การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ Ulva intes การแปล - การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ Ulva intes ไทย วิธีการพูด

การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะแล

การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ Ulva intestinalis ประกอบด้วย สภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในต้นพันธุ์จากแหล่งธรรมชาติที่แตกต่างกัน การเหนี่ยวนำให้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ และการกระตุ้นให้ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ และการเลือกชนิดของวัสดุที่เหมาะสมกับการเกาะของเซลล์สืบพันธุ์ และรูปแบบการเลี้ยงในบ่อซิเมนต์และในบ่อดิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ได้อย่างต่อเนื่อง การศึกษาสภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของสาหร่ายไส้ไก่ที่เก็บจาก 4 แหล่ง ได้แก่ บ่อดิน บ่อซิเมนต์ อ่าวปัตตานี และห้องปฏิบัติการ พบว่า รูปแบบการสร้างเซลล์สืบพันธุ์สัมพันธ์กับลักษณะและแหล่งที่พบสาหร่าย การสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบผสมทั้งสองแบบในต้นเดียวกันสัมพันธ์เชิงบวกกับความกว้างของแทลลัส ส่วนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบมีเพศ หรือแกมีต สัมพันธ์แบบผกผันกับค่าความเป็นด่างและแสง แต่มีสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ ความยาวของแทลลัส สำหรับการเหนี่ยวนำการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยใช้ปัจจัยกระตุ้น 5 ปัจจัย ประกอบด้วย ขนาดท่อนพันธุ์ การผึ่งลม อุณหภูมิ ความเค็ม และ การเติมสาร CaCl2 ทีละปัจจัย จากใช้ขนาดความยาวท่อนพันธุ์ 5 ระดับ คือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 3.0 ซม. การผึ่งแห้ง 4 ระดับ คือ 0, 1, 2 และ 3 ชั่วโมง 2 อุณหภูมิ 3 ระดับ คือ 25, 30 และ 35 °C 5 ระดับ และความเค็ม 5 ระดับ คือ 10, 15, 20, 25 และ 30 ppt พบว่า ความยาวท่อนพันธุ์ 0.5-3.0 เซนติเมตร ไม่มีผลต่อการสร้างอับซูโอสปอร์ ส่วนการผึ่งแห้งพบว่าที่เวลา 0 ชม.หรือการไม่ผึ่งแห้ง สร้างอับสปอร์ได้ร้อยละ 97±2 ในเวลา 4 วัน และมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p0.05) โดยที่การให้แสง 20 µmol m-2 s-1 ให้จำนวนสปอร์มากที่สุด คือ 10.10±0.24 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด ส่วนปัจจัยด้านการผึ่งแห้งพบว่าที่ระดับการผึ่งแห้ง 0-3 ชั่วโมง ได้จำนวนสปอร์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p>0.05) โดยที่การผึ่งแห้ง 1 ชั่วโมง ให้จำนวนสปอร์สูงกว่าที่เวลาอื่น ๆ ของการผึ่งแห้งที่ 9.91±1.01 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด
การเกาะของสปอร์ใช้วัสดุเกาะแตกต่างกัน 3 ชนิด ได้แก่ แผ่นพลาสติกรังผึ้งขนาดตา 1 ตา อวนขนาดตา 2 ซม. และเชือกโพลีเอทธีลีนเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร พันกรอบสี่เหลี่ยม ขนาด 30x50 ตารางเซนติเมตร ใช้ดักสปอร์ในถังพลาสติกสี่เหลี่ยมปริมาตรน้ำ 150 ลิตร ที่สภาวะกลางแจ้ง มีสปอร์ว่ายอยู่ในมวลน้ำที่ระดับความหนาแน่น 33 ล้าน สปอร์ต่อมิลลิลิตร ทำการสุ่มตัวอย่างสปอร์ที่ระดับความสูงทุก 10 เซนติเมตร บน กลาง และล่างของกรอบสี่เหลี่ยมพบว่า สปอร์เริ่มเกาะวัสดุทั้ง 3 ชนิดตั้งแต่วันที่ 1 และเกาะมากที่สุดในวันที่ 9 ของการเลี้ยง โดยการเกาะของสปอร์รวมบนวัสดุทั้ง 3 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยเชือกมีความหนาแน่นสปอร์มากที่สุด ถึง 1.4±1.7x109 สปอร์/ตารางเซนติเมตร รองลงมาคืออวน และพลาสติกมีความหนาแน่นของสปอร์ถึง 1.1±0.0X109 สปอร์/ตารางเซนติเมตร และ 0.8±0.1X109 สปอร์/ตารางเซนติเมตรตามลำดับ สำหรับระดับการเกาะของสปอร์ พบว่ามีปริมาณสปอร์เกาะที่ระดับบนมากที่สุด
การเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ในบ่อซีเมนต์ จากการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ ในบ่อซีเมนต์ ที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์ เริ่มต้นขนาด 2.9±0.3 ในความหนาแน่น 25000, 37500 และ 50000 ต้นต่อตร.ม. หรือ น้ำหนักเริ่มต้น เท่ากับ 3, 6 และ 9 กรัม เมื่อเลี้ยงไป 3 สัปดาห์ พบว่า 50000 ต้นต่อตร.ม. มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด โดยคิดเป็นการเพิ่มของน้ำหนัก ร้อยละ 14,398±14,713 และเป็นการเพิ่มของความยาว 123±77 ซึ่งเป็นอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะโดยน้ำหนักเท่ากับ 23.7±0.1 g ต่อวัน และ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะโดยความยาวเท่ากับ 11.0±5.0 ซม. ต่อ วัน ซึ่งทั้งหมดไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ กับที่ความหนาแน่น 37500 ต้นต่อตร.ม. สำหรับการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ ในบ่อดิน ที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์ เริ่มต้นขนาด 3±0 กรัมต่อตร.ม. หรือ น้ำหนักเริ่มต้น เท่ากับ 2.9±0.4 กรัม เมื่อเลี้ยงไป 6 สัปดาห์ เกาะวัสดุเชือกพีอี พลาสติกรังผึ้ง และอวนไนล่อน พบว่า มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด 91±15, 67±16 และ 34±2 กรัมต่อตร.ม. และมีความยาวเพิ่มขึ้น เท่ากับ13.2±1.0, 10.5±1.1, 6.2±1.4 เซนติเมตร โดยมีการเพิ่มของน้ำหนัก ร้อยละ 1,360±238, 974±257 และ 438±31ตามลำดับ และเป็นการเพิ่มของความยาวร้อยละ 955±25, 863±85 และ 491±76 ตามลำดับ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะต่อวัน โดยน้ำหนักร้อยละ 8.5±0.4, 7.8±0.6 และ 6.2±0.1และ 11.0±5.0 g ต่อวัน และ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะต่อวัน โดยความยาวร้อยละเท่ากับ 5.8±3.0, -7.1±0.8 และ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ Ulva intestinalis ประกอบด้วย สภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในต้นพันธุ์จากแหล่งธรรมชาติที่แตกต่างกัน การเหนี่ยวนำให้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ และการกระตุ้นให้ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ และการเลือกชนิดของวัสดุที่เหมาะสมกับการเกาะของเซลล์สืบพันธุ์ และรูปแบบการเลี้ยงในบ่อซิเมนต์และในบ่อดิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ได้อย่างต่อเนื่อง การศึกษาสภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของสาหร่ายไส้ไก่ที่เก็บจาก 4 แหล่ง ได้แก่ บ่อดิน บ่อซิเมนต์ อ่าวปัตตานี และห้องปฏิบัติการ พบว่า รูปแบบการสร้างเซลล์สืบพันธุ์สัมพันธ์กับลักษณะและแหล่งที่พบสาหร่าย การสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบผสมทั้งสองแบบในต้นเดียวกันสัมพันธ์เชิงบวกกับความกว้างของแทลลัส ส่วนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบมีเพศ หรือแกมีต สัมพันธ์แบบผกผันกับค่าความเป็นด่างและแสง แต่มีสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ ความยาวของแทลลัส สำหรับการเหนี่ยวนำการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยใช้ปัจจัยกระตุ้น 5 ปัจจัย ประกอบด้วย ขนาดท่อนพันธุ์ การผึ่งลม อุณหภูมิ ความเค็ม และ การเติมสาร CaCl2 ทีละปัจจัย จากใช้ขนาดความยาวท่อนพันธุ์ 5 ระดับ คือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 3.0 ซม. การผึ่งแห้ง 4 ระดับ คือ 0, 1, 2 และ 3 ชั่วโมง 2 อุณหภูมิ 3 ระดับ คือ 25, 30 และ 35 °C 5 ระดับ และความเค็ม 5 ระดับ คือ 10, 15, 20, 25 และ 30 ppt พบว่า ความยาวท่อนพันธุ์ 0.5-3.0 เซนติเมตร ไม่มีผลต่อการสร้างอับซูโอสปอร์ ส่วนการผึ่งแห้งพบว่าที่เวลา 0 ชม.หรือการไม่ผึ่งแห้ง สร้างอับสปอร์ได้ร้อยละ 97±2 ในเวลา 4 วัน และมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) กับที่เวลาการผึ่งแห้ง 1, 2 และ 3 ชม. ในวันที่ 2 ของการกระตุ้น ที่ โดยสร้างได้ร้อยละ 98±2 5 -100±0 ในเวลา 4 วัน อุณหภูมิ 25°C ทำให้เกิดการสร้างอับซูโอสปอร์ได้มากที่สุดคือร้อยละ 100±0 ในวันที่ 4 สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเทียบกับอุณหภูมิอื่น โดยระดับความเค็ม 15-30 ppt สามารถสร้างอับซูโอสปอร์ได้ร้อยละ 100±0 ส่วนการเติมสารละลายของแคลเซียมไอออนโดยการเติมสารละลายของ CaCl2 6 และ 18 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีการสร้างอับซูโอสปอร์มากที่สุดร้อยละ 100±0 ในวันที่ 2 ซึ่งร้อยละการสร้างไม่แตกต่างกับการเติม CaCl2 12 มิลลิกรัมต่อลิตรการกระตุ้นให้ปล่อยซูโอสปอร์ใช้ปัจจัยกระตุ้น 3 ปัจจัยประกอบด้วย 1) ความเค็ม 5 ระดับคือ 5, 10, 15, 20 และ 25 ppt 2) การได้รับแสงความเข้มแสง 20, 80, 100 และ 150 µmol m-2s-1 และ 3) การผึ่งแห้งที่เวลา 0, 1, 2 และ 3 ชั่วโมง พบว่าที่ระดับความเค็ม 5-25 ppt มีปริมาณการปล่อยสปอร์ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p>0.05) โดยที่ความเค็ม 25 ppt ปล่อยสปอร์ได้มากที่สุดจำนวน 12.16±0.37 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด ส่วนการนำต้นพันธุ์ไปกระตุ้นด้วยระดับความเข้มแสงต่าง ๆ เป็นเวลา 3 ชั่วโมง พบว่าทุกระดับความเข้มแสงช่วง 20-150 µmol m-2 s-1 ได้จำนวนสปอร์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p>0.05) โดยที่การให้แสง 20 µmol m-2 s-1 ให้จำนวนสปอร์มากที่สุด คือ 10.10±0.24 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด ส่วนปัจจัยด้านการผึ่งแห้งพบว่าที่ระดับการผึ่งแห้ง 0-3 ชั่วโมง ได้จำนวนสปอร์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p>0.05) โดยที่การผึ่งแห้ง 1 ชั่วโมง ให้จำนวนสปอร์สูงกว่าที่เวลาอื่น ๆ ของการผึ่งแห้งที่ 9.91±1.01 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด การเกาะของสปอร์ใช้วัสดุเกาะแตกต่างกัน 3 ชนิด ได้แก่ แผ่นพลาสติกรังผึ้งขนาดตา 1 ตา อวนขนาดตา 2 ซม. และเชือกโพลีเอทธีลีนเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร พันกรอบสี่เหลี่ยม ขนาด 30x50 ตารางเซนติเมตร ใช้ดักสปอร์ในถังพลาสติกสี่เหลี่ยมปริมาตรน้ำ 150 ลิตร ที่สภาวะกลางแจ้ง มีสปอร์ว่ายอยู่ในมวลน้ำที่ระดับความหนาแน่น 33 ล้าน สปอร์ต่อมิลลิลิตร ทำการสุ่มตัวอย่างสปอร์ที่ระดับความสูงทุก 10 เซนติเมตร บน กลาง และล่างของกรอบสี่เหลี่ยมพบว่า สปอร์เริ่มเกาะวัสดุทั้ง 3 ชนิดตั้งแต่วันที่ 1 และเกาะมากที่สุดในวันที่ 9 ของการเลี้ยง โดยการเกาะของสปอร์รวมบนวัสดุทั้ง 3 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยเชือกมีความหนาแน่นสปอร์มากที่สุด ถึง 1.4±1.7x109 สปอร์/ตารางเซนติเมตร รองลงมาคืออวน และพลาสติกมีความหนาแน่นของสปอร์ถึง 1.1±0.0X109 สปอร์/ตารางเซนติเมตร และ 0.8±0.1X109 สปอร์/ตารางเซนติเมตรตามลำดับ สำหรับระดับการเกาะของสปอร์ พบว่ามีปริมาณสปอร์เกาะที่ระดับบนมากที่สุด
การเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ในบ่อซีเมนต์ จากการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ ในบ่อซีเมนต์ ที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์ เริ่มต้นขนาด 2.9±0.3 ในความหนาแน่น 25000, 37500 และ 50000 ต้นต่อตร.ม. หรือ น้ำหนักเริ่มต้น เท่ากับ 3, 6 และ 9 กรัม เมื่อเลี้ยงไป 3 สัปดาห์ พบว่า 50000 ต้นต่อตร.ม. มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด โดยคิดเป็นการเพิ่มของน้ำหนัก ร้อยละ 14,398±14,713 และเป็นการเพิ่มของความยาว 123±77 ซึ่งเป็นอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะโดยน้ำหนักเท่ากับ 23.7±0.1 g ต่อวัน และ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะโดยความยาวเท่ากับ 11.0±5.0 ซม. ต่อ วัน ซึ่งทั้งหมดไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ กับที่ความหนาแน่น 37500 ต้นต่อตร.ม. สำหรับการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ ในบ่อดิน ที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์ เริ่มต้นขนาด 3±0 กรัมต่อตร.ม. หรือ น้ำหนักเริ่มต้น เท่ากับ 2.9±0.4 กรัม เมื่อเลี้ยงไป 6 สัปดาห์ เกาะวัสดุเชือกพีอี พลาสติกรังผึ้ง และอวนไนล่อน พบว่า มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด 91±15, 67±16 และ 34±2 กรัมต่อตร.ม. และมีความยาวเพิ่มขึ้น เท่ากับ13.2±1.0, 10.5±1.1, 6.2±1.4 เซนติเมตร โดยมีการเพิ่มของน้ำหนัก ร้อยละ 1,360±238, 974±257 และ 438±31ตามลำดับ และเป็นการเพิ่มของความยาวร้อยละ 955±25, 863±85 และ 491±76 ตามลำดับ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะต่อวัน โดยน้ำหนักร้อยละ 8.5±0.4, 7.8±0.6 และ 6.2±0.1และ 11.0±5.0 g ต่อวัน และ มีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะต่อวัน โดยความยาวร้อยละเท่ากับ 5.8±3.0, -7.1±0.8 และ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
intestinalis อัลวาประกอบด้วย 4 แหล่ง ได้แก่ บ่อดินบ่อซิเมนต์ อ่าวปัตตานีและห้องปฏิบัติการพบว่า หรือแกมีต แต่มีสัมพันธ์ในเชิงบวกกับความ ยาวของแทลลัส โดยใช้ปัจจัยกระตุ้น 5 ปัจจัยประกอบด้วยขนาดท่อนพันธุ์การผึ่งลม อุณหภูมิความเค็มและการเติมสาร CaCl2 ทีละปัจจัยจากใช้ขนาดความยาว ท่อนพันธุ์ 5 ระดับคือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 3.0 ซม การผึ่งแห้ง 4 ระดับคือ 0, 1, 2 และ 3 ชั่วโมง 2 อุณหภูมิ 3 ระดับคือ 25, 30 และ 35 องศาเซลเซียส 5 ระดับและความเค็ม 5 ระดับคือ 10, 15, 20, 25 และ 30 PPT พบว่าความยาวท่อนพันธุ์ 0.5-3.0 เซนติเมตรไม่มีผลต่อการสร้างอับซู โอสปอร์ส่วนการผึ่งแห้งพบว่าที่เวลา 0 ชม. หรือการไม่ผึ่งแห้งสร้างอับส ปอร์ได้ร้อยละ 97 ± 2 ในเวลา 4 วัน (p <0.05) กับที่เวลาการผึ่งแห้ง 1, 2 และ 3 ชม ในวันที่ 2 ของการกระตุ้นที่โดยสร้างได้ร้อย ละ 98 ± 2 5 -100 ± 0 ในเวลา 4 วันอุณหภูมิ 25 ° C 100 ± 0 ในวันที่ 4 สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) เมื่อเทียบกับอุณหภูมิอื่นโดยระดับความ เค็ม 15-30 ppt ที่สามารถสร้างอับซูโอสปอร์ ได้ร้อยละ 100 ± 0 CaCl2 6 และ 18 มิลลิกรัมต่อลิตร 100 ± 0 ในวันที่ 2 CaCl2 12
3 ปัจจัยประกอบด้วย 1) ความเค็ม 5 ระดับคือ 5, 10, 15, 20 และ 25 PPT 2) การได้รับแสงความเข้มแสง 20, 80, 100 และ 150 ไมโครโมล M-2s-1 และ 3) การผึ่งแห้งที่เวลา 0, 1, 2 และ 3 ชั่วโมงพบว่าที่ระดับความเค็ม 5-25 PPT มีปริมาณการปล่อยสปอร์ไม่มี ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p> 0.05) โดยที่ความเค็ม 25 พีพีทีปล่อยสปอร์ได้มาก ที่สุดจำนวน 12.16 ± 0.37 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด ๆ เป็นเวลา 3 ชั่วโมงพบว่าทุกระดับความเข้มแสง ช่วง 20-150 ไมโครโมล M-2 S-1 (p> 0.05) โดยที่การให้แสง 20 ไมโครโมล M-2 S-1 ให้จำนวนสปอร์มากที่สุดคือ 10.10 ± 0.24 ล้านสปอร์ต่อกรัมน้ำหนักสด 0-3 ชั่วโมง (p> 0.05) โดยที่การผึ่งแห้ง 1 ชั่วโมงให้จำนวนสปอร์สูงกว่า ที่เวลาอื่น ๆ ของการผึ่งแห้งที่ 9.91 ± 1.01
3 ชนิด ได้แก่ แผ่นพลาสติกรังผึ้งขนาดตา 1 ตาอวนขนาดตา 2 ซม 4 มิลลิเมตรพันกรอบสี่เหลี่ยมขนาด 30x50 ตารางเซนติเมตร 150 ลิตรที่สภาวะกลางแจ้ง 33 ล้านสปอร์ต่อมิลลิลิตร 10 เซนติเมตรบนกลางและล่างของกรอบสี่เหลี่ยม พบว่าสปอร์เริ่มเกาะวัสดุทั้ง 3 ชนิดตั้งแต่วันที่ 1 และเกาะมากที่สุดในวันที่ 9 ของการเลี้ยงโดยการเกาะของส ปอร์รวมบนวัสดุทั้ง 3 (p> 0.05) ถึง 1.4 ± 1.7x109 สปอร์ / ตารางเซนติเมตรรองลงมาคืออวน 1.1 ± 0.0X109 สปอร์ / ตารางเซนติเมตรและ 0.8 ± 0.1X109 สปอร์ / ตารางเซนติเมตรตามลำดับสำหรับระดับการเกาะ ของสปอร์
จากการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ในบ่อ ซีเมนต์ที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์เริ่มต้นขนาด 2.9 ± 0.3 ในความหนาแน่น 25000, 37500 และ 50000 ต้นต่อตร. ม หรือน้ำหนักเริ่มต้นเท่ากับ 3, 6 และ 9 กรัมเมื่อเลี้ยงไป 3 สัปดาห์พบว่า 50000 ต้นต่อตร. ม มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุดโดยคิด เป็นการเพิ่มของน้ำหนักร้อยละ 14,398 ± 14,713 และเป็นการเพิ่มของความยาว 123 ± 77 23.7 ± 0.1 กรัมต่อวันและ 11.0 ± 5.0 ซม ต่อวัน กับที่ความหนาแน่น 37,500 ต้นต่อตร. ม สำหรับการทดลองเลี้ยงสาหร่ายไส้ไก่ในบ่อ ดินที่เลี้ยงโดยใช่ต้นพันธุ์เริ่มต้นขนาด 3 ± 0 กรัมต่อตร. ม หรือน้ำหนักเริ่มต้นเท่ากับ 2.9 ± 0.4 กรัมเมื่อเลี้ยงไป 6 สัปดาห์เกาะวัสดุเชือกพีอีพลาสติกรังผึ้ง และอวนไนล่อนพบว่ามีน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด 91 ± 15, 67 ± 16 และ 34 ± 2 กรัมต่อตร ม และมีความยาวเพิ่มขึ้นเท่ากับ 13.2 ± 1.0, 10.5 ± 1.1, 6.2 ± 1.4 เซนติเมตรโดยมีการเพิ่มของน้ำหนักร้อย ละ 1,360 ± 238, 974 ± 257 และ 438 ± 31 ตามลำดับและเป็นการเพิ่มของความยาว ร้อยละ 955 ± 25 863 ± 85 และ 491 ± 76 ตามลำดับมีอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ ต่อวันโดยน้ำหนักร้อยละ 8.5 ± 0.4, 7.8 ± 0.6 และ 6.2 ± 0.1 และ 11.0 ± 5.0 กรัมต่อวันและมีอัตราการเจริญเติบโต จำเพาะต่อวัน โดยความยาวร้อยละเท่ากับ 5.8 ± 3.0 -7.1 ± 0.8 และ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาตัวแบบที่เหมาะสมในการเพาะและขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่อัลวา intestinalis ประกอบด้วยสภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในต้นพันธุ์จากแหล่งธรรมชาติที่แตกต่างกันการเหนี่ยวนำให้สร้างเซลล์สืบพันธุ์และการกระตุ้นให้ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์และการเลือกชนิดของวัสดุที่เหมาะสมกับก ารเกาะของเซลล์สืบพันธุ์และรูปแบบการเลี้ยงในบ่อซิเมนต์และในบ่อดินเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการขยายพันธุ์สาหร่ายไส้ไก่ได้อย่างต่อเนื่องการศึกษาสภาวะการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของสาหร่ายไส้ไก่ที่เก็บจาก 4 แหล่งได้แก่บ่อดินบ่อซิเมนต์อ่าวปัตตานีและห้องปฏิบัต ิการพบว่ารูปแบบการสร้างเซลล์สืบพันธุ์สัมพันธ์กับลักษณะและแหล่งที่พบสาหร่ายการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบผสมทั้งสองแบบในต้นเดียวกันสัมพันธ์เชิงบวกกับความกว้างของแทลลัสส่วนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบมีเพศหรือแกมีตสัมพันธ์แบบผกผันกับค่าความเป็นด่างและแสง A มีสัมพันธ์ในเชิงบวกกับความยาวของแทลลัสสำหรับการเหนี่ยวนำการสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดยใช้ปัจจัยกระตุ้น 5 ปัจจัยประกอบด้วยขนาดท่อนพันธุ์การผึ่งลมอุณหภูมิความเค็มและการเติมสาร CaCl2 ทีละปัจจัยจากใช้ขนาดความยาวท่อนพันธุ์ 5 ระดับความ 0.5 , 1.0 , 1.5 , 2.0 และ 3.0 ซม . ระดับความการผึ่งแห้ง 4 0 , 1 , 2 และ 3 ชั่วโมง 2 อุณหภูมิ 3 ระดับความและ 25 30 35 ° C 5 ระดับและความเค็ม 5 ระดับความ 10 , 15 , 20 , 25 และ 30 ppt พบว่าความยาวท่อนพันธุ์ 0.5-3.0 เซนติเมตรไม่มีผลต่อการสร้างอับซูโอสปอร์ส่วนการผึ่งแห้งพบว่าที่เวลา 0 ชม . หรือการไม่ผึ่งแห้งสร้างอับสปอร์ได้ร้อยละ 97 ± 2 ในเวลา 4 และได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P < 0.05 ) กับที่เวลาการผึ่งแห้ง 1 , 2 และ 3 ชม . ในวันที่ 2 ของการกระตุ้นที่โดยสร้างได้ร้อยละ 98 ± 2 5 - 100 ± 0 ในเวลา 4 อุณหภูมิ 25 ° C ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าทำให้เกิดการสร้างอับซูโอสปอร์ได้มากที่สุดคือร้อยละ 100 ± 0 ในวันที่ 4 สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P < 0.05 ) เมื่อเทียบกับอุณหภูมิอื่นโดยระดับความเค็ม 15-30 ppt สามารถสร้างอับซูโอสปอร์ได้ร้อยละ 100 ± 0 ส่วนกา รเติมสารละลายของแคลเซียมไอออนโดยการเติมสารละลายของ CaCl2 6 และ 18 มิลลิกรัมต่อลิตรส่งผลให้มีการสร้างอับซูโอสปอร์มากที่สุดร้อยละ 10
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: