การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างเครือข่ การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างเครือข่ ไทย วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างเครือข่ายการให้บริการสุขภาพของประเทศ ๒) เพื่อศึกษาระบบการบริการสุขภาพแก่พระสงฆ์ของโรงพยาบาลอำเภอบางปลาม้าและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในอำเภอบางปลาม้า ๓) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการสร้างเครือข่ายการให้บริการสุขภาพแก่พระสงฆ์ของโรงพยาบาลอำเภอบางปลาม้าและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในอำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และสังเกตการณ์จากบริบทต่างๆ ของโรงพยาบาล
ซึ่งการวิจัยครั้งนี้พบว่า ๑) ในปัจจุบันได้เน้นการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิเป็นหลัก เพื่อไม่ให้เกิดความแออัดในโรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลจังหวัดให้มีมาก และหน่วยบริการปฐมภูมิ มีแนวโน้มในด้านการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการดำเนินการจำนวนเพิ่มขึ้น ทำให้แนวโน้มเงินบำรุงของหน่วยบริการเพิ่มมากขึ้น แต่ก็ยังพบว่าการจัดการสนับสนุนนี้ไม่สม่ำเสมอในแต่ละเครือข่าย และแตกต่างกันในแต่ละจังหวัด แต่ละภูมิภาค ๒) ระบบบริการสุขภาพเป็นระบบที่จัดบริการสุขภาพในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษายาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างผสมผสานแก่ประชาชน รัฐมีหน้าที่กำกับดูแลให้ระบบมีความเป็นธรรม ทั่วถึง มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ซึ่งระบบบริการสุขภาพประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆ ซึ่งแต่ละระบบมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กัน การที่ภาครัฐจัดให้มีบริการหลายระดับ ทำให้โอกาสในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่มีความซับซ้อนที่จัดโดยบริการในระดับที่สูงขึ้นลดลง ซึ่งข้อเท็จจริง คือ บริการสุขภาพแต่ละระดับเชื่อมโยงกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) หากระบบส่งต่อมีประสิทธิภาพ ปัญหาการเข้าถึงบริการในระดับที่สูงขึ้นก็จะหมดไป ระบบบริการสุขภาพจึงสามารถจัดแบ่งได้หลายระดับ โดยในแต่ละระดับจะมีจำนวนประชากรที่รับผิดชอบแตกต่างกัน มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน และเชื่อมโยงกันด้วยระบบส่งต่อ เพื่อให้สามารถจัดบริการสุขภาพที่ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ๓) ปัจจุบันมีความจำเป็นในการพัฒนาการจัดระบบในรูปแบบเครือข่าย แทนการขยายโรงพยาบาล โดยใช้หลักการที่สามารถเชื่อมโยงบริการทั้ง ๓ ระดับเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามสภาพข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์และการคมนาคม โดยไม่มีเส้นแบ่งของการปกครองหรือการแบ่งเขตตรวจราชการ เป็นตัวขวางกั้น ทั้งนี้ในการพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการ เพื่อให้โรงพยาบาลแต่ละแห่งเติบโตอย่างมีทิศทาง มีภารกิจหน้าที่ชัดเจน มีจังหวะก้าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกันภายในเครือข่าย ซึ่งโรงพยาบาลแม่ข่าย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่สาธารณะสุข อาสาสมัครสาธารณะสุข ร่วมทั้งเครือข่ายภาคีมีภารระในการพัฒนาการให้บริการสุขภาพทำร่วม คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการรักษาพยาบาล ด้านการควบคุมป้องกันโรค ด้านการฟื้นฟูสภาพ
ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า ในปัจจุบันภาครัฐมีการใส่ใจ และทุ่มเทในเรื่องสุขภาพมากขึ้น มี
จัดการบริการสุขภาพในเชิงรุก ตลอดจนการพัฒนาส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพแบบองค์ร่วม ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชน ส่วนในด้านการส่งเสริมสุขภาพนั้นควรที่จะมีการจัดรูปแบบในการดำเนินงานแบบต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ คือ ไม่ทำงานเฉพาะในช่วงที่ต้องส่งผลงานเท่านั้น ยังต้องทำงานอย่างสม่ำเสมอ ส่วนในด้านของประสิทธิภาพ ควรที่ต้องสร้างการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ เช่น ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วย มีส่วนร่วมในการคิดกิจกรรมที่จะส่งเสริมสุขภาพให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน ร่วมถึงการกระจายการบริการให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชาชนอย่างเท่าเทียม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
๒ เพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างเครือข่ายการให้บริการสุขภาพของประเทศการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑)) ๓) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการสร้างเครือข่ายการให้บริการสุขภาพแก่พระสงฆ์ของโรงพยาบาลอำเภอบางปลาม้าและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในอำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรีการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัย (เชิงลึกสัมภาษณ์) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและสังเกตการณ์จากบริบทต่าง ๆ ของโรงพยาบาล
ซึ่งการวิจัยครั้งนี้พบว่า ๑) ในปัจจุบันได้เน้นการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิเป็นหลักเพื่อไม่ให้เกิดความแออัดในโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลจังหวัดให้มีมากและหน่วยบริการปฐมภูมิ ทำให้แนวโน้มเงินบำรุงของหน่วยบริการเพิ่มมากขึ้นแต่ก็ยังพบว่าการจัดการสนับสนุนนี้ไม่สม่ำเสมอในแต่ละเครือข่ายและแตกต่างกันในแต่ละจังหวัดแต่ละภูมิภาค ๒) การควบคุมป้องกันโรคการรักษายาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างผสมผสานแก่ประชาชนรัฐมีหน้าที่กำกับดูแลให้ระบบมีความเป็นธรรมทั่วถึงมีคุณภาพมีประสิทธิภาพมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ซึ่งแต่ละระบบมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กันการที่ภาครัฐจัดให้มีบริการหลายระดับทำให้โอกาสในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่มีความซับซ้อนที่จัดโดยบริการในระดับที่สูงขึ้นลดลงซึ่งข้อเท็จจริงคือ (อ้างอิงระบบ) หากระบบส่งต่อมีประสิทธิภาพปัญหาการเข้าถึงบริการในระดับที่สูงขึ้นก็จะหมดไประบบบริการสุขภาพจึงสามารถจัดแบ่งได้หลายระดับโดยในแต่ละระดับจะมีจำนวนประชากรที่รับผิดชอบแตกต่างกัน แทนการขยายโรงพยาบาลปัจจุบันมีความจำเป็นในการพัฒนาการจัดระบบในรูปแบบเครือข่ายและเชื่อมโยงกันด้วยระบบส่งต่อเพื่อให้สามารถจัดบริการสุขภาพที่ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ๓) ๓ ระดับเข้าด้วยกันตั้งแต่ระดับปฐมภูมิทุติยภูมิและตติยภูมิทั้งนี้ให้เป็นไปตามสภาพข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์และการคมนาคมโดยไม่มีเส้นแบ่งของการปกครองหรือการแบ่งเขตตรวจราชการเป็นตัวขวางกั้น ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการเพื่อให้โรงพยาบาลแต่ละแห่งเติบโตอย่างมีทิศทางมีภารกิจหน้าที่ชัดเจนมีจังหวะก้าวและเกื้อหนุนซึ่งกันและกันภายในเครือข่ายซึ่งโรงพยาบาลแม่ข่าย เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขอาสาสมัครสาธารณะสุขร่วมทั้งเครือข่ายภาคีมีภารระในการพัฒนาการให้บริการสุขภาพทำร่วมคือด้านการส่งเสริมสุขภาพด้านการรักษาพยาบาลด้านการควบคุมป้องกันโรคด้านการฟื้นฟูสภาพ
ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าในปัจจุบันภาครัฐมีการใส่ใจและทุ่มเทในเรื่องสุขภาพมากขึ้นมี
จัดการบริการสุขภาพในเชิงรุกตลอดจนการพัฒนาส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพแบบองค์ร่วมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชน คือไม่ทำงานเฉพาะในช่วงที่ต้องส่งผลงานเท่านั้นยังต้องทำงานอย่างสม่ำเสมอส่วนในด้านของประสิทธิภาพควรที่ต้องสร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้เช่น มีส่วนร่วมในการคิดกิจกรรมที่จะส่งเสริมสุขภาพให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนร่วมถึงการกระจายการบริการให้ครอบคลุมพื้นที่และประชาชนอย่างเท่าเทียม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ๑)เพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างเครือข่ายการให้บริ๒)๓)เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการสร้างเครือข่ายก การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัย) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (ในเชิงลึกให้ สัมภาษณ์ )และสังเกตการณ์จากบริบทต่างๆของโรงพยาบาล
ซึ่งการวิจัยครั้งนี้พบว่า๑) ในปัจจุบันได้เน้นการบริการสุขภาพระดับปฐมภู เพื่อไม่ให้เกิดความแออัดในโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลจังหวัดให้มีมาก และหน่วยบริการปฐมภูมิทำให้แนวโน้มเงินบำรุงของหน่วยบริการเพิ่มมาแต่ก็ยังพบว่าการจัดการสนับสนุนนี้ไม่สม่ำเสและแตกต่างกันในแต่ละจังหวัด แต่ละภูมิภาค ๒)การควบคุมป้องกันโรคการรักษายาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างผสมผสานแก่ประชาชน รัฐมีหน้าที่กำกับดูแลให้ระบบมีความเป็นธรรมทั่วถึง มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ซึ่งแต่ละระบบมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์ การที่ภาครัฐจัดให้มีบริการหลายระดับ ทำให้โอกาสในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่ซึ่งข้อเท็จจริงคือ(แนะนำ)ระบบ หากระบบส่งต่อมีประสิทธิภาพ ปัญหาการเข้าถึงบริการในระดับที่สูงขึ้นก็จะ ระบบบริการสุขภาพจึงสามารถจัดแบ่งได้หลายระด โดยในแต่ละระดับจะมีจำนวนประชากรที่รับผิดชอและเชื่อมโยงกันด้วยระบบส่งต่อ เพื่อให้สามารถจัดบริการสุขภาพที่ให้เกิดการ ๓)ปัจจุบันมีความจำเป็นในการพัฒนาการจัดระบบในแทนการขยายโรงพยาบาล๓ระดับเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามสภาพข้อเท็จจริงทางภูมิศ โดยไม่มีเส้นแบ่งของการปกครองหรือการแบ่งเขตเป็นตัวขวางกั้นให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการเพื่อให้โรงพยาบาลแต่ละแห่งเติบโตอย่างมีทิศ มีภารกิจหน้าที่ชัดเจน มีจังหวะก้าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกันภายในเครือข่าย ซึ่งโรงพยาบาลแม่ข่ายเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขอาสาสมัครสาธารณะสุข ร่วมทั้งเครือข่ายภาคีมีภารระในการพัฒนาการใ คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการรักษาพยาบาลด้านการควบคุมป้องกันโรค ด้านการฟื้นฟูสภาพ
ตามมาตรฐานซึ่งสามารถสรุปได้ว่า ในปัจจุบันภาครัฐมีการใส่ใจ และทุ่มเทในเรื่องสุขภาพมากขึ้น มีสัญลักษณ์
จัดการบริการสุขภาพในเชิงรุก ตลอดจนการพัฒนาส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพแบ ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนคือไม่ทำงานเฉพาะในช่วงที่ต้องส่งผลงานเท่านั้นยังต้องทำงานอย่างสม่ำเสมอ ส่วนในด้านของประสิทธิภาพ ควรที่ต้องสร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้เช่นมีส่วนร่วมในการคิดกิจกรรมที่จะส่งเสริมสุขภ ร่วมถึงการกระจายการบริการให้ครอบคลุมพื้นทีและประชาชนอย่างเท่าเทียม
ตามมาตรฐาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: