ดร.ซุนยัดเซน ปฏิวัติล้มล้างการปกครองของราชวงศ์ชิงในปี 1911 ในขณะนั้นจี การแปล - ดร.ซุนยัดเซน ปฏิวัติล้มล้างการปกครองของราชวงศ์ชิงในปี 1911 ในขณะนั้นจี ไทย วิธีการพูด

ดร.ซุนยัดเซน ปฏิวัติล้มล้างการปกครอ

ดร.ซุนยัดเซน ปฏิวัติล้มล้างการปกครองของราชวงศ์ชิงในปี 1911 ในขณะนั้นจีนไม่มีกฎหมายอะไรแม้แต่อย่างเดียว สังคมเต็มไปด้วยความวุ่นวาย

ต่อมา ดร.ซุนยัดเซนได้ประกาศธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนเพื่อใช้เป็นกฎหมายพื้นฐานเป็นการชั่วคราวในปี 1912 หลังจากนั้น สภาแห่งสาธารณรัฐจีนได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐจีน (ฉบับเทียนฐาน) ในปี 1913 ทำให้เหวียนซื่อไข่ ซึ่งเป็นประธานาธิบดีในขณะนั้น ไม่พอใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากเขามีแผนการที่จะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ใหม่ จึงประกาศยุบสภาและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินของตนเองแทน หลังจากนั้น ผู้นำต่อมาหลายคนได้พยายามร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาแต่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากอยู่ในอำนาจได้ไม่นาน
ปี 1928 พรรคก๊กมินตั๋งสามารถปราบปรามขุนศึกตามท้องถิ่นต่างๆ และรวบรวมประเทศเป็นปึกแผ่น จึงได้จัดประชุมใหญ่สภาประชาชนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนฉบับใหม่ ซึ่งได้ยึดถือหลักการของ ดร.ซุนยัดเซน เป็นพื้นฐาน อันประกอบด้วย 民族(ประชาชาติ)民权 (อธิปไตยของปวงชน) และ民生(ความอยู่ดีกินดีและเท่าเทียมกันของมวลชน) นอกจากนี้ยังยึดถืออำนาจองค์กรอิสระ 5 สถาบันเป็นหลัก อันได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายสอบแข่งขัน และ ฝ่ายอัยการ ในการปกครองบ้านเมือง ในปี 1936 ร่างรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนเสร็จเรียบร้อย ประกาศในวันที่ 5 พฤษภาคม และควรจะได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนในปีเดียวกัน แต่ด้วยการรุกขนานใหญ่ของญี่ปุ่นที่เริ่มขึ้นในปีนั้น จึงยังไม่ทันได้ประกาศใช้ แต่ก็ถือเป็นแนวทางหลักของร่างรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา
ปี 1938 รัฐบาลขณะนั้นได้พยายามจัดตั้งคณะกรรมการปรองดองทางการเมืองเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองอย่างกว้างขวาง โดยการรวบรวมผู้คนทั้งจากพรรคก๊กมินตั๋ง พรรคคอมมิวนิสต์และพรรคประชาธิปัตย์ให้เข้าร่วม แนวทางจึงเริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่อำนาจอิสระ 3 องค์กรแบบทั่วไป อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างพรรคก๊กมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสต์เริ่มรุนแรงขึ้น ในที่สุดรัฐบาลพรรคก๊กมินตั๋งได้ประกาศใช้ “รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน” ในปี 1946 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 25 ธันวาคม 1947 โดยที่เนื้อหากลับไปใกล้เคียงกับ “ฉบับ 5 พฤษภา” เป็นส่วนใหญ่
กล่าวกันว่า รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนเป็นแบบฉบับแห่งรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาโดยแท้ อันมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนด้วยคือ Constitution of Liberty ซึ่งก็คือ เสรีภาพแห่งประชาชน Constitution of Government หรือการคานอำนาจรัฐบาล และ Constitution of Sovereignty หรืออำนาจการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นของปวงชน บทนำของรัฐธรรมนูญยังได้กล่าวถึง องค์กรที่ร่างรัฐธรรมนูญ ที่มาของอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญ หลักการแห่งรัฐธรรมนูญ (แนวคิดของ ดร.ซุนยัดเซน) วัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญ (สวัสดิการแห่งประชาชน) และความศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญ ทั้งหมดนี้ด้วยความกระชับแต่ได้ใจความ
หมวดที่ 2 เสรีภาพแห่งปวงชน กล่าวถึงเสรีภาพต่างๆ ได้แก่ เสรีภาพจากการถูกจองจำ เสรีภาพในการสื่อสารและชุมนุม เสรีภาพในการอยู่อาศัยและอาชีพ กับสิทธิและหน้าที่ต่างๆ ตามกฎหมาย
หมวดที่ 3 ที่ประชุมใหญ่สภาประชาชน ผู้แทนสภาประชาชนมาจากการเลือกตั้ง อำเภอละ 1 คน และอีก 1 คนต่อประชาชนทุกๆ 5 แสนคน ที่น่าสนใจคือ ประเทศจีนมีอำเภอหรือเทียบเท่าเป็นจำนวนถึงกว่า 3,000 แห่ง ที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนมีขึ้นทุกๆ 6 ปี มีอำนาจในการแต่งตั้ง ถอดถอน ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี การแก้ไขรัฐธรรมนูญและรับรองร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ผ่านสภานิติบัญญัติ ดร.ซุนยัดเซนได้แนวคิดนี้มาจากระบบ electorate ของสหรัฐอเมริกา
หมวดที่ 4 ประธานาธิบดี ระบุถึง ความเป็นประมุขของชาติ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด การทำสนธิสัญญาและประกาศสงคราม การประกาศภาวะฉุกเฉินโดยความเห็นขอบของสภานิติบัญญัติ การนิรโทษกรรม การแต่งตั้งถอดถอนข้าราชการ การเลือกตั้งประธานาธิบดี อายุขั้นต่ำ 40 ปี ตำแหน่งมีวาระ 6 ปี ฝ่ายบริหารรักษาการประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี
หมวดที่ 5 ฝ่ายบริหาร มีผู้นำสูงสุดเป็นนายกรัฐมนตรีโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดี และสภานิติบัญญัติเห็นชอบ ฝ่ายบริหารจะต้องแถลงนโยบายและรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติ
หมวดที่ 6 นิติบัญญัติ สมาชิกสภานิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้งในแต่ละมณฑล 5 คน สำหรับประชากรที่ไม่เกิน 3 ล้านคน และอีก 1 คน สำหรับประชากรทุกๆ 1 ล้านคน (ถ้าหากใช้หลักการนี้ในปัจจุบันอาจมีจำนวนกว่า 1,000 คน) โดยมีวาระ 3 ปี แต่ดำรงตำแหน่งซ้ำได้ถ้าหากได้รับเลือกตั้ง
หมวดที่ 7 ฝ่ายตุลาการ รับผิดชอบคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง การลงโทษข้าราชการและการตีความคำสั่ง กฎหมาย และรัฐธรรมนูญ ประธาน รองประธาน และตุลาการได้รับการแต่งตั้งโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดีและการเห็นชอบของฝ่ายอัยการ ตำแหน่งตุลาการมีวาระตลอดชีวิต
หมวดที่ 8 ฝ่ายสอบแข่งขัน มีหน้าที่จัดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุข้าราชการ ประเมินผล ปรับย้าย สวัสดิการ รางวัล บำเหน็จบำนาญ ประธาน รองประธาน และกรรมการในฝ่ายนี้ได้รับการแต่งตั้งโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดี และเห็นชอบของฝ่ายอัยการ
หมวดที่ 9 ฝ่ายอัยการ กรรมการในฝ่ายอัยการมาจากการเลือกตั้งของสภามณฑลแต่ละแห่ง แห่งละ 5 คน มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงตำแหน่งซ้ำได้ ถ้าหากได้รับการเลือกตั้ง การใช้อำนาจเห็นชอบตำแหน่งต่างๆ ใช้เสียงข้างมากของกรรมการ ฝ่ายอัยการมีอำนาจตรวจสอบคำสั่งของหน่วยราชการต่างๆ ว่าเป็นไปตามกฎหมายหรือไม่ และสั่งให้แก้ไขได้ ถ้าหากมีการปฏิบัติราชการโดยมิชอบ อัยการ 1 คน มีอำนาจเสนอให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่า 9 คนเพื่อดำเนินคดีได้ การสอบสวนดำเนินคดีกับประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีอาจทำโดยการนำเสนอของกรรมการอัยการไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 และลงมติโดยเสียงข้างมากของกรรมการอัยการทั้งหมดที่มีอยู่เพื่อเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนต่อไป
หมวดที่ 10-12 กล่าวถึง การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยระบุถึงอำนาจหน้าที่ตั้งแต่รัฐบาลกลาง รัฐบาลมณฑล ไปจนถึงรัฐบาลอำเภอ และกำหนดให้รัฐบาลระดับที่เหนือกว่าตรากฎหมายให้รัฐบาลระดับรองลงไปนำไปปฏิบัติ ในลักษณะที่เป็นรัฐเดียวไม่ใช่สหพันธรัฐ
หมวดที่ 13 นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ แยกออกเป็นส่วนต่างๆ ได้แก่ การป้องกันประเทศ การต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาวัฒนธรรม และพื้นที่ช
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ดร.ซุนยัดเซนปฏิวัติล้มล้างการปกครองของราชวงศ์ชิงในปี 1911 ในขณะนั้นจีนไม่มีกฎหมายอะไรแม้แต่อย่างเดียวสังคมเต็มไปด้วยความวุ่นวายต่อมาดร.ซุนยัดเซนได้ประกาศธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนเพื่อใช้เป็นกฎหมายพื้นฐานเป็นการชั่วคราวในปีซาวน่าหลังจากนั้นสภาแห่งสาธารณรัฐจีนได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐจีน (ฉบับเทียนฐาน) ค.ศ. 1913 ในปีทำให้เหวียนซื่อไข่ซึ่งเป็นประธานาธิบดีในขณะนั้นไม่พอใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเขามีแผนการที่จะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ใหม่จึงประกาศยุบสภาและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินของตนเองแทนหลังจากนั้นผู้นำต่อมาหลายคนได้พยายามร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาแต่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากอยู่ในอำนาจได้ไม่นานปี 1928 พรรคก๊กมินตั๋งสามารถปราบปรามขุนศึกตามท้องถิ่นต่าง ๆ และรวบรวมประเทศเป็นปึกแผ่นจึงได้จัดประชุมใหญ่สภาประชาชนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนฉบับใหม่ซึ่งได้ยึดถือหลักการของดร.ซุนยัดเซนเป็นพื้นฐานอันประกอบด้วย民族 (ประชาชาติ) 民权 (อธิปไตยของปวงชน) และ民生(ความอยู่ดีกินดีและเท่าเทียมกันของมวลชน)นอกจากนี้ยังยึดถืออำนาจองค์กรอิสระ 5 สถาบันเป็นหลักอันได้แก่ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายตุลาการฝ่ายสอบแข่งขันและฝ่ายอัยการในการปกครองบ้านเมืองในปี 1936 ร่างรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนเสร็จเรียบร้อยประกาศในวันที่ 5 พฤษภาคมและควรจะได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนในปีเดียวกันแต่ด้วยการรุกขนานใหญ่ของญี่ปุ่นที่เริ่มขึ้นในปีนั้นจึงยังไม่ทันได้ประกาศใช้แต่ก็ถือเป็นแนวทางหลักของร่างรัฐธรรมนูญฉบับต่อ ๆ มาปีค.ศ. 1938 รัฐบาลขณะนั้นได้พยายามจัดตั้งคณะกรรมการปรองดองทางการเมืองเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองอย่างกว้างขวางโดยการรวบรวมผู้คนทั้งจากพรรคก๊กมินตั๋งพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคประชาธิปัตย์ให้เข้าร่วมแนวทางจึงเริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่อำนาจอิสระ 3 องค์กรแบบทั่วไปอย่างไรก็ตามความขัดแย้งระหว่างพรรคก๊กมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสต์เริ่มรุนแรงขึ้นในที่สุดรัฐบาลพรรคก๊กมินตั๋งได้ประกาศใช้ "รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน" ในปี 1946 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 25 ธันวาคม 1947 โดยที่เนื้อหากลับไปใกล้เคียงกับ "ฉบับ 5 พฤษภา" เป็นส่วนใหญ่กล่าวกันว่ารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนเป็นแบบฉบับแห่งรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาโดยแท้อันมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนด้วยคือธรรมนูญของลิเบอร์ตี้ซึ่งก็คือเสรีภาพแห่งประชาชนรัฐธรรมนูญของรัฐบาลรัฐธรรมนูญและหรือการคานอำนาจรัฐบาลของอธิปไตยหรืออำนาจการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นของปวงชนบทนำของรัฐธรรมนูญยังได้กล่าวถึงองค์กรที่ร่างรัฐธรรมนูญที่มาของอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญหลักการแห่งรัฐธรรมนูญ (แนวคิดของดร.ซุนยัดเซน) วัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญ (สวัสดิการแห่งประชาชน) และความศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญทั้งหมดนี้ด้วยความกระชับแต่ได้ใจความหมวดที่ 2 เสรีภาพแห่งปวงชนกล่าวถึงเสรีภาพต่าง ๆ ได้แก่เสรีภาพจากการถูกจองจำเสรีภาพในการสื่อสารและชุมนุมเสรีภาพในการอยู่อาศัยและอาชีพกับสิทธิและหน้าที่ต่าง ๆ ตามกฎหมายหมวดที่ 3 ที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนผู้แทนสภาประชาชนมาจากการเลือกตั้งอำเภอละ 1 คนและอีก 1 คนต่อประชาชนทุก ๆ 5 แสนคนที่น่าสนใจคือประเทศจีนมีอำเภอหรือเทียบเท่าเป็นจำนวนถึงกว่า 3000 แห่งที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนมีขึ้นทุก ๆ 6 ปีมีอำนาจในการแต่งตั้งถอดถอนประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีการแก้ไขรัฐธรรมนูญและรับรองร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ผ่านสภานิติบัญญัติดร.ซุนยัดเซนได้แนวคิดนี้มาจากระบบรูปแบบของสหรัฐอเมริกาหมวดที่ 4 ประธานาธิบดีระบุถึงความเป็นประมุขของชาติผู้บัญชาการทหารสูงสุดการทำสนธิสัญญาและประกาศสงครามการประกาศภาวะฉุกเฉินโดยความเห็นขอบของสภานิติบัญญัติการนิรโทษกรรมการแต่งตั้งถอดถอนข้าราชการการเลือกตั้งประธานาธิบดีอายุขั้นต่ำ 40 ปีตำแหน่งมีวาระ 6 ปีฝ่ายบริหารรักษาการประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีหมวดที่ 5 ฝ่ายบริหารมีผู้นำสูงสุดเป็นนายกรัฐมนตรีโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดีและสภานิติบัญญัติเห็นชอบฝ่ายบริหารจะต้องแถลงนโยบายและรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติหมวดที่ 6 นิติบัญญัติ สมาชิกสภานิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้งในแต่ละมณฑล 5 คน สำหรับประชากรที่ไม่เกิน 3 ล้านคน และอีก 1 คน สำหรับประชากรทุกๆ 1 ล้านคน (ถ้าหากใช้หลักการนี้ในปัจจุบันอาจมีจำนวนกว่า 1,000 คน) โดยมีวาระ 3 ปี แต่ดำรงตำแหน่งซ้ำได้ถ้าหากได้รับเลือกตั้งหมวดที่ 7 ฝ่ายตุลาการ รับผิดชอบคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง การลงโทษข้าราชการและการตีความคำสั่ง กฎหมาย และรัฐธรรมนูญ ประธาน รองประธาน และตุลาการได้รับการแต่งตั้งโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดีและการเห็นชอบของฝ่ายอัยการ ตำแหน่งตุลาการมีวาระตลอดชีวิตหมวดที่ 8 ฝ่ายสอบแข่งขันมีหน้าที่จัดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุข้าราชการประเมินผลปรับย้ายสวัสดิการรางวัลบำเหน็จบำนาญประธานรองประธานและกรรมการในฝ่ายนี้ได้รับการแต่งตั้งโดยการเสนอชื่อของประธานาธิบดีและเห็นชอบของฝ่ายอัยการหมวดที่ 9 ฝ่ายอัยการ กรรมการในฝ่ายอัยการมาจากการเลือกตั้งของสภามณฑลแต่ละแห่ง แห่งละ 5 คน มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงตำแหน่งซ้ำได้ ถ้าหากได้รับการเลือกตั้ง การใช้อำนาจเห็นชอบตำแหน่งต่างๆ ใช้เสียงข้างมากของกรรมการ ฝ่ายอัยการมีอำนาจตรวจสอบคำสั่งของหน่วยราชการต่างๆ ว่าเป็นไปตามกฎหมายหรือไม่ และสั่งให้แก้ไขได้ ถ้าหากมีการปฏิบัติราชการโดยมิชอบ อัยการ 1 คน มีอำนาจเสนอให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่า 9 คนเพื่อดำเนินคดีได้ การสอบสวนดำเนินคดีกับประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีอาจทำโดยการนำเสนอของกรรมการอัยการไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 และลงมติโดยเสียงข้างมากของกรรมการอัยการทั้งหมดที่มีอยู่เพื่อเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนต่อไปหมวดที่ 10-12 กล่าวถึง การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยระบุถึงอำนาจหน้าที่ตั้งแต่รัฐบาลกลาง รัฐบาลมณฑล ไปจนถึงรัฐบาลอำเภอ และกำหนดให้รัฐบาลระดับที่เหนือกว่าตรากฎหมายให้รัฐบาลระดับรองลงไปนำไปปฏิบัติ ในลักษณะที่เป็นรัฐเดียวไม่ใช่สหพันธรัฐหมวดที่ 13 นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ แยกออกเป็นส่วนต่างๆ ได้แก่ การป้องกันประเทศ การต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาวัฒนธรรม และพื้นที่ช
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ดร. ซุนยัดเซน 1911 เต็มไปสังคมด้วยความวุ่นวายต่อมา 1912 หลังจากนั้น (ฉบับเทียนฐาน) ในปี 1913 ทำให้เหวียนซื่อไข่ซึ่งเป็นประธานาธิบดีในขณะนั้นไม่พอใจเป็นอย่างมาก หลังจากนั้น 1928 และรวบรวมประเทศเป็นปึกแผ่น ซึ่งได้ยึดถือหลักการของดร. ซุนยัดเซนเป็นพื้นฐานอันประกอบด้วย民族(ประชาชาติ)民权(อธิปไตยของปวงชน) 5 สถาบันเป็นหลักอัน ได้แก่ ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายตุลาการฝ่ายสอบแข่งขันและฝ่ายอัยการในการปกครองบ้านเมืองในปี 1936 ประกาศในวันที่ 5 พฤษภาคม จึงยังไม่ทันได้ประกาศใช้ มาปี 1938 3 องค์กรแบบทั่วไปอย่างไรก็ตาม "รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน" ในปี 1946 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 25 ธันวาคม 1947 โดยที่เนื้อหากลับไปใกล้เคียงกับ "ฉบับที่ 5 พฤษภา" ส่วนใหญ่เป็นกล่าวกันว่าได้ อันมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนด้วยคือรัฐธรรมนูญแห่งเสรีภาพซึ่งก็คือเสรีภาพแห่งประชาชนรัฐธรรมนูญของรัฐบาลหรือการคานอำนาจรัฐบาลและรัฐธรรมนูญของอำนาจอธิปไตย บทนำของรัฐธรรมนูญยังได้กล่าวถึงองค์กรที่ร่างรัฐธรรมนูญที่มาของอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญหลักการแห่งรัฐธรรมนูญ (แนวคิดของดร. ซุนยัดเซน) วัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญ (สวัสดิการแห่งประชาชน) และความศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญ 2 เสรีภาพแห่งปวงชนกล่าวถึงเสรีภาพต่างๆ ได้แก่ เสรีภาพจากเนชั่หัวเรื่อง: การถูกจองจำเสรีภาพในหัวเรื่อง: การสื่อสารและชุมนุมเสรีภาพในหัวเรื่อง: การขณะนี้อาศัยและอาชีพกับสิทธิและหน้าที่ต่างๆตามกฎหมายหมวดที่3 ที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนผู้แทนสภาประชาชนมาจากการ เลือกตั้งอำเภอละ 1 คนและอีก 1 คนต่อประชาชนทุกๆ 5 แสนคนที่น่าสนใจคือ 3,000 แห่งที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนมีขึ้นทุกๆ 6 ปีมีอำนาจในการแต่งตั้งถอดถอนประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี ดร. ซุนยัดเซนได้แนวคิดนี้มาจากระบบการเลือกตั้งสหรัฐอเมริกาของหมวดที่4 ประธานาธิบดีระบุถึงความเป็นประมุขของชาติผู้บัญชาการทหารสูงสุดการทำสนธิสัญญาและประกาศสงคราม การนิรโทษกรรมการแต่งตั้งถอดถอนข้าราชการการเลือกตั้งประธานาธิบดีอายุขั้นต่ำ 40 ปีตำแหน่งมีวาระ 6 ปี 5 ฝ่ายบริหาร และสภานิติบัญญัติเห็นชอบ 6 นิติบัญญัติ 5 คนสำหรับประชากรที่ไม่เกิน 3 ล้านคนและอีก 1 คนสำหรับประชากรทุกๆ 1 ล้านคน 1,000 คน) โดยมีวาระ 3 ปี 7 ฝ่ายตุลาการรับผิดชอบคดีแพ่งคดีอาญาคดีปกครอง กฎหมายและรัฐธรรมนูญประธานรองประธาน 8 ฝ่ายสอบแข่งขัน ประเมินผลปรับย้ายสวัสดิการรางวัลบำเหน็จบำนาญประธานรองประธาน เห็นชอบและของฝ่ายอัยการหมวดที่ 9 ฝ่ายอัยการ แห่งละ 5 คนมีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปีและดำรงตำแหน่งซ้ำได้ถ้าหากได้รับการเลือกตั้งการใช้อำนาจเห็นชอบตำแหน่งต่างๆใช้เสียงข้างมากของกรรมการ ว่าเป็นไปตามกฎหมายหรือไม่และสั่งให้แก้ไขได้ถ้าหากมีการปฏิบัติราชการโดยมิชอบอัยการ 1 คน 9 คนเพื่อดำเนินคดีได้ 1 ใน 4 10-12 กล่าวถึงการปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐบาลมณฑลไปจนถึงรัฐบาลอำเภอ 13 นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐแยกออกเป็นส่วนต่างๆ ได้แก่ การป้องกันประเทศการต่างประเทศเศรษฐกิจสังคมการศึกษาวัฒนธรรมและพื้นที่ช














การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ดร . ซุนยัดเซนปฏิวัติล้มล้างการปกครองของราชวงศ์ชิงในปี 1911 ในขณะนั้นจีนไม่มีกฎหมายอะไรแม้แต่อย่างเดียวสังคมเต็มไปด้วยความวุ่นวาย

ต่อมาดร .ซุนยัดเซนได้ประกาศธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนเพื่อใช้เป็นกฎหมายพื้นฐานเป็นการชั่วคราวในปี 1912 หลังจากนั้นสภาแห่งสาธารณรัฐจีนได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐจีน ( ฉบับเทียนฐาน ) สามารถ 1913ซึ่งเป็นประธานาธิบดีในขณะนั้นไม่พอใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเขามีแผนการที่จะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ใหม่จึงประกาศยุบสภาและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินของตนเองแทนหลังจากนั้น2471 . พรรคก๊กมินตั๋งสามารถปราบปรามขุนศึกตามท้องถิ่นต่างๆและรวบรวมประเทศเป็นปึกแผ่นจึงได้จัดประชุมใหญ่สภาประชาชนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐจีนฉบับใหม่ซึ่งได้ยึดถือหลักการของดร .ซุนยัดเซนเป็นพื้นฐานอันประกอบด้วย民族 ( ประชาชาติ ) 民权 ( อธิปไตยของปวงชน ) และ民生 ( ความอยู่ดีกินดีและเท่าเทียมกันของมวลชน ) นอกจากนี้ยังยึดถืออำนาจองค์กรอิสระ 5 สถาบันเป็นหลักอันได้แก่ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายสอบแข่งขันและฝ่ายอัยการในการปกครองบ้านเมืองสามารถร่างรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนเสร็จเรียบร้อยประกาศในวันที่ 5 พฤษภาคมและควรจะได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมใหญ่สภาประชาชนในปีเดียวกัน 1936จึงยังไม่ทันได้ประกาศใช้แต่ก็ถือเป็นแนวทางหลักของร่างรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: