วัดธรรมามูลวรวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองชัยนาทมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธ การแปล - วัดธรรมามูลวรวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองชัยนาทมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธ ไทย วิธีการพูด

วัดธรรมามูลวรวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่

วัดธรรมามูลวรวิหาร
เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองชัยนาทมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่บนไหล่เขาธรรมามูล ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลธรรมามูล ห่างจากอำเภอเมืองไปทางทิศเหนือประมาณ 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1 กิโลเมตรที่ 288-289 เข้าทางโรงเรียนธรรมานุกูล ภายในวิหารของวัดมีหลวงพ่อธรรมจักร เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติประทับบนฐานรูปดอกบัว เป็นศิลปะประยุกต์สมัยเชียงแสนตอนปลายถึงสุโขทัยตอนต้น ผสมกับสมัยอยุธยา มีรูปพระธรรมจักรปรากฎอยู่กลางฝ่าพระหัตถ์เบื้องขวา ซึ่งเข้าใจว่าเป็นความคิดของช่างสมัยนั้นที่ตั้งใจสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ให้มีเครื่องหมายแห่งมหาปุริสลักษณะ (เป็นลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ ตามคติอินเดีย เช่น ในฝ่าเท้ามีจักรลักษณะ มีลายตาข่ายในฝ่ามือฝ่าเท้า ข้อเท้าเหมือนสังข์ที่ตั้งขึ้น คางเหมือนคางราชสีห์ เป็นต้น) และสิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง คือ ใบเสมา เป็นศิลาทรายสีแดงตั้งรายรอบพระอุโบสถ สลักลวดลายแบบสมัยอยุธยา ทุกปีจะมีงานนมัสการหลวงพ่อธรรมจักรเป็นประจำปีละ 2 ครั้ง คือ วันขึ้น 4-8 ค่ำเดือน 6 และแรม 4-8 ค่ำ เดือน 11
ประวัติ หลวงพ่อธรรมจักร นั้นปัจจุบันยังไม่พบหลักฐานแน่ชัด มีเพียงตำนาน เล่าสืบกันมาแต่โบราณว่า มีผู้พบพระพุทธรูปลอยน้ำตามแม่น้ำเจ้าพระยามาพร้อมกัน 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อโสธร (วัดโสธรวรวิหาร จ.ฉะเชิงเทรา) หลวงพ่อวัดบ้านแหลม (วัดบ้านแหลม จ.สมุทรสงคราม) และหลวงพ่อธรรมจักร (วัดธรรมามูลวรวิหาร จ.ชัยนาท) บ้างกล่าวว่ามี พระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง คือ หลวงพ่อวัดไร่ขิง ลอยน้ำตามมาด้วยแต่สำหรับ หลวงพ่อธรรมจักรนั้น เมื่อลอยมาถึงบริเวณหน้าวัดธรรมามูล ปรากฎว่า ได้ลอยวนเวียนอยู่ พระภิกษุและชาวบ้าน จึงได้ทำพิธีอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานที่วัด โดยนำเชือกพร้อมด้ายสายสิญจน์ผูกกับพระพุทธรูป แต่ไม่สามารถ ดึงขึ้นมาได้ จนกระทั่งตกเย็นจึงแยกย้ายกันกลับ แต่ปรากฏว่า ในขณะนั้นได้มีผู้พบเห็นพระพุทธรูปองค์ที่ลอยน้ำมานั้น ได้มาประดิษฐานปิดขวางทางเข้าประตูวิหาร วัดธรรมามูล ซึ่งอยู่ที่บริเวณไหล่เขา จึงได้เรียกชาวบ้านที่อยู่ด้านหลังให้ขึ้นไปดู ซึ่งทำให้เกิดความแปลกใจ และความศรัทธาต่อองค์หลวงพ่อธรรมจักร จึงร่วมกันต่อเติมพระวิหารออกมาอีกหนึ่งช่วง รวมเป็น 3 ช่วง จากคำบอกเล่า เมื่อองค์หลวงพ่อประดิษฐานอยู่ได้ 3 วัน ก็ได้หายไปจากพระวิหาร และกลับมาประดิษฐานดังเดิมโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีโคลน และจอกแหนติดเปื้อนมาด้วย ชาวบ้านจึงนำโซ่มาผูกไว้ เพื่อไม่ให้หลวงพ่อหายไปอีก ต่อมามีชายต่างถิ่นล่องแพมาจากทางเหนือ เพื่อตามหาพระพุทธรูป เมื่อมาถึง วัดธรรมามูล จึงได้พระพุทธรูปที่กำลังตามหาอยู่ ขณะนั้นเป็นเวลาพลบค่ำ ชายผู้นั้นจึงได้อาศัยนอนอยู่ที่วัด เพื่อรอเวลาอัญเชิญองค์พลวงพ่อกลับไปประดิษฐาน ณ วัดเดิมในเวลาเช้าแต่กลับฝันว่า หลวงพ่อไม่ขอกลับ แต่จะขออยู่ที่วัดธรรมามูลวรวิหาร ครั้นรุ่งเช้า เขาจึงลาท่านสมภารเพื่อเดินทางกลับบ้าน และได้ขอถอดเอา "จักร" ที่ฝ่าพระหัตถ์องค์หลวงพ่อกลับไป นับแต่นั้นมาหลวงพ่อก็ไม่หายไปไหนอีกเลย ชาวบ้านจึงได้นำโซ่ออกและได้ร่วมกันสร้าง "จักร" ขึ้นมาใหม่ โดยจัดงานสมโภชกันต่อเนื่องทุกปีจนถึงทุกวันนี้ นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้มีชาวบ้านมากมายเดินทางมานมัสการ หลวงพ่อธรรมจักร ไม่ขาดระยะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัดธรรมามูลวรวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองชัยนาทมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่บนไหล่เขาธรรมามูล ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลธรรมามูล ห่างจากอำเภอเมืองไปทางทิศเหนือประมาณ 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1 กิโลเมตรที่ 288-289 เข้าทางโรงเรียนธรรมานุกูล ภายในวิหารของวัดมีหลวงพ่อธรรมจักร เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติประทับบนฐานรูปดอกบัว เป็นศิลปะประยุกต์สมัยเชียงแสนตอนปลายถึงสุโขทัยตอนต้น ผสมกับสมัยอยุธยา มีรูปพระธรรมจักรปรากฎอยู่กลางฝ่าพระหัตถ์เบื้องขวา ซึ่งเข้าใจว่าเป็นความคิดของช่างสมัยนั้นที่ตั้งใจสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ให้มีเครื่องหมายแห่งมหาปุริสลักษณะ (เป็นลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ ตามคติอินเดีย เช่น ในฝ่าเท้ามีจักรลักษณะ มีลายตาข่ายในฝ่ามือฝ่าเท้า ข้อเท้าเหมือนสังข์ที่ตั้งขึ้น คางเหมือนคางราชสีห์ เป็นต้น) และสิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง คือ ใบเสมา เป็นศิลาทรายสีแดงตั้งรายรอบพระอุโบสถ สลักลวดลายแบบสมัยอยุธยา ทุกปีจะมีงานนมัสการหลวงพ่อธรรมจักรเป็นประจำปีละ 2 ครั้ง คือ วันขึ้น 4-8 ค่ำเดือน 6 และแรม 4-8 ค่ำ เดือน 11ประวัติ หลวงพ่อธรรมจักร นั้นปัจจุบันยังไม่พบหลักฐานแน่ชัด มีเพียงตำนาน เล่าสืบกันมาแต่โบราณว่า มีผู้พบพระพุทธรูปลอยน้ำตามแม่น้ำเจ้าพระยามาพร้อมกัน 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อโสธร (วัดโสธรวรวิหาร จ.ฉะเชิงเทรา) หลวงพ่อวัดบ้านแหลม (วัดบ้านแหลม จ.สมุทรสงคราม) และหลวงพ่อธรรมจักร (วัดธรรมามูลวรวิหาร จ.ชัยนาท) บ้างกล่าวว่ามี พระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง คือ หลวงพ่อวัดไร่ขิง ลอยน้ำตามมาด้วยแต่สำหรับ หลวงพ่อธรรมจักรนั้น เมื่อลอยมาถึงบริเวณหน้าวัดธรรมามูล ปรากฎว่า ได้ลอยวนเวียนอยู่ พระภิกษุและชาวบ้าน จึงได้ทำพิธีอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานที่วัด โดยนำเชือกพร้อมด้ายสายสิญจน์ผูกกับพระพุทธรูป แต่ไม่สามารถ ดึงขึ้นมาได้ จนกระทั่งตกเย็นจึงแยกย้ายกันกลับ แต่ปรากฏว่า ในขณะนั้นได้มีผู้พบเห็นพระพุทธรูปองค์ที่ลอยน้ำมานั้น ได้มาประดิษฐานปิดขวางทางเข้าประตูวิหาร วัดธรรมามูล ซึ่งอยู่ที่บริเวณไหล่เขา จึงได้เรียกชาวบ้านที่อยู่ด้านหลังให้ขึ้นไปดู ซึ่งทำให้เกิดความแปลกใจ และความศรัทธาต่อองค์หลวงพ่อธรรมจักร จึงร่วมกันต่อเติมพระวิหารออกมาอีกหนึ่งช่วง รวมเป็น 3 ช่วง จากคำบอกเล่า เมื่อองค์หลวงพ่อประดิษฐานอยู่ได้ 3 วัน ก็ได้หายไปจากพระวิหาร และกลับมาประดิษฐานดังเดิมโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีโคลน และจอกแหนติดเปื้อนมาด้วย ชาวบ้านจึงนำโซ่มาผูกไว้ เพื่อไม่ให้หลวงพ่อหายไปอีก ต่อมามีชายต่างถิ่นล่องแพมาจากทางเหนือ เพื่อตามหาพระพุทธรูป เมื่อมาถึง วัดธรรมามูล จึงได้พระพุทธรูปที่กำลังตามหาอยู่ ขณะนั้นเป็นเวลาพลบค่ำ ชายผู้นั้นจึงได้อาศัยนอนอยู่ที่วัด เพื่อรอเวลาอัญเชิญองค์พลวงพ่อกลับไปประดิษฐาน ณ วัดเดิมในเวลาเช้าแต่กลับฝันว่า หลวงพ่อไม่ขอกลับ แต่จะขออยู่ที่วัดธรรมามูลวรวิหาร ครั้นรุ่งเช้า เขาจึงลาท่านสมภารเพื่อเดินทางกลับบ้าน และได้ขอถอดเอา "จักร" ที่ฝ่าพระหัตถ์องค์หลวงพ่อกลับไป นับแต่นั้นมาหลวงพ่อก็ไม่หายไปไหนอีกเลย ชาวบ้านจึงได้นำโซ่ออกและได้ร่วมกันสร้าง "จักร" ขึ้นมาใหม่ โดยจัดงานสมโภชกันต่อเนื่องทุกปีจนถึงทุกวันนี้ นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้มีชาวบ้านมากมายเดินทางมานมัสการ หลวงพ่อธรรมจักร ไม่ขาดระยะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ตั้งอยู่บนไหล่เขาธรรมามูลริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาตำบลธรรมามูล 8 กิโลเมตรตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1 กิโลเมตรที่ 288-289 เข้าทางโรงเรียนธรรมานุกูลภายในวิหารของวัดมีหลวงพ่อธรรมจักร ผสมกับสมัยอยุธยา (เป็นลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการตามคติอินเดียเช่นในฝ่าเท้ามีจักรลักษณะมีลายตาข่ายในฝ่ามือฝ่าเท้าข้อเท้าเหมือนสังข์ที่ตั้งขึ้นคางเหมือนคางราชสีห์เป็นต้น) และสิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือใบเสมา สลักลวดลายแบบสมัยอยุธยา 2 ครั้งคือวันขึ้น 4-8 ค่ำเดือน 6 และแรม 4-8 ค่ำเดือน 11
ประวัติหลวงพ่อธรรมจักรนั้นปัจจุบันยังไม่พบหลักฐานแน่ชัดมีเพียงตำนานเล่าสืบกันมา แต่โบราณว่า 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อโสธร (วัดโสธรวรวิหารจ. ฉะเชิงเทรา) หลวงพ่อวัดบ้านแหลม (วัดบ้านแหลมจ. สมุทรสงคราม) และหลวงพ่อธรรมจักร (วัดธรรมามูลวรวิหารจ. ชัยนาท) บ้างกล่าวว่ามีพระพุทธรูปอีกองค์ หนึ่งคือหลวงพ่อวัดไร่ขิงลอยน้ำตามมาด้วย แต่สำหรับหลวงพ่อธรรมจักรนั้น ปรากฎว่าได้ลอยวนเวียนอยู่พระภิกษุและชาวบ้าน แต่ไม่สามารถดึงขึ้นมาได้จนกระทั่งตกเย็นจึงแยกย้ายกันกลับ แต่ปรากฏว่า วัดธรรมามูลซึ่งอยู่ที่บริเวณไหล่เขา ซึ่งทำให้เกิดความแปลกใจ รวมเป็น 3 ช่วงจากคำบอกเล่าเมื่อองค์หลวงพ่อประดิษฐานอยู่ได้ 3 วันก็ได้หายไปจากพระวิหาร ซึ่งมีโคลนและจอกแหนติดเปื้อนมาด้วยชาวบ้านจึงนำโซ่มาผูกไว้เพื่อไม่ให้หลวงพ่อหายไปอีก เพื่อตามหาพระพุทธรูปเมื่อมาถึงวัดธรรมามูลจึงได้พระพุทธรูปที่กำลังตามหาอยู่ขณะนั้นเป็นเวลาพลบค่ำ ณ วัดเดิมในเวลาเช้า แต่กลับฝันว่าหลวงพ่อไม่ขอกลับ แต่จะขออยู่ที่วัดธรรมามูลวรวิหารครั้นรุ่งเช้า และได้ขอถอดเอา "จักร" ที่ฝ่าพระหัตถ์องค์หลวงพ่อกลับไป "จักร" ขึ้นมาใหม่ นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หลวงพ่อธรรมจักรไม่ขาดระยะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: