ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตำรวจไทยยุคต้น ( ก่อนพ.ศ. 2403 ) เป็นกิจก การแปล - ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตำรวจไทยยุคต้น ( ก่อนพ.ศ. 2403 ) เป็นกิจก ไทย วิธีการพูด

ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตำรวจไ

ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ตำรวจไทยยุคต้น ( ก่อนพ.ศ. 2403 )
เป็นกิจการตำรวจที่มีมาก่อน พ.ศ. 2403 แต่หลักฐานที่แน่ชัดพอจะหาได้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตราระเบียบการปกครองบ้านเมืองเป็น 4 เหล่า เรียกว่า จตุสดมภ์ ได้แก่ เวียง วัง คลัง นา ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้มีตำรวจขึ้นด้วยและให้ขึ้นอยู่กับเวียง มีเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี เป็นผู้บังคับบัญชา กิจการตำรวจครั้งนั้นแบ่งออกเป็นตำรวจพระนครบาล ตำรวจภูธร ส่วนตำรวจหลวงให้ขึ้นอยู่กับวัง มีเจ้าพระยาธรรมาธิบดีศรีรัตนมณเฑียรบาล เป็นผู้บังคับบัญชา และทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตราศักดินาของตำรวจไว้เป็นบรรทัดฐานในบทพระอัยการระบุตำแหน่งนายพลเรือน เช่นเดียวกับข้าราชการฝ่ายอื่น ดังนี้
ตำรวจภูธร หลวงวาสุเทพ เจ้ากรมมหาดไทย ตำรวจภูธร ศักดินา 1,000 ขุนพิศณุแสนปลัดขวา ศักดินา 600
ตำรวจภูบาล หลวงเพชรฉลูเทพ เจ้ากรมมหาดไทย
ตำรวจภูบาลศักดินา 1,000 ขุนมหาพิชัย ปลัดขวา ศักดินา 600 ขุนแผลงสะท้าน ปลัดซ้าย ศักดินา 600นอกจากนี้
มีเอกสารหลายชิ้นที่แสดงว่าบุคคลที่จะเป็นตำรวจได้นั้นต้องคัดเลือกจากผู้ที่มีชาติกำเนิดสืบเชื้อสายมาจากตระกูลที่ได้ทำคุณความดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และต้องเป็นบุคคลที่ทรงวาง พระราชหฤทัย การบังคับบัญชาตำรวจก็ต้องขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะแต่พระองค์
เดียว กิจการตำรวจในยุคนี้จะจัดตั้งเพื่อให้ทำหน้าที่ในวงจำกัด และมิได้ขยายไปยังส่วนการปกครองทั่วประเทศ แต่เมื่อพิจารณาถึงการจัดรูปการ
ปกครองในสมัยนั้นล้วก็ต้องนับว่าเป็นการเหมาะสม

ตำรวจไทยยุคปฏิรูปการปกครอง
เป็นกิจการตำรวจระหว่าง พ.ศ. 2403 ถึง พ.ศ.2475 ซึ่งจะขอเรียกว่า สมัยปฏิรูปเพราะเป็นสมัยที่ได้มีการปฏิรูปการปกครองประเทศไทยอย่างขนาดใหญ่ทุก ๆ ด้านตามแบบอย่างอารยประเทศตะวันตก ซึ่งได้เริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2405 ได้ว่าจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิจารณา วางโครงการ จัดตั้งกองตำรวจ สำหรับรักษาความสงบเรียบร้อยภายในเขตนครหลวงตามแบบอย่างยุโรป ขึ้นเป็นครั้งแรกแต่เนื่องจากเหตุทางการเมืองระหว่างประเทศในสมัยนั้นซึ่งเป็นยุคที่อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา กำลังแข่งขันกันหาเมืองขึ้นในทวีปเอเซีย การจัดระเบียบการปกครองประเทศขณะนั้นจึงเพ่งเล็งไปในด้านป้องกันประเทศเป็นหลักใหญ่ นโยบายการตำรวจก็ต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายการเมืองระหว่างประเทศและทหารด้วยเป็นธรรมดา
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 การปรับปรุงการตำรวจ นอกจากได้ขยายงานตำรวจนครบาลแล้ว ยังได้จัดตั้งตำรวจภูธรขึ้นในรูปทหารโปลิศ เมื่อ พ.ศ.2420 ได้เปลี่ยนกองทหารโปลิศเป็นกรมกองตระเวนหัวเมือง จนถึง พ.ศ. 2440 ได้ตั้งกรมตำรวจภูธรขึ้น
แทนกรมกองตระเวนหัวเมือง กำลังพลแรก ๆใช้ตำรวจ ต่อมาเมื่อทางทหารได้ประกาศใช้ พ.ร.บ.เกณฑ์ทหาร ทางตำรวจภูธรก็ได้ขออนุมัติใช้กฎหมายฉบับนี้ เมื่อ พ.ศ. 2448 เกณฑ์คนเข้าเป็นตำรวจด้วยเช่นเดียวกัน เมื่อได้จัดตั้งกรมตำรวจภูธรขึ้นแล้วก็ได้
พยายามขยายการตำรวจไปยังหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคตามลำดับ เพื่อให้มีกำลังตำรวจสำหรับป้องกันปราบปรามโจรผู้ร้าย อำนวยความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่ประชาชาชน
กิจการตำรวจในยุคนี้ขึ้นอยู่กับกระทรวง 2 กระทรวง คือ กรมพลตระเวน หรือ(ตำรวจนครบาล) ขึ้นอยู่กับกระทรวงพระนครบาล กรมตำรวจภูธรขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย และได้รวมเป็นกรมเดียวกันภายใต้การบังคับบัญชาของอธิบดีคนเดียวกัน เมื่อ 13 ตุลาคม 2458 เรียกว่า "กรมตำรวจภูธรและกรมพลตระเวน" กรมตำรวจจึงถือว่า วันที่ 13 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันตำรวจ และในปลายปีนั้นเองได้เปลี่ยนเป็น "กรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาล" ยกฐานะเจ้ากรมขึ้นเป็นอธิบดี ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้รวมระทรวงมหาดไทย กับ กระทรวงนครบาลเป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่า กระทรวงมหาดไทย กรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาล จึงโอนมาขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย และในปี พ.ศ. 2469 ได้เปลี่ยนนามกรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาลเป็น "กรมตำรวจภูธร" แต่ยังคงแบ่งตำรวจออกเป็น 2 ประเภท คือ ตำรวจที่จับกุมโจรผู้ร้ายไต่สวน ทำสำนวนฟ้องศาลโปลิศสภาโดยตรง เรียกว่า "ตำรวจนครบาล" ตำรวจที่ทำการจับกุมโจรผู้ร้ายได้แล้วส่งให้อำเภอไต่สวนทำสำนวนให้อัยการฟ้องศาลอาญาประจำจังหวัดนั้น ๆ เรียกว่า "ตำรวจภูธร" จนกระทั่ง พ.ศ. 2475 จึงได้เปลี่ยนนามกรมตำรวจภูธรเป็น "กรมตำรวจ" ตลอดมาจนทุกวันนี้

ตำรวจไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
การตำรวจยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบัน จะเรียกว่า ตำรวจยุคปัจจุบัน หรือตำรวจสมัยระชาธิปไตยก็ได้ หลังจากที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตยแล้วโดยประกาศเสนาบดี กระทรวงมหาดไทย เรื่องการแบ่งส่วน
ราชการกรมตำรวจ พ.ศ. 2475 กิจการตำรวจได้แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 เป็นหน่วยบริหารงานส่วนกลาง และสำนักบริหารของอธิบดีกรมตำรวจมีกองขึ้นตรง 6 กอง คือ กองกลาง กองบัญชี กองโรงเรียน กองคดี กองตรวจคนเข้าเมือง และกอง ทะเบียนกลาง
ส่วนที่ 2 คือ ตำรวจนครบาล
ส่วนที่ 3 คือ ตำรวจภูธร
ส่วนที่ 4 คือ ตำรวจสันติบาล เป็นหน่วยที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังที่ได้ยกเลิกตำรวจภูบาล ตำรวจกลาง และตำรวจกองพิเศษ
หลังจากที่ได้ปรับปรุงกิจการตำรวจเพื่อวางรากฐานตำรวจในระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 แล้ว กรมตำรวจได้ปรับปรุงการบริหารให้ดีขึ้น เหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมปริมาณและคุณภาพของงานเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2403 ถึงปัจจุบัน

กรมตำรวจมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งบอกเอาไว้ว่า คำว่า "ตำรวจ" นั้นเกิดขึ้นมาในบ้านเมืองของเราไม่ต่ำกว่า 500 ปีมาแล้ว โดยมีมาตั้งแต่ยุคสมัยพระบรมไตรโลกนาถ พระมาหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่ทรงจัดระเบียบการปกครองบ้านเมืองแบบ "จตุสดมภ์" อันประกอบด้วย เวียง วัง คลัง นา นั้น ปรากฏมีหน่วยง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตำรวจไทยยุคต้น (ก่อนพ.ศ. 2403) เป็นกิจการตำรวจที่มีมาก่อน พ.ศ. 2403 แต่หลักฐานที่แน่ชัดพอจะหาได้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตราระเบียบการปกครองบ้านเมืองเป็น 4 เหล่า เรียกว่า จตุสดมภ์ ได้แก่ เวียง วัง คลัง นา ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้มีตำรวจขึ้นด้วยและให้ขึ้นอยู่กับเวียง มีเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี เป็นผู้บังคับบัญชา กิจการตำรวจครั้งนั้นแบ่งออกเป็นตำรวจพระนครบาล ตำรวจภูธร ส่วนตำรวจหลวงให้ขึ้นอยู่กับวัง มีเจ้าพระยาธรรมาธิบดีศรีรัตนมณเฑียรบาล เป็นผู้บังคับบัญชา และทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตราศักดินาของตำรวจไว้เป็นบรรทัดฐานในบทพระอัยการระบุตำแหน่งนายพลเรือน เช่นเดียวกับข้าราชการฝ่ายอื่น ดังนี้ ตำรวจภูธรหลวงวาสุเทพเจ้ากรมมหาดไทยตำรวจภูธรศักดินา 1000 ขุนพิศณุแสนปลัดขวาศักดินา 600 ตำรวจภูบาลหลวงเพชรฉลูเทพเจ้ากรมมหาดไทย ตำรวจภูบาลศักดินาขุนมหาพิชัย 1000 ปลัดขวาศักดินา 600 ขุนแผลงสะท้านปลัดซ้ายศักดินา 600นอกจากนี้ มีเอกสารหลายชิ้นที่แสดงว่าบุคคลที่จะเป็นตำรวจได้นั้นต้องคัดเลือกจากผู้ที่มีชาติกำเนิดสืบเชื้อสายมาจากตระกูลที่ได้ทำคุณความดีต่อชาติศาสนาพระมหากษัตริย์และต้องเป็นบุคคลที่ทรงวางพระราชหฤทัยการบังคับบัญชาตำรวจก็ต้องขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะแต่พระองค์เดียวกิจการตำรวจในยุคนี้จะจัดตั้งเพื่อให้ทำหน้าที่ในวงจำกัดและมิได้ขยายไปยังส่วนการปกครองทั่วประเทศแต่เมื่อพิจารณาถึงการจัดรูปการปกครองในสมัยนั้นล้วก็ต้องนับว่าเป็นการเหมาะสม ตำรวจไทยยุคปฏิรูปการปกครอง เป็นกิจการตำรวจระหว่าง พ.ศ. 2403 ถึง พ.ศ.2475 ซึ่งจะขอเรียกว่า สมัยปฏิรูปเพราะเป็นสมัยที่ได้มีการปฏิรูปการปกครองประเทศไทยอย่างขนาดใหญ่ทุก ๆ ด้านตามแบบอย่างอารยประเทศตะวันตก ซึ่งได้เริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2405 ได้ว่าจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิจารณา วางโครงการ จัดตั้งกองตำรวจ สำหรับรักษาความสงบเรียบร้อยภายในเขตนครหลวงตามแบบอย่างยุโรป ขึ้นเป็นครั้งแรกแต่เนื่องจากเหตุทางการเมืองระหว่างประเทศในสมัยนั้นซึ่งเป็นยุคที่อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา กำลังแข่งขันกันหาเมืองขึ้นในทวีปเอเซีย การจัดระเบียบการปกครองประเทศขณะนั้นจึงเพ่งเล็งไปในด้านป้องกันประเทศเป็นหลักใหญ่ นโยบายการตำรวจก็ต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายการเมืองระหว่างประเทศและทหารด้วยเป็นธรรมดา ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 การปรับปรุงการตำรวจนอกจากได้ขยายงานตำรวจนครบาลแล้วยังได้จัดตั้งตำรวจภูธรขึ้นในรูปทหารโปลิศเมื่อ พ.ศ.2420 ได้เปลี่ยนกองทหารโปลิศเป็นกรมกองตระเวนหัวเมืองจนถึงพ.ศ. 2440 ได้ตั้งกรมตำรวจภูธรขึ้นแทนกรมกองตระเวนหัวเมืองกำลังพลแรกๆใช้ตำรวจต่อมาเมื่อทางทหารได้ประกาศใช้พ.ร.บ.เกณฑ์ทหารทางตำรวจภูธรก็ได้ขออนุมัติใช้กฎหมายฉบับนี้เมื่อพ.ศ. 2448 เกณฑ์คนเข้าเป็นตำรวจด้วยเช่นเดียวกันเมื่อได้จัดตั้งกรมตำรวจภูธรขึ้นแล้วก็ได้พยายามขยายการตำรวจไปยังหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคตามลำดับ เพื่อให้มีกำลังตำรวจสำหรับป้องกันปราบปรามโจรผู้ร้าย อำนวยความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่ประชาชาชน กิจการตำรวจในยุคนี้ขึ้นอยู่กับกระทรวง 2 กระทรวง คือ กรมพลตระเวน หรือ(ตำรวจนครบาล) ขึ้นอยู่กับกระทรวงพระนครบาล กรมตำรวจภูธรขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย และได้รวมเป็นกรมเดียวกันภายใต้การบังคับบัญชาของอธิบดีคนเดียวกัน เมื่อ 13 ตุลาคม 2458 เรียกว่า "กรมตำรวจภูธรและกรมพลตระเวน" กรมตำรวจจึงถือว่า วันที่ 13 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันตำรวจ และในปลายปีนั้นเองได้เปลี่ยนเป็น "กรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาล" ยกฐานะเจ้ากรมขึ้นเป็นอธิบดี ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้รวมระทรวงมหาดไทย กับ กระทรวงนครบาลเป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่า กระทรวงมหาดไทย กรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาล จึงโอนมาขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย และในปี พ.ศ. 2469 ได้เปลี่ยนนามกรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาลเป็น "กรมตำรวจภูธร" แต่ยังคงแบ่งตำรวจออกเป็น 2 ประเภท คือ ตำรวจที่จับกุมโจรผู้ร้ายไต่สวน ทำสำนวนฟ้องศาลโปลิศสภาโดยตรง เรียกว่า "ตำรวจนครบาล" ตำรวจที่ทำการจับกุมโจรผู้ร้ายได้แล้วส่งให้อำเภอไต่สวนทำสำนวนให้อัยการฟ้องศาลอาญาประจำจังหวัดนั้น ๆ เรียกว่า "ตำรวจภูธร" จนกระทั่ง พ.ศ. 2475 จึงได้เปลี่ยนนามกรมตำรวจภูธรเป็น "กรมตำรวจ" ตลอดมาจนทุกวันนี้ ตำรวจไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง การตำรวจยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบัน จะเรียกว่า ตำรวจยุคปัจจุบัน หรือตำรวจสมัยระชาธิปไตยก็ได้ หลังจากที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตยแล้วโดยประกาศเสนาบดี กระทรวงมหาดไทย เรื่องการแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ พ.ศ. 2475 กิจการตำรวจได้แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นหน่วยบริหารงานส่วนกลาง และสำนักบริหารของอธิบดีกรมตำรวจมีกองขึ้นตรง 6 กอง คือ กองกลาง กองบัญชี กองโรงเรียน กองคดี กองตรวจคนเข้าเมือง และกอง ทะเบียนกลาง ส่วนที่ 2 คือ ตำรวจนครบาล ส่วนที่ 3 คือ ตำรวจภูธร ส่วนที่ 4 คือ ตำรวจสันติบาล เป็นหน่วยที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังที่ได้ยกเลิกตำรวจภูบาล ตำรวจกลาง และตำรวจกองพิเศษ หลังจากที่ได้ปรับปรุงกิจการตำรวจเพื่อวางรากฐานตำรวจในระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 แล้ว กรมตำรวจได้ปรับปรุงการบริหารให้ดีขึ้น เหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมปริมาณและคุณภาพของงานเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2403 ถึงปัจจุบัน กรมตำรวจมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งบอกเอาไว้ว่า คำว่า "ตำรวจ" นั้นเกิดขึ้นมาในบ้านเมืองของเราไม่ต่ำกว่า 500 ปีมาแล้ว โดยมีมาตั้งแต่ยุคสมัยพระบรมไตรโลกนาถ พระมาหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่ทรงจัดระเบียบการปกครองบ้านเมืองแบบ "จตุสดมภ์" อันประกอบด้วย เวียง วัง คลัง นา นั้น ปรากฏมีหน่วยง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(ก่อนพ. ศ. 2403) เป็นกิจการตำรวจที่มีมาก่อน พ.ศ. 2403 คือในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงโปรดเกล้าฯ 4 เหล่าเรียกว่าจตุสดมภ์ ได้แก่ เวียงวังคลังนาซึ่งโปรดเกล้าฯ เป็นผู้บังคับบัญชา ตำรวจภูธรส่วนตำรวจหลวงให้ขึ้นอยู่กับวัง เป็นผู้บังคับบัญชาและทรงโปรดเกล้าฯ เช่นเดียวกับข้าราชการฝ่ายอื่นดังนี้ตำรวจภูธรหลวงวาสุเทพเจ้ากรมมหาดไทยตำรวจภูธรศักดินา 1,000 ขุนพิศณุแสนปลัดขวาศักดินา 600 ตำรวจภูบาลหลวงเพชรฉลูเทพเจ้ากรมมหาดไทยตำรวจภูบาลศักดินา 1,000 ขุนมหาพิชัยปลัดขวาศักดินา 600 ขุนแผลงสะท้านปลัดซ้ายศักดินา ศาสนาพระมหากษัตริย์และต้องเป็นบุคคลที่ทรงวางพระราชหฤทัย พ.ศ. 2403 ถึง พ.ศ. 2475 ซึ่งจะขอเรียกว่า ๆ ด้านตามแบบอย่างอารยประเทศตะวันตก กล่าวคือในปี พ.ศ. 2405 วางโครงการจัดตั้งกองตำรวจ ฝรั่งเศสโปรตุเกสฮอลันดา 5 การปรับปรุงการตำรวจนอกจากได้ขยายงานตำรวจนครบาลแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2420 จนถึง พ.ศ. 2440 กำลังพลแรก ๆ ใช้ตำรวจต่อมาเมื่อทางทหารได้ประกาศใช้พ. ร. บ. เกณฑ์ทหาร เมื่อ พ.ศ. 2448 2 กระทรวงคือกรมพลตระเวนหรือ (ตำรวจนครบาล) ขึ้นอยู่กับกระทรวงพระนครบาล เมื่อ 13 ตุลาคม 2458 เรียกว่า "กรมตำรวจภูธรและกรมพลตระเวน" กรมตำรวจจึงถือว่าวันที่ 13 ตุลาคมของทุกปีเป็นวันตำรวจและในปลายปีนั้นเองได้เปลี่ยนเป็น "กรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาล" ยกฐานะเจ้ากรมขึ้นเป็นอธิบดีต่อ มาในปี พ.ศ. 2465 ให้รวมระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงนครบาลเป็นกระทรวงเดียวกันเรียกว่ากระทรวงมหาดไทยกรมตำรวจภูธรและกรมตำรวจนครบาลจึงโอนมาขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทยและในปี พ.ศ. 2469 "กรมตำรวจภูธร" แต่ยังคงแบ่งตำรวจออกเป็น 2 ประเภทคือตำรวจที่จับกุมโจรผู้ร้ายไต่สวนทำสำนวนฟ้องศาลโปลิศสภาโดยตรงเรียกว่า "ตำรวจนครบาล" ๆ เรียกว่า "ตำรวจภูธร" จนกระทั่ง พ.ศ. 2475 จึงได้เปลี่ยนนามกรมตำรวจภูธรเป็น "กรมตำรวจ" พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบันจะเรียกว่าตำรวจยุคปัจจุบันหรือตำรวจสมัยระชาธิปไตยก็ได้ กระทรวงมหาดไทยเรื่องการแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ พ.ศ. 2475 กิจการตำรวจได้แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือส่วนที่ 1 เป็นหน่วยบริหารงานส่วนกลาง 6 กองคือกองบัญชีกองกลางกองโรงเรียนกองคดีกองตรวจคนเข้าเมืองและกองทะเบียนกลางส่วนที่ 2 คือตำรวจนครบาลส่วนที่ 3 คือตำรวจภูธรส่วนที่ 4 คือตำรวจสันติบาล ตำรวจกลาง เมื่อ พ.ศ. 2475 แล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2403 คำว่า "ตำรวจ" 500 ปีมาแล้ว พระมาหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา "จตุสดมภ์" อันประกอบด้วยเวียงวังคลังนานั้นปรากฏมีหน่วยง




























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ตำรวจไทยยุคต้น ( ก่อนพ . ศ . 2403 )
เป็นกิจการตำรวจที่มีมาก่อนพ . ศ .2403 แต่หลักฐานที่แน่ชัดพอจะหาได้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงโปรดเกล้าฯให้ตราระเบียบการปกครองบ้านเมืองเป็น 4 เหล่าเรียกว่าจตุสดมภ์ได้แก่เวียงวังคลังนาซึ่งโปรดเกล้าฯมีเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์สมุหนายกอัครมหาเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชากิจการตำรวจครั้งนั้นแบ่งออกเป็นตำรวจพระนครบาลตำรวจภูธรส่วนตำรวจหลวงให้ขึ้นอยู่กับวังมีเจ้าพระยาธรรมาธิบดีศรีรัตนมณเฑียรบาล
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: