อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ เพราะอาหารเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้มนุษ การแปล - อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ เพราะอาหารเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้มนุษ ไทย วิธีการพูด

อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์

อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ เพราะอาหารเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เรามีชีวิตอยู่ได้ ถ้าอาหารดีได้มาตรฐานและปลอดภัยเมื่อบริโภคเข้าไปร่างกายมนุษย์จะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากอาหารนั้น แต่ถ้าอาหารไม่ดี ไม่ปลอดภัยก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้ หนทางหนึ่งที่จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานของอาหารและเพิ่มความรับผิดชอบของผู้ประกอบการในการผลิตอาหาร นั่นคือ การนำเอาหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต หรือ GMP (Good Manufacturing Practice) มาใช้ในการผลิตอาหาร ซึ่งนับว่าเป็นการยกระดับมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของอาหารมากขึ้น และผลสุดท้ายจะตกอยู่กับผู้บริโภค เพราะจะทำให้ ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่า สมประโยชน์ และมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น

ความหมายของ จี.เอ็ม.พี
GMP (Good Manufacturing Practice) หมายถึง หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ซึ่งเป็นเกณฑ์หรือข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงใด ๆ ที่จะทำให้อาหารเป็นพิษ เป็นอันตรายหรือเกิดความไม่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค โดยครอบคลุมปัจจัยทุกด้านที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่โครงสร้างอาคารขั้นพื้นฐาน ระบบการผลิตที่ดี กระบวนการผลิตที่มีความปลอดภัยและมีคุณภาพได้มาตรฐานทุกขั้นตอน นับตั้งแต่เริ่มต้นวางแผนการผลิต ระบบควบคุม บันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ถึงมือผู้บริโภคอย่างมั่นใจ และ GMP ยังเป็นระบบประกันคุณภาพพื้นฐานก่อนที่จะนำไปสู่ระบบประกันคุณภาพอื่น ๆ ที่สูงกว่าต่อไป เช่น HACCP (Hazards Analysis and Critical Control Points) และ ISO 9000 อีกด้วย
เกณฑ์ดังกล่าวมาจากการทดลองปฏิบัติและพิสูจน์แล้วจากกลุ่มนักวิชาการด้านอาหารทั่วโลกว่า ถ้าสามารถผลิตอาหารได้ตามเกณฑ์นี้จะทำให้อาหารนั้นเกิดความปลอดภัยและเป็นที่เชื่อถือยอมรับจากผู้บริโภค

ลักษณะของเกณฑ์ที่นำมาใช้บังคับ

GMP ที่จะนำมาเป็นมาตรการบังคับใช้นี้ยึดตามแนวทางข้อบังคับซึ่งเป็นที่ยอมรับของสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐาน Codex (Codex Standard) แต่มีการปรับให้ง่ายขึ้น เพื่อสามารถปฏิบัติได้จริงสำหรับประเทศไทย โดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้ผลิตในประเทศไทย ซึ่งมีข้อจำกัดด้านความรู้ เงินทุนและเวลา เพื่อให้ผู้ผลิตทุกระดับโดยเฉพาะขนาดกลางและเล็ก ซึ่งมีจำนวนมาก สามารถปรับปรุงและปฏิบัติได้ตามเกณฑ์ และเป็นข้อกำหนดแนวกว้างที่สามารถประยุกต์ใช้กับอาหารทุกชนิด ซึ่งในตอนแรกจะบังคับใช้กับอาหาร 54 ชนิด แต่ในอนาคตจะประกาศเพิ่มเพื่อให้ครอบคลุมอาหารทุกชนิด และสำหรับกรณีของอาหารกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่มีปัญหาเฉพาะที่สำคัญ จะมีการออกข้อกำหนดเฉพาะสำหรับผลิตภัณฑ์นั้นขึ้น เช่น GMP น้ำบริโภค ซึ่งจะกำหนดรายละเอียดที่ครอบคลุมและเคร่งครัดชัดเจนขึ้น เพื่อลดและขจัดความเสี่ยง ทำให้เกิดความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามข้อกำหนดนี้ยังคงสอดคล้องตามแนวทางของหน่วยงานมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้ขัดกับหลักสากลด้วย

ประเภทอาหารที่ถูกบังคับให้ใช้ จี.เอ็ม.พี

อาหารดังต่อไปนี้ เป็นอาหารที่กำหนดให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ.2543 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2544 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193)พ.ศ.2543
1. อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็ก
2. อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็กเล็ก
3. นมดัดแปลงสำหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก
4. น้ำแข็ง
5. น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
6. เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
7. อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
8. นมโค
9. นมเปรี้ยว
10. ไอศกรีม
11. นมปรุงแต่ง
12. ผลิตภัณฑ์ของนม
13. วัตถุเจือปนอาหาร
14. สีผสมอาหาร
15. วัตถุที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร
16. โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียมซัยคลาเมต
17. อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก
18. ชา
19. กาแฟ
20. น้ำปลา
21. น้ำแร่ธรรมชาติ
22. น้ำส้มสายชู
23. น้ำมันและไขมัน
24. น้ำมันถั่วลิสง
25. ครีม
26. น้ำมันเนย
27. เนย
28. เนยแข็ง
29. กี
30. เนยเทียม
31. อาหารกึ่งสำเร็จรูป
32. ซอสบางชนิด
33. น้ำมันปาล์ม
34. น้ำมันมะพร้าว
35. เครื่องดื่มเกลือแร่
36. น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน)
37. ช็อกโกแลต
38. แยม เยลลี มาร์มาเลด ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
39. อาหารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ
40.ไข่เยี่ยวม้า
41. รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี
42. ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง
43. น้ำผึ้ง (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน)
44. ข้าวเติมวิตามิน
45. แป้งข้าวกล้อง
46. น้ำเกลือปรุงอาหาร
47. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
48. ขนมปัง
49. หมากฝรั่งและลูกอม
50. วุ้นสำเร็จรูปและขนมเยลลี
51. ผลิตภัณฑ์กระเทียม
52. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์
53. วัตถุแต่งกลิ่นรส
54. อาหารแช่เยือกแข็งที่ได้ผ่านการเตรียม (prepared) และหรือการแปรรูป (processed)

ข้อกำหนดหลักเกณฑ์ จี .เอ็ม.พี.

ข้อกำหนด GMP ที่จะเป็นเกณฑ์บังคับใช้เป็นการปรับปรุงระบบการควบคุมความปลอดภัยที่ผู้ผลิตอาหารจะต้องปฏิบัติตาม โดยจะต้องดำเนินการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมในโรงงานผลิต การปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักสุขาภิบาล หลักสุขอนามัยและความสะอาดทั้งในการผลิต และบุคลากรในสายงานผลิตด้วย โดยให้ตระหนักถึงความสะอาด ปลอดภัย มีระเบียบวินัยเพื่อสร้างสุขลักษณะที่ดีในการผลิตเป็นสำคัญ วิธีการผลิตอาหารจะต้องมีการกำหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวนั้นผู้ผลิตจะต้องคำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต
- สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกล้เคียง ต้องอยู่ในที่ที่จะไม่ทำให้อาหารที่ผลิตเกิดการ ปนเปื้อนได้ง่าย โดย บริเวณโดยรอบจะต้องสะอาด หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่มีโอกาส ก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับอาหาร เช่น แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ แมลง กองขยะ บริเวณที่มีฝุ่นมาก บริเวณน้ำท่วมขังแฉะสกปรก และไม่ควรใกล้แหล่งมีพิษ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ผลิตจะต้องมีมาตรการป้องกันการ ปนเปื้อนจากภายนอกเข้าสู่บริเวณผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
- อาคารผลิตมีขนาดเหมาะสม มีก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์เพราะอาหารเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เรามีชีวิตอยู่ได้ถ้าอาหารดีได้มาตรฐานและปลอดภัยเมื่อบริโภคเข้าไปร่างกายมนุษย์จะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากอาหารนั้นแต่ถ้าอาหารไม่ดีไม่ปลอดภัยก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้หนทางหนึ่งที่จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานของอาหารและเพิ่มความรับผิดชอบของผู้ประกอบการในการผลิตอาหารนั่นคือการนำเอาหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตหรือ GMP (ผลิตดีฝึกหัด) มาใช้ในการผลิตอาหารซึ่งนับว่าเป็นการยกระดับมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของอาหารมากขึ้นและผลสุดท้ายจะตกอยู่กับผู้บริโภคเพราะจะทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าสมประโยชน์และมีความปลอดภัยยิ่งขึ้นความหมายของ จี.เอ็ม.พีGMP (Good Manufacturing Practice) หมายถึง หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ซึ่งเป็นเกณฑ์หรือข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงใด ๆ ที่จะทำให้อาหารเป็นพิษ เป็นอันตรายหรือเกิดความไม่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค โดยครอบคลุมปัจจัยทุกด้านที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่โครงสร้างอาคารขั้นพื้นฐาน ระบบการผลิตที่ดี กระบวนการผลิตที่มีความปลอดภัยและมีคุณภาพได้มาตรฐานทุกขั้นตอน นับตั้งแต่เริ่มต้นวางแผนการผลิต ระบบควบคุม บันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ถึงมือผู้บริโภคอย่างมั่นใจ และ GMP ยังเป็นระบบประกันคุณภาพพื้นฐานก่อนที่จะนำไปสู่ระบบประกันคุณภาพอื่น ๆ ที่สูงกว่าต่อไป เช่น HACCP (Hazards Analysis and Critical Control Points) และ ISO 9000 อีกด้วย เกณฑ์ดังกล่าวมาจากการทดลองปฏิบัติและพิสูจน์แล้วจากกลุ่มนักวิชาการด้านอาหารทั่วโลกว่า ถ้าสามารถผลิตอาหารได้ตามเกณฑ์นี้จะทำให้อาหารนั้นเกิดความปลอดภัยและเป็นที่เชื่อถือยอมรับจากผู้บริโภค

ลักษณะของเกณฑ์ที่นำมาใช้บังคับ

GMP ที่จะนำมาเป็นมาตรการบังคับใช้นี้ยึดตามแนวทางข้อบังคับซึ่งเป็นที่ยอมรับของสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐาน Codex (Codex Standard) แต่มีการปรับให้ง่ายขึ้น เพื่อสามารถปฏิบัติได้จริงสำหรับประเทศไทย โดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้ผลิตในประเทศไทย ซึ่งมีข้อจำกัดด้านความรู้ เงินทุนและเวลา เพื่อให้ผู้ผลิตทุกระดับโดยเฉพาะขนาดกลางและเล็ก ซึ่งมีจำนวนมาก สามารถปรับปรุงและปฏิบัติได้ตามเกณฑ์ และเป็นข้อกำหนดแนวกว้างที่สามารถประยุกต์ใช้กับอาหารทุกชนิด ซึ่งในตอนแรกจะบังคับใช้กับอาหาร 54 ชนิด แต่ในอนาคตจะประกาศเพิ่มเพื่อให้ครอบคลุมอาหารทุกชนิด และสำหรับกรณีของอาหารกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่มีปัญหาเฉพาะที่สำคัญ จะมีการออกข้อกำหนดเฉพาะสำหรับผลิตภัณฑ์นั้นขึ้น เช่น GMP น้ำบริโภค ซึ่งจะกำหนดรายละเอียดที่ครอบคลุมและเคร่งครัดชัดเจนขึ้น เพื่อลดและขจัดความเสี่ยง ทำให้เกิดความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามข้อกำหนดนี้ยังคงสอดคล้องตามแนวทางของหน่วยงานมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้ขัดกับหลักสากลด้วย

ประเภทอาหารที่ถูกบังคับให้ใช้ จี.เอ็ม.พี

อาหารดังต่อไปนี้ เป็นอาหารที่กำหนดให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ.2543 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2544 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193)พ.ศ.2543
1. อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็ก
2. อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็กเล็ก
3. นมดัดแปลงสำหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก
4. น้ำแข็ง
5. น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
6. เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
7. อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
8. นมโค
9. นมเปรี้ยว
10. ไอศกรีม
11. นมปรุงแต่ง
12. ผลิตภัณฑ์ของนม
13. วัตถุเจือปนอาหาร
14. สีผสมอาหาร
15. วัตถุที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร
16. โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียมซัยคลาเมต
17. อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก
18. ชา
19. กาแฟ
20. น้ำปลา
21. น้ำแร่ธรรมชาติ
22. น้ำส้มสายชู
23. น้ำมันและไขมัน
24. น้ำมันถั่วลิสง
25. ครีม
26. น้ำมันเนย
27. เนย
28. เนยแข็ง
29. กี
30. เนยเทียม
31. อาหารกึ่งสำเร็จรูป
32. ซอสบางชนิด
33. น้ำมันปาล์ม
34. น้ำมันมะพร้าว
35. เครื่องดื่มเกลือแร่
36. น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน)
37. ช็อกโกแลต
38. แยม เยลลี มาร์มาเลด ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
39. อาหารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ
40.ไข่เยี่ยวม้า
41. รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี
42. ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง
43. น้ำผึ้ง (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน)
44. ข้าวเติมวิตามิน
45. แป้งข้าวกล้อง
46. น้ำเกลือปรุงอาหาร
47. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
48. ขนมปัง
49. หมากฝรั่งและลูกอม
50. วุ้นสำเร็จรูปและขนมเยลลี
51. ผลิตภัณฑ์กระเทียม
52. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์
53. วัตถุแต่งกลิ่นรส
54. อาหารแช่เยือกแข็งที่ได้ผ่านการเตรียม (prepared) และหรือการแปรรูป (processed)

ข้อกำหนดหลักเกณฑ์ จี .เอ็ม.พี.

ข้อกำหนด GMP ที่จะเป็นเกณฑ์บังคับใช้เป็นการปรับปรุงระบบการควบคุมความปลอดภัยที่ผู้ผลิตอาหารจะต้องปฏิบัติตาม โดยจะต้องดำเนินการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมในโรงงานผลิต การปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักสุขาภิบาล หลักสุขอนามัยและความสะอาดทั้งในการผลิต และบุคลากรในสายงานผลิตด้วย โดยให้ตระหนักถึงความสะอาด ปลอดภัย มีระเบียบวินัยเพื่อสร้างสุขลักษณะที่ดีในการผลิตเป็นสำคัญ วิธีการผลิตอาหารจะต้องมีการกำหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวนั้นผู้ผลิตจะต้องคำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต
- สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกล้เคียง ต้องอยู่ในที่ที่จะไม่ทำให้อาหารที่ผลิตเกิดการ ปนเปื้อนได้ง่าย โดย บริเวณโดยรอบจะต้องสะอาด หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่มีโอกาส ก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับอาหาร เช่น แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ แมลง กองขยะ บริเวณที่มีฝุ่นมาก บริเวณน้ำท่วมขังแฉะสกปรก และไม่ควรใกล้แหล่งมีพิษ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ผลิตจะต้องมีมาตรการป้องกันการ ปนเปื้อนจากภายนอกเข้าสู่บริเวณผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
- อาคารผลิตมีขนาดเหมาะสม มีก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แต่ถ้าอาหารไม่ดี นั่นคือ หรือ GMP (Good Manufacturing Practice) มาใช้ในการผลิตอาหาร และผลสุดท้ายจะตกอยู่กับผู้บริโภคเพราะจะทำให้ สมประโยชน์ จี. เอ็ม. พีGMP (Good Manufacturing Practice) หมายถึง ๆ ที่จะทำให้อาหารเป็นพิษ ตั้งแต่โครงสร้างอาคารขั้นพื้นฐานระบบการผลิตที่ดี นับตั้งแต่เริ่มต้นวางแผนการผลิตระบบควบคุมบันทึกข้อมูลตรวจสอบและติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์ และมาตรฐาน GMP ๆ ที่สูงกว่าต่อไปเช่น HACCP (การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม) และ ISO 9000 โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐาน Codex (มาตรฐาน Codex) แต่มีการปรับให้ง่ายขึ้น ซึ่งมีข้อ จำกัด ด้านความรู้เงินทุนและเวลา ซึ่งมีจำนวนมาก ซึ่งในตอนแรกจะบังคับใช้กับอาหาร 54 ชนิด เช่น GMP น้ำบริโภค เพื่อลดและขจัดความเสี่ยง จี. เอ็ม. พีอาหารดังต่อไปนี้ (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 เรื่องวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหารและประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2544 เรื่อง (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 1 อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็กเล็ก3 น้ำแข็ง5 น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท6 อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท8 นมโคที่ 9 นมเปรี้ยว10 ไอศกรีม11 นมปรุงแต่ง12 ผลิตภัณฑ์ของนม13 วัตถุเจือปนอาหาร14 สีผสมอาหาร15 วัตถุที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร16 ชา19 กาแฟ20 น้ำปลา21 น้ำแร่ธรรมชาติ22 น้ำส้มสายชู23 น้ำมันและไขมัน24 น้ำมันถั่วลิสง25 ครีม26 น้ำมันเนย27 เนย28 เนยแข็ง29 กี30 เนยเทียม31 อาหารกึ่งสำเร็จรูป32 ซอสบางชนิด33 น้ำมันปาล์ม34 น้ำมันมะพร้าว35 เครื่องดื่มเกลือแร่36 ช็อกโกแลต38 แยมเยลลีมาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท39 รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี42 น้ำผึ้ง ข้าวเติมวิตามิน45 แป้งข้าวกล้อง46 น้ำเกลือปรุงอาหาร47 ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท48 ขนมปัง49 หมากฝรั่งและลูกอม50 วุ้นสำเร็จรูปและขนมเยลลี51 ผลิตภัณฑ์กระเทียม52 ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์53 วัตถุแต่งกลิ่นรส54 (เตรียม) และหรือการแปรรูป (ประมวลผล) ข้อกำหนดหลักเกณฑ์จี. เอ็ม. พี. ข้อกำหนด GMP และบุคลากรในสายงานผลิตด้วยโดยให้ตระหนักถึงความสะอาดปลอดภัย เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร ๆ ดังต่อไปนี้1 สถานที่ตั้งและอาคารผลิต- ปนเปื้อนได้ง่ายโดยบริเวณโดยรอบจะต้องสะอาดหลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่มีโอกาสก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับอาหารเช่นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์แมลงกองขยะบริเวณที่มีฝุ่นมากบริเวณน้ำท่วมขังแฉะสกปรกและไม่ควรใกล้ แหล่งมีพิษหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ผู้ผลิตจะต้องมีมาตรการป้องกันการ อาคารผลิตมีขนาดเหมาะสมมีก










































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์เพราะอาหารเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้มนุษย์เรามีชีวิตอยู่ได้ถ้าอาหารดีได้มาตรฐานและปลอดภัยเมื่อบริโภคเข้าไปร่างกายมนุษย์จะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากอาหารนั้นไม่ปลอดภัยก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้หนทางหนึ่งที่จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานของอาหารและเพิ่มความรับผิดชอบของผู้ประกอบการในการผลิตอาหารนั่นคือการนำเอาหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตค็อค ( การผลิตที่ดี GMPมาใช้ในการผลิตอาหารซึ่งนับว่าเป็นการยกระดับมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของอาหารมากขึ้นและผลสุดท้ายจะตกอยู่กับผู้บริโภคเพราะจะทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าสมประโยชน์
ความหมายของจี . เอ็มพี
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: