่อพระภิกษุใช้เมื่อเกิดอาพาธ ตำรวจและอาสาสมัคร และใช้ในการรักษาพยาบาลและเพื่อแจกจ่ายแก่ราษฎรในท้องที่ที่มาขอความช่วยเหลืออันจะทำให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปรามและประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการ ณ ที่ประทับแรมทุกแห่งนั้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ประการใดนอกจากนั้น ก็จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ทำการบันทึกรายชื่ออาชีพที่อยู่และอาการโดยละเอียด ให้แพทย์ประจำพระองค์ที่ตามเสด็จฯ ตรวจและรักษาคนไข้ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2512 เมื่อเสด็จ และทรงพบว่าราษฎรที่มา พ.ศ. 2510 เพื่อตรวจรักษาราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่า ๆ และในท้องถิ่นต่าง ๆ พ.ศ. 2517 สร้างตนเองพัฒนาภาคใต้อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาสนิคมนี้มีสถานีอนามัยเพียงแห่งเดียวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษาแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลนราธิวาสและโรงพยาบาลสุไหงโก - ลกออกไป ปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้ง พ.ศ. 2512 เพื่อส่งทันตแพทย์อาสาสมัครออกช่วยเหลือบำบัดโรคเกี่ยวกับฟัน ได้รับความร่วมมือจากทันตแพทย์โรงพยาบาลต่างๆ พ.ศ. 2518 ประสงค์ใน พ.ศ. 2517 แพทย์ ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดสกลนคร แปรพระราชฐานประทับที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์จึงได้มีการศึกษาหาข้อมูล ๆ ในด้านศัลยกรรมและรวบรวมจัดทำทำเนียบศัลยแพทย์อาสาแล้วก่อตั้งวิทยาลัยศัลยแพทย์ขึ้นภายหลัง และเปลี่ยนชื่อเป็น การแพทย์ทุรกันดารโครงการแพทย์หูคอจมูกและโรคภูมิแพ้พระราชทานเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2522 โดยอาศัยแพทย์หูคอจมูกอาสาสมัครจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลราชวิถีโรงพยาบาลประจำจังหวัดนครราชสีมาและโรงพยาบาลประจำจังหวัดนครพนม 2 และที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละ พ.ศ. 2517 เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาสนิคมนี้มีสถานีอนามัยเพียงแห่งเดียวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษาแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลนราธิวาสและโรง พยาบาลสุไหงโก - ลกออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ 2 ครั้ง พ



































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ในหลวง การแพทย์ สาธารณสุข



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประชาชนชาวไทยในทุกด้าน โดยเฉพาะในด้านสุขภาพอนามัย ซึ่งพระองค์ทรงถือว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนนั้น เป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไข “…ถ้าคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรม ก็จะไม่สามารถพัฒนาชาติได้ เพราะทรัพยากรที่สำคัญของประเทศชาติ ก็คือพลเมืองนั่นเอง…” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นห่วง และเอื้ออาทรต่อทุกข์สุขของพสกนิกรอย่างจริงจัง

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: