การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ  (Natural ways for Soil Improvemen การแปล - การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ  (Natural ways for Soil Improvemen ไทย วิธีการพูด

การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ

การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ
(Natural ways for Soil Improvement)
ลักษณะ ของดิน
ดิน ที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกนั้น จะต้องประกอบด้วยสมบัติ 3 ประการ คือ

1. สมบัติทางเคมี คือ ดินต้องมีความสมดุล ของแร่ธาตุอาหารพืช ซึ่งประกอบด้วย ธาตุอาหารพืชหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี่ยม ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม กำมะถัน ธาตุอาหารเสริมประกอบด้วย เหล็ก สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดินัม แมงกานีส และ คลอรีน และ มีปฏิกิริยา ของดิน ที่เป็นกลาง คือดินต้องไม่เป็นกรดเป็นด่างหรือมีความเค็มจนเกินไป
2. สมบัติทางกายภาพ คือ ดินต้องมีความสมดุล ของอากาศ และ น้ำ กล่าวคือ ดินต้องมีโครงสร้างที่ดี มีการร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้ดี มีความสามารถ ในการอุ้มน้ำได้ดี เม็ดดินเกาะกัน อย่างหลวมๆ เพื่อช่วยให้รากพืชสามารถแผ่ขยาย และ ชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่าย ในระยะที่กว้าง และ ไกล เป็นดิน ที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง
3. สมบัติทางชีวภาพ คือ เป็นดิน ที่มีความสมดุล ของจุลินทรีย์ กล่าวคือ เป็นดิน ที่มีจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นประโยชน์ ในปริมาณมาก ซึ่งสามารถควบคุมจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นโทษ แก่พืชได้เป็น อย่างดี และ จุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ ในดิน สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่พืชได้ดี เช่น สามารถย่อยแร่ธาตุ ในดิน ที่ยังไม่เป็นประโยชน์ แก่พืช หรือให้ประโยชน์น้อยให้เป็นประโยชน์ แก่พืช และ เพิ่มปริมาณ ที่มากขึ้น ตรึงธาตุอาหารพืชจากอากาศให้เป็นประโยชน์ แก่พืช สร้างสารปฏิชีวนะปราบโรค และ ศัตรูพืช ในดินได้ เสริมสร้างพลังให้ แก่พืช และ ทำลายสารพิษ ในดินได้





ดิน ที่มีปัญหา
ดิน ที่ใช้ทำการเพาะปลูกทั่วไป ของประเทศไทยส่วนใหญ่ มักจะขาด ความอุดม
สมบูรณ์ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โครงสร้าง ของดินไม่ดี แน่นทึบ ไม่อุ้มน้ำ
มีจุลินทรีย์ ในดินน้อย เนื่องจากสภาพ ที่ไม่เหมาะสม ทั้งนี้ อันเนื่อง
มาจากได้ใช้ดิน เพื่อการเพาะปลูก อย่าง ต่อเนื่อง โดยขาดการปรับปรุง และ
บำรุงรักษา การทำการเกษตรกรรม ที่ไม่เหมาะสม ใช้ ที่ดินผิดประเภท
ตลอดจนแหล่งกำเนิด ของดินเอง เช่น ดินทราย ดินลูกรัง ดินเปรี้ยว ดินเค็ม
ดินด่าง เป็นต้น ทำให้ขาดความสมดุล ในด้านสมบัติทางเคมี กายภาพ และ
ชีวภาพ จำเป็นต้องทำการปรับปรุง และ หาทางแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์
ในการใช้ เพื่อการเพาะปลูก ต่อไป ต่อไปนี้ขอแนะนำให้ท่านทราบถึงดิน
ที่มีปัญหาชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ซึ่งต้องหาทางปรับปรุงให้กลับมาใช้
ประโยชน์ได้ ซึ่งจากการสำรวจ ของกรมพัฒนา ที่ดินพบว่า ทรัพยากรดิน
ของประเทศไทย มีปัญหาด้านกายภาพหรือด้านคุณภาพ ซึ่งจำแนกได้ดัง
ต่อไปนี้

1. ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ ของดินต่ำ และ เสื่อมลง จากรายงาน
การสำรวจ และ จำแนกชนิดดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน ที่ดำเนินการ ในจังหวัด
ต่างๆ ของประเทศไทยพบว่า ดินส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โดยธรรมชาติ
ทั้งนี้เนื่องจาก ประเทศตั้งอยู่ ในเขตศูนย์สูตร อุณหภูมิสูง และ มีปริมาณฝนตก
มาก การสลายตัว ของหินแร่ ที่เป็นวัตถุต้นกำเนิด ของดินเป็นไป อย่างรวดเร็ว
และ มีการชะล้างแร่ธาตุอาหารพืช ออกไปจากดิน ในอัตรสูง ในช่วง ฤดูฝน
ถูกพัดพาไป กับน้ำ ที่ไหลลงสู่ ที่ต่ำ ได้ แก่ แม่น้ำลำคลอง และ ลงสู่ทะเล
ในที่สุดจากการสลายตัว ของหินแร่ ในดินดำเนินไป อย่างมาก และ รวดเร็วนี้เอง
ทำให้ดิน ในประเทศไทย ส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วย แร่ดินเหนียว เคโอลิไนท์
(Kaolinite) แร่เหล็ก และ อลูมินัมออกไซด์ (hydrous oxide clay) ซึ่งแร่
ดินเหนียว พวกนี้มีบทบาท ในการดูดซับแร่ธาตุอาหาร และ การเปลี่ยน
ประจุบวกต่ำ (low activity clay) จึงทำให้ความอุดมสมบูรณ์ ของดิน
ตามธรรมชาติต่ำด้วย
2. ดินที่มีปัญหาพิเศษ (problem soils) จากการสำรวจ และ ทำแผนที่ดิน
ของ กรมพัฒนาที่ดินพบว่ามีดินบางชนิดที่มีสมบัติทางกายภาพ และ ทางเคมี
เป็นอุปสรรคหรือข้อกำจัด ในการใช้ประโยชน์ ในการเกษตร โดยเฉพาะ
การเพาะปลูกพืช จำเป็นต้องมีการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไข เพื่อเพิ่มศักยภาพ
ในการผลิต ของดินเหล่านั้น ดินที่มีปัญหาพิเศษที่กล่าวนี้ พอแยกออกได้ตาม
สภาพ ของปัญหาหรือข้อจำกัด ดัง ต่อไปนี้
2.1 ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดกำมะถัน (acid sulphate soils)
เป็นดินที่มีค่า ของความเป็นกรด (pH) ต่ำกว่า 4.0 ตั้ง แต่ชั้นถัด
จากผิวดินลงไป (sud surface) และ ในชั้นที่มี สารสีเหลือง ฟางข้าว
เกิดขึ้น (jarosite) ค่า ของ PH อาจลงต่ำถึง 3.5 หรือต่ำกว่า ถ้าใน
กรณี เช่น นี้ดินไม่สามารถปลูกพืชอะไรขึ้นแม้ แต่ข้าว จึงมักถูกทอดทิ้ง
ให้เป็น ที่ว่างเปล่า มีหญ้าขึ้นปกคลุม การที่ไม่สามารถปลูกข้าวหรือพืช
อย่างอื่นก็เนื่องจาก มีสารพวกเหล็ก และ อะลูมินัมละลาย ออกมาเป็น
พิษ ต่อพืช และ ยังทำให้ธาตุ ที่จำเป็น ต่อการเจริญเติบโต ของพืช
บาง อย่างไม่ละลายมาเป็นประโยชน์ ต่อพืชด้วย โดยเฉพาะ
ธาตุฟอสฟอรัส จะถูกตรึงไว้ (fixation) และ อยู่ในรูป ที่ไม่เป็น
ประโยชน์ ต่อพืช ดังนั้น จึงถือว่าเป็นดิน ที่มีปัญหาพิเศษ ที่จะต้อง
ปรับปรุง และ แก้ไขให้เกิดประโยชน์ ในการใช้เพาะปลูกได้
ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดกำมะถันทีกล่าว พบมีเนื้อที่ประมาณ 9.0 ล้านไร่
หรือร้อยละ 2.81 ของพื้นที่ประเทศ พบมาก ในที่ราบภาคกลางตอนใต้
ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ พบกระจัดกระจาย บริเวณชายฝั่งทะเล ในสภาพ
พื้นที่ ที่น้ำทะเลเคยท่วมถึงมาก่อน
2.2 ดินเค็ม (saline and sodic soils) เป็นดิน ที่มีเกลือ
ที่ละลายน้ำได้เป็นองค์ประกอบอยู่สูงจนเป็นอันตราย ต่อพืช
ที่ปลูก ดินเค็ม ที่พบ ในประเทศไทยพบมากที่สุด ในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 17 ล้านไร่ หรือร้อยละ 5.5 ของพื้นที่
ทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังพบดินเค็มบริเวณชายฝั่งทะเล (coastal
saline soils) มีเนื้อที่รวมกันแล้วประมาณ 3 ล้านไร่ รวม กับดินเค็ม
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ถึง 20 ล้านไร่ ซึ่งดินเค็ม ที่กล่าวนี้
มีศักยภาพ ในการให้ผลผลิตพืช ที่ปลูกต่ำ บางแห่งไม่สามารถปลูกพืช
ได้เลย โดยเฉพาะบริเวณดินเค็ม ที่กล่าว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่มีคราบเกลือ (salt crusts) ปรากฏ ขึ้น ที่ผิวดิน ในช่วงฤดูแล้ง
ซึ่งแสดงว่าดินเค็มจัด ส่วนดินเค็มชายทะเลมีใช้ประโยชน์
ในการทำนาเกลือ ปลูกผลไม้ โดยการยกร่องเป็นต้นว่า มะพร้าว และ
ยังคงสภาพป่าชายเลนปกคลุมอยู่ นอกจากนี้ บางพื้นที่ใช้ประโยชน์
ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เช่น กุ้ง หอย ปู และ ปลา เป็นต้น
2.3 ดินทรายจัด (sand
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การปรับปรุงบำรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ (วิธีธรรมชาติสำหรับปรับปรุงดิน) ลักษณะของดิน ดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกนั้นจะต้องประกอบด้วยสมบัติ 3 ประการคือ 1. สมบัติทางเคมีคือดินต้องมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหารพืชซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารพืชหลักไนโตรเจนฟอสฟอรัสและโพแทสเซี่ยมธาตุอาหารรองประกอบด้วยแคลเซียมแมกนีเซียมกำมะถันธาตุอาหารเสริมประกอบด้วยเหล็กสังกะสีทองแดงโบรอนโมลิบดินัมแมงกานีสและคลอรีนและมีปฏิกิริยาของดินที่เป็นกลางคือดินต้องไม่เป็นกรดเป็นด่างหรือมีความเค็มจนเกินไป2. สมบัติทางกายภาพคือดินต้องมีความสมดุลของอากาศและน้ำกล่าวคือดินต้องมีโครงสร้างที่ดีมีการร่วนซุยอากาศถ่ายเทได้ดีมีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดีเม็ดดินเกาะกันอย่างหลวม ๆ เพื่อช่วยให้รากพืชสามารถแผ่ขยายและชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่ายในระยะที่กว้างและไกลเป็นดินที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง3. สมบัติทางชีวภาพ คือ เป็นดิน ที่มีความสมดุล ของจุลินทรีย์ กล่าวคือ เป็นดิน ที่มีจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นประโยชน์ ในปริมาณมาก ซึ่งสามารถควบคุมจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นโทษ แก่พืชได้เป็น อย่างดี และ จุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ ในดิน สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่พืชได้ดี เช่น สามารถย่อยแร่ธาตุ ในดิน ที่ยังไม่เป็นประโยชน์ แก่พืช หรือให้ประโยชน์น้อยให้เป็นประโยชน์ แก่พืช และ เพิ่มปริมาณ ที่มากขึ้น ตรึงธาตุอาหารพืชจากอากาศให้เป็นประโยชน์ แก่พืช สร้างสารปฏิชีวนะปราบโรค และ ศัตรูพืช ในดินได้ เสริมสร้างพลังให้ แก่พืช และ ทำลายสารพิษ ในดินได้ ดิน ที่มีปัญหา ดิน ที่ใช้ทำการเพาะปลูกทั่วไป ของประเทศไทยส่วนใหญ่ มักจะขาด ความอุดมสมบูรณ์ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โครงสร้าง ของดินไม่ดี แน่นทึบ ไม่อุ้มน้ำ มีจุลินทรีย์ ในดินน้อย เนื่องจากสภาพ ที่ไม่เหมาะสม ทั้งนี้ อันเนื่อง มาจากได้ใช้ดิน เพื่อการเพาะปลูก อย่าง ต่อเนื่อง โดยขาดการปรับปรุง และ บำรุงรักษา การทำการเกษตรกรรม ที่ไม่เหมาะสม ใช้ ที่ดินผิดประเภท ตลอดจนแหล่งกำเนิด ของดินเอง เช่น ดินทราย ดินลูกรัง ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินด่าง เป็นต้น ทำให้ขาดความสมดุล ในด้านสมบัติทางเคมี กายภาพ และ ชีวภาพ จำเป็นต้องทำการปรับปรุง และ หาทางแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์ ในการใช้ เพื่อการเพาะปลูก ต่อไป ต่อไปนี้ขอแนะนำให้ท่านทราบถึงดิน ที่มีปัญหาชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ซึ่งต้องหาทางปรับปรุงให้กลับมาใช้ ประโยชน์ได้ ซึ่งจากการสำรวจ ของกรมพัฒนา ที่ดินพบว่า ทรัพยากรดิน ของประเทศไทย มีปัญหาด้านกายภาพหรือด้านคุณภาพ ซึ่งจำแนกได้ดัง ต่อไปนี้ 1. ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ ของดินต่ำ และ เสื่อมลง จากรายงานการสำรวจ และ จำแนกชนิดดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน ที่ดำเนินการ ในจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทยพบว่า ดินส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ โดยธรรมชาติ ทั้งนี้เนื่องจาก ประเทศตั้งอยู่ ในเขตศูนย์สูตร อุณหภูมิสูง และ มีปริมาณฝนตกมาก การสลายตัว ของหินแร่ ที่เป็นวัตถุต้นกำเนิด ของดินเป็นไป อย่างรวดเร็ว และ มีการชะล้างแร่ธาตุอาหารพืช ออกไปจากดิน ในอัตรสูง ในช่วง ฤดูฝน ถูกพัดพาไป กับน้ำ ที่ไหลลงสู่ ที่ต่ำ ได้ แก่ แม่น้ำลำคลอง และ ลงสู่ทะเล ในที่สุดจากการสลายตัว ของหินแร่ ในดินดำเนินไป อย่างมาก และ รวดเร็วนี้เอง ทำให้ดิน ในประเทศไทย ส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วย แร่ดินเหนียว เคโอลิไนท์ (Kaolinite) แร่เหล็ก และ อลูมินัมออกไซด์ (hydrous oxide clay) ซึ่งแร่ดินเหนียว พวกนี้มีบทบาท ในการดูดซับแร่ธาตุอาหาร และ การเปลี่ยนประจุบวกต่ำ (low activity clay) จึงทำให้ความอุดมสมบูรณ์ ของดิน ตามธรรมชาติต่ำด้วย2. ดินที่มีปัญหาพิเศษ (problem soils) จากการสำรวจ และ ทำแผนที่ดิน ของ กรมพัฒนาที่ดินพบว่ามีดินบางชนิดที่มีสมบัติทางกายภาพ และ ทางเคมี เป็นอุปสรรคหรือข้อกำจัด ในการใช้ประโยชน์ ในการเกษตร โดยเฉพาะ การเพาะปลูกพืช จำเป็นต้องมีการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไข เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการผลิต ของดินเหล่านั้น ดินที่มีปัญหาพิเศษที่กล่าวนี้ พอแยกออกได้ตามสภาพ ของปัญหาหรือข้อจำกัด ดัง ต่อไปนี้2.1 ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดกำมะถัน (acid sulphate soils) เป็นดินที่มีค่า ของความเป็นกรด (pH) ต่ำกว่า 4.0 ตั้ง แต่ชั้นถัด จากผิวดินลงไป (sud surface) และ ในชั้นที่มี สารสีเหลือง ฟางข้าว เกิดขึ้น (jarosite) ค่า ของ PH อาจลงต่ำถึง 3.5 หรือต่ำกว่า ถ้าในกรณี เช่น นี้ดินไม่สามารถปลูกพืชอะไรขึ้นแม้ แต่ข้าว จึงมักถูกทอดทิ้ง ให้เป็น ที่ว่างเปล่า มีหญ้าขึ้นปกคลุม การที่ไม่สามารถปลูกข้าวหรือพืช อย่างอื่นก็เนื่องจาก มีสารพวกเหล็ก และ อะลูมินัมละลาย ออกมาเป็นพิษ ต่อพืช และ ยังทำให้ธาตุ ที่จำเป็น ต่อการเจริญเติบโต ของพืชบาง อย่างไม่ละลายมาเป็นประโยชน์ ต่อพืชด้วย โดยเฉพาะ ธาตุฟอสฟอรัส จะถูกตรึงไว้ (fixation) และ อยู่ในรูป ที่ไม่เป็นประโยชน์ ต่อพืช ดังนั้น จึงถือว่าเป็นดิน ที่มีปัญหาพิเศษ ที่จะต้อง ปรับปรุง และ แก้ไขให้เกิดประโยชน์ ในการใช้เพาะปลูกได้
ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดกำมะถันทีกล่าว พบมีเนื้อที่ประมาณ 9.0 ล้านไร่
หรือร้อยละ 2.81 ของพื้นที่ประเทศ พบมาก ในที่ราบภาคกลางตอนใต้
ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ พบกระจัดกระจาย บริเวณชายฝั่งทะเล ในสภาพ
พื้นที่ ที่น้ำทะเลเคยท่วมถึงมาก่อน
2.2 ดินเค็ม (saline and sodic soils) เป็นดิน ที่มีเกลือ
ที่ละลายน้ำได้เป็นองค์ประกอบอยู่สูงจนเป็นอันตราย ต่อพืช
ที่ปลูก ดินเค็ม ที่พบ ในประเทศไทยพบมากที่สุด ในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 17 ล้านไร่ หรือร้อยละ 5.5 ของพื้นที่
ทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังพบดินเค็มบริเวณชายฝั่งทะเล (coastal
saline soils) มีเนื้อที่รวมกันแล้วประมาณ 3 ล้านไร่ รวม กับดินเค็ม
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ถึง 20 ล้านไร่ ซึ่งดินเค็ม ที่กล่าวนี้
มีศักยภาพ ในการให้ผลผลิตพืช ที่ปลูกต่ำ บางแห่งไม่สามารถปลูกพืช
ได้เลย โดยเฉพาะบริเวณดินเค็ม ที่กล่าว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่มีคราบเกลือ (salt crusts) ปรากฏ ขึ้น ที่ผิวดิน ในช่วงฤดูแล้ง
ซึ่งแสดงว่าดินเค็มจัด ส่วนดินเค็มชายทะเลมีใช้ประโยชน์
ในการทำนาเกลือ ปลูกผลไม้ โดยการยกร่องเป็นต้นว่า มะพร้าว และ
ยังคงสภาพป่าชายเลนปกคลุมอยู่ นอกจากนี้ บางพื้นที่ใช้ประโยชน์
ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เช่น กุ้ง หอย ปู และ ปลา เป็นต้น
2.3 ดินทรายจัด (sand
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การปรับปรุงบำรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ
(วิธีธรรมชาติสำหรับการปรับปรุงดิน)
ลักษณะของดิน
ดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกนั้นจะต้องประกอบด้วยสมบัติ 3 ประการคือ1 สมบัติทางเคมีคือดินต้องมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหารพืชซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารพืชหลักไนโตรเจนฟอสฟอรัสและโพแทสเซี่ยมธาตุอาหารรองประกอบด้วยแคลเซียมแมกนีเซียมกำมะถันธาตุอาหารเสริมประกอบด้วยเหล็กสังกะสีทองแดงโบรอนโมลิบดินัมแมงกานีสและ คลอรีนและมีปฏิกิริยาของดินที่เป็นกลาง สมบัติทางกายภาพคือดินต้องมีความสมดุลของอากาศและน้ำกล่าวคือดินต้องมีโครงสร้างที่ดีมีการร่วนซุยอากาศถ่ายเทได้ดีมีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดีเม็ดดินเกาะกันอย่างหลวม ๆ เพื่อช่วยให้รากพืชสามารถ แผ่ขยายและชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่ายในระยะที่กว้างและไกลเป็นดินที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง3 สมบัติทางชีวภาพคือเป็นดินที่มีความสมดุลของจุลินทรีย์กล่าวคือเป็นดินที่มีจุลินทรีย์และสิ่งที่มีชีวิตเล็ก ๆ ในดินที่เป็นประโยชน์ในปริมาณมากซึ่งสามารถควบคุมจุลินทรีย์และสิ่งที่มีชีวิตเล็ก ๆ ในดินที่เป็นโทษ แก่พืชได้เป็นอย่างดีและจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดินสามารถสร้างกิจกรรมต่างๆที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่พืชได้ดีเช่นสามารถย่อยแร่ธาตุในดินที่ยังไม่เป็นประโยชน์แก่พืช แก่พืชและเพิ่มปริมาณที่มากขึ้น แก่พืชสร้างสารปฏิชีวนะปราบโรคและศัตรูพืชในดินได้เสริมสร้างพลังให้แก่พืชและทำลายสารพิษในดินได้ดินที่มีปัญหาดินที่ใช้ทำการเพาะปลูกทั่วไปของประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะขาดความอุดมสมบูรณ์ดินมีความ อุดมสมบูรณ์ต่ำโครงสร้างของดินไม่ดีแน่นทึบไม่อุ้มน้ำมีจุลินทรีย์ในดินน้อยเนื่องจากสภาพที่ไม่เหมาะสมทั้งนี้อันเนื่องมาจากได้ใช้ดินเพื่อการเพาะปลูกอย่างต่อเนื่องโดยขาดการปรับปรุงและบำรุงรักษาการทำการเกษตรกรรมที่ไม่เหมาะสม ใช้ที่ดินผิดประเภทตลอดจนแหล่งกำเนิดของดินเองเช่นดินทรายดินลูกรังดินเปรี้ยวดินเค็มดินด่างเป็นต้นทำให้ขาดความสมดุลในด้านสมบัติทางเคมีกายภาพและชีวภาพจำเป็นต้องทำการปรับปรุงและหาทางแก้ไขเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการใช้เพื่อการ เพาะปลูกต่อไป ในประเทศไทย ซึ่งจากการสำรวจของกรมพัฒนาที่ดินพบว่าทรัพยากรดินของประเทศไทยมีปัญหาด้านกายภาพหรือด้านคุณภาพซึ่งจำแนกได้ดังต่อไปนี้1 ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำและเสื่อมลงจากรายงานการสำรวจและจำแนกชนิดดินของกรมพัฒนาที่ดินที่ดำเนินการในจังหวัดต่างๆของประเทศไทยพบว่าดินส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำโดยธรรมชาติทั้งนี้เนื่องจากประเทศตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร อุณหภูมิสูงและมีปริมาณฝนตกมากการสลายตัวของหินแร่ที่เป็นวัตถุต้นกำเนิดของดินเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีการชะล้างแร่ธาตุอาหารพืชออกไปจากดินในอัตรสูงในช่วงฤดูฝนถูกพัดพาไปกับ น้ำที่ไหลลงสู่ที่ต่ำได้แก่แม่น้ำลำคลองและลงสู่ทะเลในที่สุดจากการสลายตัวของหินแร่ในดินดำเนินไปอย่างมากและรวดเร็วนี้เองทำให้ดินในประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยแร่ดินเหนียวเคโอลิไน ท์(kaolinite) แร่เหล็กและอลูมินัมออกไซด์ (hydrous ดินออกไซด์) ซึ่งแร่ดินเหนียวพวกนี้มีบทบาทในการดูดซับแร่ธาตุอาหารและการบประจุบวกต่ำ (ดินกิจกรรมต่ำ) จึงทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของ ดินตามธรรมชาติต่ำด้วย2 ดินที่มีปัญหาพิเศษ (ดินปัญหา) จากการสำรวจและทำแผนที่ดินของ และทางเคมีเป็นอุปสรรคหรือข้อกำจัดในการใช้ประโยชน์ในการเกษตรโดยเฉพาะการเพาะปลูกพืช เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตของดินเหล่านั้นดินที่มีปัญหาพิเศษที่กล่าวนี้พอแยกออกได้ตามสภาพของปัญหาหรือข้อ จำกัด ดังต่อไปนี้2.1 ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกำมะถัน (ดินกรดซัลเฟต) เป็นดินที่มีค่าของ ความเป็นกรด (pH) ต่ำกว่า 4.0 ตั้ง แต่ชั้นถัดจากผิวดินลงไป (พื้นผิว sud) และในชั้นที่มีสารสีเหลืองฟางข้าวเกิดขึ้น (jarosite) ค่าของ PH อาจลงต่ำถึง 3.5 หรือต่ำกว่าถ้าในกรณีเช่นนี้ดินไม่สามารถปลูกพืชอะไรขึ้นแม้ แต่ข้าวจึงมักถูกทอดทิ้งให้เป็นที่ว่างเปล่ามีหญ้าขึ้นปกคลุม มีสารพวกเหล็กและอะลูมินัมละลายออกมาเป็นพิษต่อพืชและยังทำให้ธาตุที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชบางอย่างไม่ละลายมาเป็นประโยชน์ต่อพืชด้วยโดยเฉพาะธาตุฟอสฟอรัสจะถูกตรึงไว้ (ตรึง) และอยู่ในรูป ที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อพืชดังนั้นจึงถือว่าเป็นดินที่มีปัญหาพิเศษที่จะต้องปรับปรุงและแก้ไขให้เกิดประโยชน์ในการใช้เพาะปลูกได้ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกำมะถันทีกล่าวพบมีเนื้อที่ประมาณ 9.0 ล้านไร่หรือร้อยละ 2.81 ของพื้นที่ ประเทศพบมากในที่ราบภาคกลางตอนใต้ภาคตะวันออกและภาคใต้พบกระจัดกระจายแห่งในชายฝั่งทะเลในสภาพพื้นที่ที่น้ำทะเลเคยท่วมถึงมาก่อน2.2 ดินเค็ม (น้ำเกลือและดิน Sodic) เป็นดิน ต่อพืชที่ปลูกดินเค็มที่พบในประเทศไทยพบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ประมาณ 17 ล้านไร่หรือร้อยละ 5.5 ของพื้นที่ทั้งประเทศ (ชายฝั่งดินเค็ม) มีเนื้อที่รวมกันแล้วประมาณ 3 ล้านไร่รวมกับดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ถึง 20 ล้านไร่ซึ่งดินเค็มที่กล่าวนี้มีศักยภาพในการให้ผลผลิตพืชที่ปลูกต่ำบางแห่งไม่สามารถปลูกพืชได้ เลยโดยเฉพาะบริเวณดินเค็มที่กล่าว (เปลือกเกลือ) ปรากฏขึ้นที่ผิวดิน ปลูกผลไม้โดยการยกร่องเป็นต้นว่ามะพร้าวและยังคงสภาพป่าชายเลนปกคลุมอยู่ทางบ้านนี้ เช่นกุ้งหอยปูและปลาเป็นต้น2.3 ดินทรายจัด (ทราย









































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การปรับปรุงบำรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ
( การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ )

ลักษณะของดินดินที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกนั้นจะต้องประกอบด้วยสมบัติ 3 ประการความ

1สมบัติทางเคมีความดินต้องมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหารพืชซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารพืชหลักไนโตรเจนฟอสฟอรัสและโพแทสเซี่ยมธาตุอาหารรองประกอบด้วยแคลเซียมแมกนีเซียมกำมะถันธาตุอาหารเสริมประกอบด้วยเหล็กทองแดงโบรอนโมลิบดินัมแมงกานีสและคลอรีนและมีปฏิกิริยาของดินที่เป็นกลางคือดินต้องไม่เป็นกรดเป็นด่างหรือมีความเค็มจนเกินไป
2 .สมบัติทางกายภาพความดินต้องมีความสมดุลของอากาศและ a rescue กล่าวคือดินต้องมีโครงสร้างที่ดีมีการร่วนซุยอากาศถ่ายเทได้ดีมีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดีเม็ดดินเกาะกันอย่างหลวมๆและชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่ายในระยะที่กว้างและไกลเป็นดินที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: