อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม- ปริซึ การแปล - อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม- ปริซึ ไทย วิธีการพูด

อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระ

อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
- ปริซึม หมายถึง ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองด้านเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปเหลี่ยมด้านขนาน ปริซึมแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.ปริซึมตรง คือ ปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านตั้งฉากกับฐาน เช่น ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมฐานสามเหลี่ยม ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมคางหมู ปริซึมฐานห้าเหลี่ยม ปริซึมฐานหกเหลี่ยม
2.ปริซึมเอียง คือ ปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านไม่ตั้งฉากกับฐาน เช่น ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากเอียง ปริซึมฐานหกเหลี่ยมเอียง
การเรียกส่วนประกอบของปริซึมตรงมีดังนี้
- ฐาน หมายถึง หน้าตัดของปริซึม ซึ่งมี 2 ด้าน และเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ในที่นี่คือห้าเหลี่ยม ABCDE และห้าเหลี่ยม MNOPQ
- ความสูง หมายถึง ระยะห่างระหว่างฐานทั้ง 2 ด้านของปริซึมในที่นี่ความสูงคือ AQ=BM=CN=DO=EP
การหาปริมาตรของปริซึมจะเกี่ยวข้องกับการหาค่าต่างๆ แยกได้ดังนี้
1.หาความสูง
2.หาพื้นที่ผิวข้าง
3.หาพื้นที่ฐาน
4.หาปริมาตร
สูตร
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง
พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง X พื้นที่หน้าตัดหัวท้าย
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน X ความสูง
พื้นที่ของรูปเหลี่ยมที่เป็นฐานของปริซึม
1.ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง × ความยาว
2.ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = ระยะห่างระหว่างด้านคู่ขนาน × ผลบวกของความยาวของด้านคู่ขนาน
3.ฐานรูปสามเหลี่ยม ฐาน×สูง

พีระมิด เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น การเรียกชื่อพีระมิดจะเรียกตามรูปฐานของพีระมิด
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับพีระมิด
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 X ความยาวรอบฐาน X สูงเอียง
= พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกัน
พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด X พื้นที่ฐานของพีระมิด

ทรงกระบอก

ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกระบอก ดังนี้
รูป เรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บน ระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอ เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า ทรงกระบอก

สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับทรงกระบอก
ปริมาตรทรงกระบอก = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2 X สูงตรง
พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2

กรวย

ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า กรวย ดังนี้
รูป เรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่า กรวย

สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกรวย
ปริมาตรของกรวย = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรง
พื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง

ทรงกลม

ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกลม ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดจุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกว่า ทรงกลม
จุดคงที่นั้นเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม

สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทรงกลม

ปริมาตรของทรงกลม = 4/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 3
พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทรงกระบอกอธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิดกรวยและทรงกลม-ปริซึมหมายถึงทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองด้านเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกันและด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปเหลี่ยมด้านขนานปริซึมแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ1.ปริซึมตรง คือปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านตั้งฉากกับฐานเช่นปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากปริซึมฐานสามเหลี่ยมปริซึมฐานสี่เหลี่ยมคางหมูปริซึมฐานห้าเหลี่ยมปริซึมฐานหกเหลี่ยม2.ปริซึมเอียง คือปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านไม่ตั้งฉากกับฐานเช่นปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากเอียงปริซึมฐานหกเหลี่ยมเอียง การเรียกส่วนประกอบของปริซึมตรงมีดังนี้-ฐานหมายถึงหน้าตัดของปริซึมซึ่งมี 2 ด้านและเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการในที่นี่คือห้าเหลี่ยม ABCDE และห้าเหลี่ยม MNOPQ-ความสูงหมายถึงระยะห่างระหว่างฐานทั้ง 2 ด้านของปริซึมในที่นี่ความสูงคือ AQ = BM = CN =โด = EP การหาปริมาตรของปริซึมจะเกี่ยวข้องกับการหาค่าต่าง ๆ แยกได้ดังนี้1.หาความสูง 2.หาพื้นที่ผิวข้าง 3.หาพื้นที่ฐาน4.หาปริมาตร สูตรปริมาตรของปริซึม =พื้นที่ฐาน X ความสูงพื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม =พื้นที่ผิวข้าง X พื้นที่หน้าตัดหัวท้ายพื้นที่ผิวข้างของปริซึม =ความยาวเส้นรอบฐาน X ความสูงพื้นที่ของรูปเหลี่ยมที่เป็นฐานของปริซึม 1.ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก =ความกว้าง×ความยาว2.ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู =ระยะห่างระหว่างด้านคู่ขนาน×ผลบวกของความยาวของด้านคู่ขนาน 3.ฐานรูปสามเหลี่ยม ฐาน×สูงพีระมิดเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใด ๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐานและหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้นการเรียกชื่อพีระมิดจะเรียกตามรูปฐานของพีระมิดสูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับพีระมิดพื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 X ความยาวรอบฐาน X สูงเอียง=พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกันพื้นที่ผิวของพีระมิด =พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด X พื้นที่ฐานของพีระมิดทรงกระบอกในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่าทรงกระบอกดังนี้รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บนระนาบที่ขนานกันและเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้วจะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอเรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่าทรงกระบอกสูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอก =สูงตรง X X รัศมียกกำลัง 2 (22/7 หรือ 3.14)พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2 (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2 (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2กรวยในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่ากรวยดังนี้รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลมมียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐานและเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใด ๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรงเรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่ากรวยสูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกรวยปริมาตรของกรวย = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรงพื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + รัศมียกกำลังสอง (22/7 หรือ 3.14) Xทรงกลมในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่าทรงกลมดังนี้รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบและจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดจุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากันเรียกว่าทรงกลมจุดคงที่นั้นเรียกว่าจุดศูนย์กลางของทรงกลมระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่ารัศมีของทรงกลมสูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทรงกลมปริมาตรของทรงกลม = 4/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 3พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิดทรงกระบอกกรวยและทรงกลม
- ปริซึมหมายถึง ปริซึมแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ
1. ปริซึมตรงคือ เช่น ปริซึมฐานสามเหลี่ยมปริซึมฐานสี่เหลี่ยมคางหมูปริซึมฐานห้าเหลี่ยมปริซึมฐานหกเหลี่ยม
2. ปริซึมเอียงคือ เช่นปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากเอียง ฐานหมายถึงหน้าตัดของปริซึมซึ่งมี 2 ด้าน ในที่นี่คือห้าเหลี่ยม ABCDE และห้าเหลี่ยม MNOPQ - ความสูงหมายถึงระยะห่างระหว่างฐานทั้ง 2 ด้านของปริซึมในที่นี่ความสูงคือ = พื้นที่ฐาน X ความสูงพื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง X = ความยาวเส้นรอบฐาน X = ความกว้าง× = ระยะห่างระหว่างด้านคู่ขนาน× ฐาน×สูงพีระมิด = 1/2 X ความยาวรอบฐาน X สูงเอียง= = พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด X ทรงกระบอกดังนี้รูป ระนาบที่ขนานกัน เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2 X สูงตรงพื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2 (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2 (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง กรวยดังนี้รูป บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรงเรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่า = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรงพื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + (22/7 หรือ 3.14) X ทรงกลม เรียกว่าได้ทรงกลมจุดคงที่นั้นเรียกว่าได้ = 4/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 3 พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2






















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิดทรงกระบอกกรวยและทรงกลม
- ปริซึมหมายถึงทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองด้านเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกันและด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปเหลี่ยมด้านขนานปริซึมแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะความ
1ปริซึมตรงความปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านตั้งฉากกับฐานเช่นปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากปริซึมฐานสามเหลี่ยมปริซึมฐานสี่เหลี่ยมคางหมูปริซึมฐานห้าเหลี่ยมปริซึมฐานหกเหลี่ยม
2ปริซึมเอียงความปริซึมที่มีด้านข้างแต่ละด้านไม่ตั้งฉากกับฐานเช่นปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากเอียงปริซึมฐานหกเหลี่ยมเอียง

การเรียกส่วนประกอบของปริซึมตรงมีดังนี้- ฐานหมายถึงหน้าตัดของปริซึมซึ่งมี 2 ด้านและเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการในที่นี่คือห้าเหลี่ยม abcde และห้าเหลี่ยม mnopq
- ความสูงหมายถึงระยะห่างระหว่างฐานทั้ง 2 ด้านของปริซึมในที่นี่ความสูงคือ AQ = BM = CN =
= ตอนที่ทำการหาปริมาตรของปริซึมจะเกี่ยวข้องกับการหาค่าต่างๆแยกได้ดังนี้
1 หาความสูง
2 หาพื้นที่ผิวข้าง
3 หาพื้นที่ฐาน
4

หาปริมาตรสูตรปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐานความสูง
xพื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง x พื้นที่หน้าตัดหัวท้าย
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน x ความสูงพื้นที่ของรูปเหลี่ยมที่เป็นฐานของปริซึม

1ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง×ความยาว
2 ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = ระยะห่างระหว่างด้านคู่ขนาน×ผลบวกของความยาวของด้านคู่ขนานฐานรูปสามเหลี่ยมฐาน×สูง


3พีระมิดเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆมียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐานและหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้นสูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับพีระมิด
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1 / 2 x ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง
=
= พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกันพื้นที่ผิวของพีระมิดพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดพื้นที่ฐานของพีระมิด

ทรงกระบอก

xในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่าทรงกระบอกดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บนระนาบที่ขนานกันและเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้วจะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: