สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310) ราวสมัย พ.ศ. 1893 สมัยพระเจ้าอู่ท การแปล - สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310) ราวสมัย พ.ศ. 1893 สมัยพระเจ้าอู่ท ไทย วิธีการพูด

สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310

สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310)

ราวสมัย พ.ศ. 1893 สมัยพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา ชาวบ้านปลดกางเกงหรือ สนับเพลาออกบ้างแล้ว คงใช้เฉพาะขุนนางข้าราชสำนัก แบบขัดเขมรจึงถูกปล่อยให้ยาวลงมาถึง ใต้เข่าเป็น “นุ่งโจงกระเบน” เสื้อคอกลมแขนกรอมศอก สตรีนุ่งผ้าและผ้ายกห่มสไบเฉียง สวมเสื้อ บ้างโดยมากเป็นแขนกระบอก

การแต่งกายของสมัยอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์บ้านเมือง ซึ่งมี 3 แบบ ดังนี้
1. การแต่งกายตามกฎมณเฑียรบาล เป็นแบบของเจ้านาย ข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ ทั้ง ผู้ชายและผู้หญิงตลอดจนพวกมีฐานะจะแต่งตามไปด้วย ผู้หญิงยังมีการเกล้ามวยอยู่
2. การแต่งกายแบบชาวบ้าน (ระยะกลางของสมัยอยุธยา) มีการนุ่งโจงกระเบนทางแถบ เมืองเหนือ ผู้ชายอาจไว้ผมยาว ส่วนทางใต้ลงมาตัดผมสั้น ลง ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการไว้ผมมหาดไทย ผู้หญิงยังคงไว้ผมยาวนิยมห่มสไบ
3. ยุคสงคราม (สมัยอยุธยาตอนปลาย) ทั้งผู้ชายและผู้หญิงต้องช่วยกันต่อสู้กับศัตรู ผู้หญิงตัดผมสั้น ลง เพื่อปลอมเป็นผู้ชาย และสะดวกในการหลบหนี เสื้อผ้าอาภรณ์จึงตัดทอน ไม่ให้รุ่มร่าม เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่และเคลื่อนไหว มีการห่มผ้าตะเบงมานคือห่มไขว้กัน บริเวณหน้าอกแล้วรวบไปผูกไว้หลังคอ ส่วนผู้ชายไม่มีการเปลี่ยนแปลง (อภิโชค แซ่โค้ว, 2542: 22)
การแต่งกายยุคกรุงศรีอยุธยา จึงแบ่งออกเป็น 4 สมัย ดังนี้ (สมภพ จันทรประภา, 2526: 28)

สมัยที่ 1 พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2031

หญิง
ผม ยังคงเกล้าผม การเกล้ามี 2 แบบ คือ เกล้าไว้ท้ายทอย และเกล้าสูงบน(หนูนหยิก) ศีรษะมีเครื่องประดับเรียกว่า เกี้ยว เป็นเครื่องรัดมวยผม

เครื่องประดับ สร้อยตัว สร้อยข้อมือ กำไล ต่างหู

เครื่องแต่งกาย นุ่งซิ่นจีบหน้า สวมเสื้อ แขนกระบอก คอกลม ผ่าหน้า เสื้อ ยาวเข้ารูป มีผ้าคลุมสะโพกไว้ด้านในของตัวเสื้อ แต่ปล่อยชายออกด้านนอก ต่อมาได้ต่อเข้ากับตัวเสื้อ เป็น ชายเสื้อลงมาอีกทีหนึ่ง

ชาย
ผม มหาดเล็กและคนรับใช้ตัดผมสั้น ชายยังคงเกล้าผมกลางกระหม่อมเช่นเดียวกับ หญิง

เครื่องแต่งกาย นุ่งกางเกงยาวลงมาแค่หน้าแข้ง ปลายขาเรียวเล็กกว่าเดิม นุ่งผ้าหยักรั้ง แบบเขมรซ้อนทับกางเกง ชายผ้ายาวเสมอเข่า ใช้ผ้าคาดเอว สวมเสื้อคอแหลม แขนยาวจรดข้อมือ ผ่าอก สาบซ้ายทับสาบขวา มีผ้ากุ๊นตรงปลายแหลม คอ สาบหน้า และชายเสื้อ

เครื่องประดับ จากหลักฐานการขุดกรุใต้พระปรางค์วัดราชบูรณะพบว่า ส่วนบนของ มงกุฎที่ครอบมวยพระเศียรของกษัตริย์ พาหุรัดหรือทองกร เครื่องประดับศีรษะถักด้วยลวดทองคำ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 ถึงพ.ศ. 2310) ราวสมัยพ.ศ. 1893 สมัยพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยาชาวบ้านปลดกางเกงหรือสนับเพลาออกบ้างแล้วคงใช้เฉพาะขุนนางข้าราชสำนักแบบขัดเขมรจึงถูกปล่อยให้ยาวลงมาถึงใต้เข่าเป็น "นุ่งโจงกระเบน" เสื้อคอกลมแขนกรอมศอกสตรีนุ่งผ้าและผ้ายกห่มสไบเฉียงสวมเสื้อบ้างโดยมากเป็นแขนกระบอก การแต่งกายของสมัยอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์บ้านเมืองซึ่งมี 3 ดังนี้คำประกอบ1. การแต่งกายตามกฎมณเฑียรบาลเป็นแบบของเจ้านายข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งผู้ชายและผู้หญิงตลอดจนพวกมีฐานะจะแต่งตามไปด้วยผู้หญิงยังมีการเกล้ามวยอยู่ 2. การแต่งกายแบบชาวบ้าน (ระยะกลางของสมัยอยุธยา) มีการนุ่งโจงกระเบนทางแถบเมืองเหนือผู้ชายอาจไว้ผมยาวส่วนทางใต้ลงมาตัดผมสั้นลงครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้มีการไว้ผมมหาดไทยผู้หญิงยังคงไว้ผมยาวนิยมห่มสไบ 3. ยุคสงคราม (สมัยอยุธยาตอนปลาย) ทั้งผู้ชายและผู้หญิงต้องช่วยกันต่อสู้กับศัตรูผู้หญิงตัดผมสั้นลงเพื่อปลอมเป็นผู้ชายและสะดวกในการหลบหนีเสื้อผ้าอาภรณ์จึงตัดทอนไม่ให้รุ่มร่ามเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวมีการห่มผ้าตะเบงมานคือห่มไขว้กันบริเวณหน้าอกแล้วรวบไปผูกไว้หลังคอส่วนผู้ชายไม่มีการเปลี่ยนแปลง (อภิโชคแซ่โค้ว 2542:22)การแต่งกายยุคกรุงศรีอยุธยา จึงแบ่งออกเป็น 4 สมัย ดังนี้ (สมภพ จันทรประภา, 2526: 28) สมัยที่ 1 พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2031 หญิง ผม ยังคงเกล้าผม การเกล้ามี 2 แบบ คือ เกล้าไว้ท้ายทอย และเกล้าสูงบน(หนูนหยิก) ศีรษะมีเครื่องประดับเรียกว่า เกี้ยว เป็นเครื่องรัดมวยผม เครื่องประดับ สร้อยตัว สร้อยข้อมือ กำไล ต่างหู เครื่องแต่งกาย นุ่งซิ่นจีบหน้า สวมเสื้อ แขนกระบอก คอกลม ผ่าหน้า เสื้อ ยาวเข้ารูป มีผ้าคลุมสะโพกไว้ด้านในของตัวเสื้อ แต่ปล่อยชายออกด้านนอก ต่อมาได้ต่อเข้ากับตัวเสื้อ เป็น ชายเสื้อลงมาอีกทีหนึ่ง ชาย ผม มหาดเล็กและคนรับใช้ตัดผมสั้น ชายยังคงเกล้าผมกลางกระหม่อมเช่นเดียวกับ หญิง เครื่องแต่งกายนุ่งกางเกงยาวลงมาแค่หน้าแข้งปลายขาเรียวเล็กกว่าเดิมนุ่งผ้าหยักรั้งแบบเขมรซ้อนทับกางเกงชายผ้ายาวเสมอเข่าใช้ผ้าคาดเอวสวมเสื้อคอแหลมแขนยาวจรดข้อมือผ่าอกสาบซ้ายทับสาบขวามีผ้ากุ๊นตรงปลายแหลมคอสาบหน้าและชายเสื้อ เครื่องประดับจากหลักฐานการขุดกรุใต้พระปรางค์วัดราชบูรณะพบว่าส่วนบนของมงกุฎที่ครอบมวยพระเศียรของกษัตริย์พาหุรัดหรือทองกรเครื่องประดับศีรษะถักด้วยลวดทองคำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สมัยอยุธยา ( พ . ศ . 1893 ถึงพ . ศ . 2310 )

ราวสมัยพ . ศ .1893 สมัยพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยาชาวบ้านปลดกางเกงหรือสนับเพลาออกบ้างแล้วคงใช้เฉพาะขุนนางข้าราชสำนักแบบขัดเขมรจึงถูกปล่อยให้ยาวลงมาถึงใต้เข่าเป็น " นุ่งโจงกระเบน " เสื้อคอกลมแขนกรอมศอกสวมเสื้อบ้างโดยมากเป็นแขนกระบอก

การแต่งกายของสมัยอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์บ้านเมืองซึ่งมี 3 แบบดังนี้
1การแต่งกายตามกฎมณเฑียรบาลเป็นแบบของเจ้านายข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งผู้ชายและผู้หญิงตลอดจนพวกมีฐานะจะแต่งตามไปด้วยผู้หญิงยังมีการเกล้ามวยอยู่
2การแต่งกายแบบชาวบ้าน ( ระยะกลางของสมัยอยุธยา ) มีการนุ่งโจงกระเบนทางแถบเมืองเหนือผู้ชายอาจไว้ผมยาวส่วนทางใต้ลงมาตัดผมสั้นลงครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้มีการไว้ผมมหาดไทย
3 .ยุคสงคราม ( สมัยอยุธยาตอนปลาย ) ทั้งผู้ชายและผู้หญิงต้องช่วยกันต่อสู้กับศัตรูผู้หญิงตัดผมสั้นลงเพื่อปลอมเป็นผู้ชายและสะดวกในการหลบหนีเสื้อผ้าอาภรณ์จึงตัดทอนไม่ให้รุ่มร่ามมีการห่มผ้าตะเบงมานคือห่มไขว้กันบริเวณหน้าอกแล้วรวบไปผูกไว้หลังคอส่วนผู้ชายไม่มีการเปลี่ยนแปลง ( แซ่โค้วอภิโชค ,2542 : 18 )
การแต่งกายยุคกรุงศรีอยุธยาจึงแบ่งออกเป็น 4 สมัยดังนี้ ( สมภพจันทรประภา 2526 , : 28 )

สมัยที่ 1 พ . ศ . 1893 ถึงพ . ศ . การหญิง

ผมยังคงเกล้าผมการเกล้ามี 2 แบบความเกล้าไว้ท้ายทอยและเกล้าสูงบน ( หนูนหยิก ) ศีรษะมีเครื่องประดับเรียกว่าเกี้ยวเป็นเครื่องรัดมวยผม

เครื่องประดับสร้อยตัวสร้อยข้อมือกำไลต่างหู

เครื่องแต่งกายนุ่งซิ่นจีบหน้าสวมเสื้อแขนกระบอกคอกลมผ่าหน้าเสื้อยาวเข้ารูปมีผ้าคลุมสะโพกไว้ด้านในของตัวเสื้อแต่ปล่อยชายออกด้านนอกต่อมาได้ต่อเข้ากับตัวเสื้อเป็นชายเสื้อลงมาอีกทีหนึ่ง


ชายผมมหาดเล็กและคนรับใช้ตัดผมสั้นชายยังคงเกล้าผมกลางกระหม่อมเช่นเดียวกับหญิง

เครื่องแต่งกายนุ่งกางเกงยาวลงมาแค่หน้าแข้งปลายขาเรียวเล็กกว่าเดิมนุ่งผ้าหยักรั้งแบบเขมรซ้อนทับกางเกงชายผ้ายาวเสมอเข่าใช้ผ้าคาดเอวสวมเสื้อคอแหลมแขนยาวจรดข้อมือผ่าอกสาบซ้ายทับสาบขวาคอสาบหน้าและชายเสื้อ

เครื่องประดับจากหลักฐานการขุดกรุใต้พระปรางค์วัดราชบูรณะพบว่าส่วนบนของมงกุฎที่ครอบมวยพระเศียรของกษัตริย์พาหุรัดหรือทองกรเครื่องประดับศีรษะถักด้วยลวดทองคำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: