แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิดหนึ่งของไทย ที่มีการเล่นสืบทอดกันม การแปล - แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิดหนึ่งของไทย ที่มีการเล่นสืบทอดกันม ไทย วิธีการพูด

แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิ

แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิดหนึ่งของไทย ที่มีการเล่นสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ สันนิษฐานว่าน่าจะมีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยสุโขทัย เพราะการศึกสงครามในสมัยก่อนมีทั้งทางบกและทางน้ำ ซึ่งต้องใช้เรือเป็นพาหนะ ย่อมต้องมีการฝึกฝนการพายเรือ แข่งเรือด้วยแต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร จากฟลักฐานพบว่ามีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏในกฏมณเฑียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจำเดือน ๑๑ ซึ่งเป็นการอาษยุชพิธีนั้นจะมีพิธีแข่งเรือด้วย นอกจากนี้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ ยังได้กล่าวถึงการเล่นแข่งเรือของชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมักมีการเล่นการพนันปะปนอยู่ด้วยและเป็นการเล่นที่นิยมกันมากในสมัยนั้นทีเดียว

การเล่นแข่งเรือนับว่าเป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นสืบทอดต่อเนื่องกันมาโดยตลอด แม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็ปรากฏหลักฐานว่ามีการเล่นแข่งเรือกันเป็นประจำเสมอมา เช่น ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อครั้งทรงโปรดให้ปรับปรุงพระราชวัง มีการขุดสระภายในพระราชวังใน พ.ศ. ๒๓๖๑ ก็ทรงโปรดให้มีการแข่งเรือในครั้งนั้นด้วย ในสมัยรัชกาลที่ ๕ การแข่งเรือเป็นกีฬาที่เล่นกันอย่างแพร่หลาย เมื่อมีชาวต่างชาติมาเยี่ยมเยือนก็ได้จัดการเล่นแข่งเรือให้พวกชาวต่างชาติชมด้วย ดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งความว่า

“เยนวันนี้มีกานแข่งนาวา ที่กรงน่าตำหนักแพแม่น้ำใหญ่

เรือที่นั่งกราบสี่เอกไชย มาพายให้เจ้าฝรั่งเขานั่งดู”

(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว, ๒๔๕๖ : ๑๕)

การเล่นแข่งเรือคือของชาวบ้านในภาคกลางสมัยก่อนมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการทำบุญทำกุศล คือ ชาวบ้านจะเล่นกันในเทศกาลทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือน ๑๐ – ๑๒ ซึ่งระยะนี้จะเป็นช่วงฤดูน้ำมาก ชาวบ้านที่อยู่ตามริมฝั่งแม่น้ำจะใช้เรือเป็นพาหนะเมื่อมีงานพิธีทำบุญจะมีการแห่แหนกันทางนั้นเพื่อนำองค์กฐิน องค์ผ้าป่าไปยังวัด เมื่อเสร็จพิธีทางศาสนาแล้วก็จะมีการเล่นแข่งเรือกัน ซึ่งถือกันว่าผู้ที่ร่วมแข่งขันจะได้บุญอีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนี้การเล่นแข่งเรือยังมีการเล่นเพื่อจุดมุ่งหมายอีกหลายประการ เช่น บางท้องถิ่นจะจัดให้มีการแข่งเรือในงานทำบุญไหว้พระประจำปีของแต่ละท้องถิ่น บางแห่งจะมีการแข่งเรือเพื่อเป็นการบวงสรวงสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านนับถือ บางแห่งจัดให้มีการเล่นแข่งเรือในงานเทศกาลสนุกสนานรื่นเริงต่างๆ เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม การแข่งเรือมักนิยมจัดให้มีการเล่นเฉพาะในฤดูน้ำมากเท่านั้น การเล่นแข่งเรือของชาวบ้านสมัยก่อนในภาคกลางมักจัดเป็นประเพณีประจำปี และมีการเล่นเป็นที่แพร่หลายแทบทุกจังหวัด เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ กาญจนบุรี กรุงเทพฯ จันทบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี สิงห์บุรี และนครสวรรค์ เป็นต้น ไม่เพียงแต่ภาคกลางเท่านั้นที่นิยมเล่นการแข่งเรือ แต่ภาคอื่นๆทุกๆภาค ไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ก็ล้วนมีการแข่งเรือเป็นเทศกาลสำคัญของแต่ละภาคทั้งสิ้น อาจกล่าวได้ว่าการแข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองของชาติไทยโดยแท้ก็ว่าได้เพราะมีการเล่นเป็นที่ยอมรับว่ามีความสำคัญในทุกๆภาคของประเทศ ในปัจจุบันการเล่นแข่งเรือยังมีเล่นกันอยู่โดยทั่วไป

โอกาสที่เล่น

เล่นกันในโอกาสงานทำบุญต่างๆ เช่น งานเข้าพรรษา งานออกพรรษา ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า งานไหว้พระ และงานรื่นเริงต่างๆ มักจัดให้มีการแข่งเรือกันในช่วงฤดูน้ำมาก โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไป และจัดกันมากขึ้นในช่วงราวเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม

ผู้เล่น

เล่นได้ทั้งชายและหญิง ส่วนมากจะเล่นกันในหมู่ผู้ใหญ่ โดยจะจัดผู้เล่นเป็นชุดหรือเป็นทีมประจำเรือแต่ละลำ จำนวนผู้เล่นแต่ละทีมจะมากน้อยแล้วแต่ละจะตกลงกัน และขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่จะใช้แข่งขัน แต่มักจัดผู้เล่นแต่ละทีมให้มีจำนวนผู้เล่นทั้งหญิงและชายพอๆกัน บางท้องที่อาจจัดแข่งขันในระหว่างทีมชายกับทีมหญิง ซึ่งฝ่ายทีมชายมักจะต่อจำนวนให้ผู้เล่นทีมหญิงมีจำนวนมากกว่า เป็นต้น นิยมเล่นทีมละตั้งแต่ ๒ – ๓ คนขึ้นไป

อุปกรณ์การเล่น

๑. เรือพายที่มีขนาดเล็กใหญ่ตามแต่จะตกลงกัน ชนิดของเรือที่ใช้แข่งขันกันมีหลายประเภท เช่น เรือแจว เรือบด เรือเพรียว เรือเข็ม เรือยาว เรือเผ่นม้า เรือมาด และเรือสำปั้น เป็นต้น มักจะใช้เรือที่มีชนิดและประเภทเดียวกันเข้าแข่งขันกัน จำนวนทีมละ ๑ ลำ

๒. พายสำหรับใช้พายเรือ มีขนาดใกล้เคียงกัน คนละ ๑ อัน

สถานที่เล่น

เล่นในแม่ย้ำลำคลอง บึง ทะเลสาบหรือบริเวณที่มีแหล่งน้ำกว้าง โดยจะกำหนดให้มีแนวยาวเป็นทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งเป็นแนวตรงและเป็นแนวยาวกั้นทั้งสองฝั่งเพื่อเป็นเส้นเริ่ม จากเส้นเริ่มเป็นระยะห่างตามแต่จะตกลงกัน (โดยมากมักแข่งกันเป็นระยะทางตั้งแต่ ๒๐๐ เมตรขึ้นไป) จะกำหนดแนวยาวโดยใช้ทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งทั้ง ๒ ด้าน เพื่อเป็นแนวเส้นชัย

วิธีเล่น

๑. เมื่อตกลงกันแล้วว่าเรือทีมใดจะแข่งกับทีมใด อาจมีจำนวนตั้งแต่ ๒ ลำขึ้นไปถึงหลายๆลำ ให้เรือแต่ละลำไปเตรียมพร้อมอยู่ที่เส้นเริ่ม หันหัวเรือไปทางเส้นชัย แต่ละลำให้มีระยะห่างกันพอสมควร

๒. เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้ผู้เล่นของเรือแต่ละลำช่วยกันพายเรือของตนไปให้ถึงเส้นชัยโดยเร็วที่สุด

๓. เรือลำใดไปถึงเส้นชัยก่อนจะเป็นผู้ชนะ

๔. บางท้องถิ่นจะใช้ธงติดทุ่นลอยไว้กลางแนวเส้นชัย เรือลำใดพายไปถึงธงและคว้าธงไว้ได้ก่อนจะเป็นผู้ชนะ

๕. บางท้องถิ่นจะใช้เรือยาว ซึ้งต้องใช้คนพายมาก ๒๐ – ๔๐ คน เรียกว่า “แข่งเรือยาว” จะมีคนหนึ่งคอยให้จังหวะในการพาย มีการตีกรับ เคาะไม้ตีกลองเป็นจังหวะ เพื่อให้ทุกคนในเรือพายโดยพร้อมเพรียงกัน เป็นที่สนุกสนานครื้นเครงโดยทั่วกัน

กติกา

๑. ก่อนเริ่มเล่นเรือทุกลำจะต้องลอยลำให้หัวเรือเสมอกันที่แนวเส้นเริ่ม

๒. ระหว่างพายแข่งขันกันห้ามผู้เล่นของเรือแต่ละลำกลั่นแกล้งเรือลำอื่น

๓. ระหว่างพายแข่งขันกัน เรือลำ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิดหนึ่งของไทยที่มีการเล่นสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณสันนิษฐานว่าน่าจะมีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยสุโขทัยเพราะการศึกสงครามในสมัยก่อนมีทั้งทางบกและทางน้ำซึ่งต้องใช้เรือเป็นพาหนะย่อมต้องมีการฝึกฝนการพายเรือแข่งเรือด้วยแต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรจากฟลักฐานพบว่ามีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยกรุงศรีอยุธยาดังปรากฏในกฏมณเฑียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่าง ๆ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจำเดือน ๑๑ ซึ่งเป็นการอาษยุชพิธีนั้นจะมีพิธีแข่งเรือด้วยนอกจากนี้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ยังได้กล่าวถึงการเล่นแข่งเรือของชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งมักมีการเล่นการพนันปะปนอยู่ด้วยและเป็นการเล่นที่นิยมกันมากในสมัยนั้นทีเดียว การเล่นแข่งเรือนับว่าเป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นสืบทอดต่อเนื่องกันมาโดยตลอดแม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็ปรากฏหลักฐานว่ามีการเล่นแข่งเรือกันเป็นประจำเสมอมาเช่นในสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อครั้งทรงโปรดให้ปรับปรุงพระราชวังมีการขุดสระภายในพระราชวังในพ.ศ. ๒๓๖๑ ก็ทรงโปรดให้มีการแข่งเรือในครั้งนั้นด้วยในสมัยรัชกาลที่ ๕ การแข่งเรือเป็นกีฬาที่เล่นกันอย่างแพร่หลายเมื่อมีชาวต่างชาติมาเยี่ยมเยือนก็ได้จัดการเล่นแข่งเรือให้พวกชาวต่างชาติชมด้วยดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งความว่า "เยนวันนี้มีกานแข่งนาวาที่กรงน่าตำหนักแพแม่น้ำใหญ่ เรือที่นั่งกราบสี่เอกไชยมาพายให้เจ้าฝรั่งเขานั่งดู" (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว ๒๔๕๖: ๑๕) การเล่นแข่งเรือคือของชาวบ้านในภาคกลางสมัยก่อนมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการทำบุญทำกุศลคือชาวบ้านจะเล่นกันในเทศกาลทอดกฐินทอดผ้าป่าซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือน ๑๐ – ๑๒ ซึ่งระยะนี้จะเป็นช่วงฤดูน้ำมากชาวบ้านที่อยู่ตามริมฝั่งแม่น้ำจะใช้เรือเป็นพาหนะเมื่อมีงานพิธีทำบุญจะมีการแห่แหนกันทางนั้นเพื่อนำองค์กฐินองค์ผ้าป่าไปยังวัดเมื่อเสร็จพิธีทางศาสนาแล้วก็จะมีการเล่นแข่งเรือกันซึ่งถือกันว่าผู้ที่ร่วมแข่งขันจะได้บุญอีกทางหนึ่งด้วยนอกจากนี้การเล่นแข่งเรือยังมีการเล่นเพื่อจุดมุ่งหมายอีกหลายประการเช่นบางท้องถิ่นจะจัดให้มีการแข่งเรือในงานทำบุญไหว้พระประจำปีของแต่ละท้องถิ่นบางแห่งจะมีการแข่งเรือเพื่อเป็นการบวงสรวงสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านนับถือบางแห่งจัดให้มีการเล่นแข่งเรือในงานเทศกาลสนุกสนานรื่นเริงต่าง ๆ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การแข่งเรือมักนิยมจัดให้มีการเล่นเฉพาะในฤดูน้ำมากเท่านั้น การเล่นแข่งเรือของชาวบ้านสมัยก่อนในภาคกลางมักจัดเป็นประเพณีประจำปี และมีการเล่นเป็นที่แพร่หลายแทบทุกจังหวัด เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ กาญจนบุรี กรุงเทพฯ จันทบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี สิงห์บุรี และนครสวรรค์ เป็นต้น ไม่เพียงแต่ภาคกลางเท่านั้นที่นิยมเล่นการแข่งเรือ แต่ภาคอื่นๆทุกๆภาค ไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ก็ล้วนมีการแข่งเรือเป็นเทศกาลสำคัญของแต่ละภาคทั้งสิ้น อาจกล่าวได้ว่าการแข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองของชาติไทยโดยแท้ก็ว่าได้เพราะมีการเล่นเป็นที่ยอมรับว่ามีความสำคัญในทุกๆภาคของประเทศ ในปัจจุบันการเล่นแข่งเรือยังมีเล่นกันอยู่โดยทั่วไป โอกาสที่เล่น เล่นกันในโอกาสงานทำบุญต่าง ๆ เช่นงานเข้าพรรษางานออกพรรษาทอดกฐินทอดผ้าป่างานไหว้พระและงานรื่นเริงต่าง ๆ มักจัดให้มีการแข่งเรือกันในช่วงฤดูน้ำมากโดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไปและจัดกันมากขึ้นในช่วงราวเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม ผู้เล่น เล่นได้ทั้งชายและหญิงส่วนมากจะเล่นกันในหมู่ผู้ใหญ่โดยจะจัดผู้เล่นเป็นชุดหรือเป็นทีมประจำเรือแต่ละลำจำนวนผู้เล่นแต่ละทีมจะมากน้อยแล้วแต่ละจะตกลงกันและขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่จะใช้แข่งขันแต่มักจัดผู้เล่นแต่ละทีมให้มีจำนวนผู้เล่นทั้งหญิงและชายพอๆกันบางท้องที่อาจจัดแข่งขันในระหว่างทีมชายกับทีมหญิงซึ่งฝ่ายทีมชายมักจะต่อจำนวนให้ผู้เล่นทีมหญิงมีจำนวนมากกว่าเป็นต้นนิยมเล่นทีมละตั้งแต่ ๒ – ๓ คนขึ้นไป อุปกรณ์การเล่น ๑. เรือพายที่มีขนาดเล็กใหญ่ตามแต่จะตกลงกัน ชนิดของเรือที่ใช้แข่งขันกันมีหลายประเภท เช่น เรือแจว เรือบด เรือเพรียว เรือเข็ม เรือยาว เรือเผ่นม้า เรือมาด และเรือสำปั้น เป็นต้น มักจะใช้เรือที่มีชนิดและประเภทเดียวกันเข้าแข่งขันกัน จำนวนทีมละ ๑ ลำ ๒. พายสำหรับใช้พายเรือ มีขนาดใกล้เคียงกัน คนละ ๑ อัน สถานที่เล่น เล่นในแม่ย้ำลำคลอง บึง ทะเลสาบหรือบริเวณที่มีแหล่งน้ำกว้าง โดยจะกำหนดให้มีแนวยาวเป็นทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งเป็นแนวตรงและเป็นแนวยาวกั้นทั้งสองฝั่งเพื่อเป็นเส้นเริ่ม จากเส้นเริ่มเป็นระยะห่างตามแต่จะตกลงกัน (โดยมากมักแข่งกันเป็นระยะทางตั้งแต่ ๒๐๐ เมตรขึ้นไป) จะกำหนดแนวยาวโดยใช้ทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งทั้ง ๒ ด้าน เพื่อเป็นแนวเส้นชัย วิธีเล่น ๑. เมื่อตกลงกันแล้วว่าเรือทีมใดจะแข่งกับทีมใด อาจมีจำนวนตั้งแต่ ๒ ลำขึ้นไปถึงหลายๆลำ ให้เรือแต่ละลำไปเตรียมพร้อมอยู่ที่เส้นเริ่ม หันหัวเรือไปทางเส้นชัย แต่ละลำให้มีระยะห่างกันพอสมควร ๒. เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้ผู้เล่นของเรือแต่ละลำช่วยกันพายเรือของตนไปให้ถึงเส้นชัยโดยเร็วที่สุด ๓. เรือลำใดไปถึงเส้นชัยก่อนจะเป็นผู้ชนะ ๔. บางท้องถิ่นจะใช้ธงติดทุ่นลอยไว้กลางแนวเส้นชัย เรือลำใดพายไปถึงธงและคว้าธงไว้ได้ก่อนจะเป็นผู้ชนะ ๕. บางท้องถิ่นจะใช้เรือยาว ซึ้งต้องใช้คนพายมาก ๒๐ – ๔๐ คน เรียกว่า “แข่งเรือยาว” จะมีคนหนึ่งคอยให้จังหวะในการพาย มีการตีกรับ เคาะไม้ตีกลองเป็นจังหวะ เพื่อให้ทุกคนในเรือพายโดยพร้อมเพรียงกัน เป็นที่สนุกสนานครื้นเครงโดยทั่วกัน กติกา ๑. ก่อนเริ่มเล่นเรือทุกลำจะต้องลอยลำให้หัวเรือเสมอกันที่แนวเส้นเริ่ม ๒. ระหว่างพายแข่งขันกันห้ามผู้เล่นของเรือแต่ละลำกลั่นแกล้งเรือลำอื่น ๓. ระหว่างพายแข่งขันกัน เรือลำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ซึ่งต้องใช้เรือเป็นพาหนะย่อมต้องมีการฝึกฝนการพายเรือ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจำเดือน 11 นอกจากนี้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ เช่นในสมัยรัชกาลที่ 2 มีการขุดสระภายในพระราชวังใน พ.ศ. 2361 ในสมัยรัชกาลที่ 5 2456: คือชาวบ้านจะเล่นกันในเทศกาลทอดกฐินทอดผ้าป่าซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือน 10-12 ซึ่งระยะนี้จะเป็นช่วงฤดูน้ำมาก องค์ผ้าป่าไปยังวัด เช่น เป็นต้นอย่างไรก็ตาม เช่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ราชบุรีสมุทรสงครามสมุทรสาครสมุทรปราการกาญจนบุรีกรุงเทพฯจันทบุรีอ่างทองสุพรรณบุรีสิงห์บุรีและนครสวรรค์เป็นต้น แต่ภาคอื่น ๆ ทุกๆภาคไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ เช่นงานเข้าพรรษางานออกพรรษาทอดกฐินทอดผ้าป่างานไหว้พระและงานรื่นเริงต่างๆ ส่วนมากจะเล่นกันในหมู่ผู้ใหญ่ เป็นต้นนิยมเล่นทีมละตั้งแต่ 2-3 ขึ้นไปคนอุปกรณ์หัวเรื่อง: การเล่น1 เช่นเรือแจวเรือบดเรือเพรียวเรือเข็มเรือยาวเรือเผ่นม้าเรือมาดและเรือสำปั้นเป็นต้น จำนวนทีมละ 1 ลำ2 พายสำหรับใช้พายเรือมีขนาดใกล้เคียงกันคนละ 1 อันสถานที่เล่นเล่นในแม่ย้ำลำคลองบึง 200 เมตรขึ้นไป) 2 เพื่อเป็นด้านแนวเส้นชัยวิธีเล่น1 อาจมีจำนวนตั้งแต่ 2 ลำขึ้นไปถึงหลาย ๆ ลำ หันหัวเรือไปทางเส้นชัยแต่ละลำให้มีระยะห่างกันพอสมควร2 เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มแข่งขัน บางท้องถิ่นจะใช้เรือยาวซึ้งต้องใช้คนพายมาก 20 - 40 คนเรียกว่า "แข่งเรือยาว" จะมีคนหนึ่งคอยให้จังหวะในการพายมีการตีกรับเคาะไม้ตีกลองเป็นจังหวะ ระหว่างพายแข่งขันกันเรือลำ

















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ชนิดหนึ่งของไทยที่มีการเล่นสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณสันนิษฐานว่าน่าจะมีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยสุโขทัยเพราะการศึกสงครามในสมัยก่อนมีทั้งทางบกและทางน้ำย่อมต้องมีการฝึกฝนการพายเรือแข่งเรือด้วยแต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรจากฟลักฐานพบว่ามีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยกรุงศรีอยุธยาดังปรากฏในกฏมณเฑียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจำเดือน๑๑ซึ่งเป็นการอาษยุชพิธีนั้นจะมีพิธีแข่งเรือด้วยนอกจากนี้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ยังได้กล่าวถึงการเล่นแข่งเรือของชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเล่นแข่งเรือนับว่าเป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นสืบทอดต่อเนื่องกันมาโดยตลอดแม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็ปรากฏหลักฐานว่ามีการเล่นแข่งเรือกันเป็นประจำเสมอมาเช่นในสมัยรัชกาลที่๒มีการขุดสระภายในพระราชวังในพ .ศ .๒๓๖๑ก็ทรงโปรดให้มีการแข่งเรือในครั้งนั้นด้วยในสมัยรัชกาลที่๕การแข่งเรือเป็นกีฬาที่เล่นกันอย่างแพร่หลายเมื่อมีชาวต่างชาติมาเยี่ยมเยือนก็ได้จัดการเล่นแข่งเรือให้พวกชาวต่างชาติชมด้วย
" เยนวันนี้มีกานแข่งนาวาที่กรงน่าตำหนักแพแม่น้ำใหญ่

เรือที่นั่งกราบสี่เอกไชยมาพายให้เจ้าฝรั่งเขานั่งดู "

( พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว๒๔๕๖ :

, ๑๕ )การเล่นแข่งเรือคือของชาวบ้านในภาคกลางสมัยก่อนมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการทำบุญทำกุศลความชาวบ้านจะเล่นกันในเทศกาลทอดกฐินทอดผ้าป่าซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือน๑๐–๑๒ซึ่งระยะนี้จะเป็นช่วงฤดูน้ำมากองค์ผ้าป่าไปยังวัดเมื่อเสร็จพิธีทางศาสนาแล้วก็จะมีการเล่นแข่งเรือกันซึ่งถือกันว่าผู้ที่ร่วมแข่งขันจะได้บุญอีกทางหนึ่งด้วยนอกจากนี้การเล่นแข่งเรือยังมีการเล่นเพื่อจุดมุ่งหมายอีกหลายประการเช่นบางแห่งจะมีการแข่งเรือเพื่อเป็นการบวงสรวงสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านนับถือบางแห่งจัดให้มีการเล่นแข่งเรือในงานเทศกาลสนุกสนานรื่นเริงต่างๆเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: