ฉันคิดว่า เมื่อค่าเงินดอลลาร์อ่อนลง ส่งผลให้ ค่าเงินบาทในประเทศไทยแข็งค่าขึ้น ซึ่งมีทั้งผลดี และ ผลเสีย
ผลดี คือ คนที่ต้องนำเข้าสินค้าหรือบริการจากต่างประเทศ ใช้เงินบาทเท่าเดิม แต่ซื้อของได้มากขึ้น , คนที่มีหนี้เป็นสกุลเงินต่างประเทศก็จะมียอดหนี้เมื่อแปลงเป็นเงินบาทน้อยลง , และ คนที่ส่งลูกเรียนเมืองนอกหรือคนที่อยากไปเที่ยวเมืองนอกก็ใช้เงินน้อยลง
ผลเสีย คือ กรณีผู้ส่งออก จะขาดทุนเพราะ ส่งออกของเท่าเดิม แต่ได้เงินกลับมาน้อยลง , คนต่างชาติที่มีหนี้สินเป็นเงินสกุลบาทก็จะต้องจ่ายหนี้มากขึ้น , และคนต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย หรือท่องเที่ยวในประเทศไทย ก็ต้องใช้เงินมากขึ้น
เมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นมาก จะส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย วิธีแก้ไข คือ อันแรก ลดอัตราดอกเบี้ย 1% ถึง 1.5% เพื่อให้เกิดผล , อย่างที่สอง รัฐต้องเข้าแทรกแซงตลาด ทำให้เงินบาทอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ , อย่างที่สาม การออกพันธบัตร เมื่อออกมาแทรกแซงตลาด เงินบาทในตลาดก็จะเพิ่มขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยก็จะดูดซับเงินบาทกลับไป , อย่างที่สี่ ัดการบริหารหนี้ต่างประเทศของภาครัฐ ,อย่างที่ห้า ผ่อนคลายกฎให้ภาคเอกชนยืมเงินจาธนาคารไปใช้หนี้เงินดอลลาร์ได้ , อย่างสุดท้าย เร่งโครงการพัฒนาต่างๆให้เร็วขึ้น โดยใช้เงินกู้เป็นเงินบาทในประเทศให้มากขึ้น
ฉันคิดว่าได้เมื่อค่าเงินดอลลาร์อ่อนลงส่งผลให้ค่าเงินบาทในประเทศไทยแข็งค่าขึ้นซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสีย
ผลดีคือ ใช้เงินบาทเท่าเดิม แต่ซื้อของได้มากขึ้น, , และ
คือกรณีผู้ส่งออกจะขาดทุนเพราะส่งออกของเท่าเดิม แต่ได้เงินกลับมาน้อยลง, , หรือท่องเที่ยวในประเทศไทย
วิธีแก้ไขคืออันแรกลดอัตราดอกเบี้ย 1% ถึง 1.5% เพื่อให้เกิดผล, อย่างที่สองรัฐต้องเข้าแทรกแซงตลาด , อย่างที่สามการออกพันธบัตรเมื่อออกมาแทรกแซงตลาดเงินบาทในตลาดก็จะเพิ่มขึ้น , อย่างที่สี่ , อย่างที่ห้า , อย่างสุดท้ายเร่งโครงการพัฒนาต่างๆให้เร็วขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
