ประวัติความเป็นมา ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนา การแปล - ประวัติความเป็นมา ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนา ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมา ของพิพิธภัณฑสถานแ

ประวัติความเป็นมา ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนาการมายาวนานนับพันปี ตั้งแต่สมัยกรีก โรมัน โดยเริ่มจากพิพิธภัณฑสถานในพระราชวังและส่วนบุคคล แล้วมีพัฒนาการด้านความเจริญก้าวหน้าและแผ่ขยายไปในประเทศต่างๆ

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงปูพื้นฐานงานพิพิธภัณฑสถานเป็นปฐม เพราะทรงสนพระทัยเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดี ตั้งแต่ยังทรงผนวช เมื่อเสด็จธุดงค์ไปตามหัวเมืองต่างๆ ได้ทอดพระเนตรโบราณสถาน โบราณวัตถุหลายสมัย จึงทรงรวบรวมโบราณวัตถุต่างๆ ไว้เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ทรงจัดพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ขึ้นเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งราชฤดี ตึกแบบฝรั่งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยด้านตะวันออก จัดเป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ และโปรดเกล้าฯ ให้ราชอาคันตุกะคณะทูตชาวต่างประเทศได้เข้าชมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุในโอกาสสำคัญ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการเริ่มการจัดพิพิธภัณฑสถานขึ้นในราชอาณาจักรไทยนอกจากพระที่นั่งราชฤดีแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระอภิเนาวนิเวศน์ขึ้นด้านหลังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๙ ซึ่งมีพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์เป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่อยู่ห้องหนึ่ง และทรงใช้เป็นที่จัดแสดงโบราณวัตถุและของแปลกประหลาดต่าง ๆ ที่ย้ายมาจากพระที่นั่งราชฤดีโดยเฉพาะ จากการที่ทรงสนพระราชหฤทัยในโบราณศิลปวัตถุเช่นนี้ ทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนางผู้ใหญ่และคหบดีทั่วไปสนใจไปด้วยและมีผู้นำของโบราณขึ้นทูลเกล้าฯ และน้อมเกล้าฯ ถวายอยู่เสมอ ความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆก็แพร่หลายยิ่งขึ้น ดังได้พบพระราชนิพนธ์และพระบรมราชาธิบายของพระองค์ อยู่จำนวนมาก และความรู้นี้ยิ่งแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เพราะจากการที่พระองค์เสด็จประพาสประเทศ ต่าง ๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปนั้น ทำให้พระองค์ทรงมีโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตร พิพิธภัณฑสถานในประเทศนั้น ๆ ก็ทรงนำแบบอย่างการจัดพิพิธภัณฑสถานมาจัด ทำในประเทศไทยด้วยเช่นกัน อาทิ ทรงนำรูปแบบอาคารหอประชุมของทหารที่เมืองปัตตาเวียมาสร้าง "หอคองคอเดีย" สำหรับเป็นที่ประชุมทหารมหาดเล็กเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๗ ทรงโปรดฯ ให้ย้ายศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ จากพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ มาจัดแสดงในมิวเซียม (Museum) ณ หอคองคอเดีย และมีพิธีเปิดหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย ในวันเสาร์ เดือนสิบ ขึ้นเก้าค่ำ ปีจอ ฉอศก ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๑๗ กรมศิลปากร จึงถือเอาวันที่ทรงประกอบพิธีเปิดมิวเซียมเป็นวันกำเนิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นพิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป

พ.ศ.๒๔๑๘ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำโบราณศิลปวัตถุออกจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานตามหลักวิชาสากล มีการแบ่งโบราณวัตถุ เป็น ๓ ประเภท และจัดแบ่งเป็นห้อง ๆ ไป ได้แก่ โบราณศิลปวัตถุของไทย ๑ ห้อง เครื่องราชูปโภคและเครื่องต้น ๑ ห้อง และศิลปวัตถุจากต่างประเทศอีก ๑ ห้อง พิพิธภัณฑสถานนี้ ซึ่งเปิดให้สาธารณชนได้เข้าชมเป็นครั้งแรก เป็นที่สนใจของประชาชนมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดแสดงเป็นพิเศษเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของทุกปี

พ.ศ.๒๔๓๐ พระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์สุดท้าย ได้เสด็จทิวงคต พระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหน้าว่างลง และด้วยเหตุที่มีประกาศยกเลิกตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล โดยตั้งตำแหน่ง "สยามมกุฎราชกุมาร" แทน ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้าย หอมิวเซียมไปตั้งอยู่ในพระราชวังบวรสถานมงคล โดยใช้พระที่นั่งส่วนหน้า ๓ หลัง เป็นที่จัดแสดงโบราณศิลปวัตถุ คือ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ และพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หอมิวเซียม หรือพิพิธภัณฑสถาน ได้ถูกยกฐานะเป็นกรมพิพิธภัณฑสถาน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ ในสังกัดกระทรวงวัง ต่อมาวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๔๓๒ กรมพิพิธภัณฑสถานถูกย้ายไปสังกัดกรมศึกษาธิการ ด้วยเหตุผลที่ว่าพิพิธภัณฑสถานก็อยู่ในสังกัดนี้ ตำแหน่งอธิบดี เปลี่ยนเป็นผู้บัญชาการ พ.ศ.๒๔๓๓ นี้ กรมพิพิธภัณฑสถานได้ย้ายสังกัดอีกครั้งโดยขึ้นกับกองบัญชี กรมกลาง กระทรวงธรรมการ พิพิธภัณฑสถานจะเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง และจะมีผู้เข้าชมมากในโอกาสงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา และพระราชพิธีฉัตรมงคล สมัยรัชการที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการประกาศตั้ง "กรรมการหอสมุดสำหรับพระนคร" เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๖๖ ให้รับผิดชอบงานสำรวจและตรวจรักษาโบราณ วัตถุสถาน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่องานด้านโบราณคดี
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนาการมายาวนานนับพันปีตั้งแต่สมัยกรีกโรมันโดยเริ่มจากพิพิธภัณฑสถานในพระราชวังและส่วนบุคคลแล้วมีพัฒนาการด้านความเจริญก้าวหน้าและแผ่ขยายไปในประเทศต่าง ๆ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์ได้ทรงปูพื้นฐานงานพิพิธภัณฑสถานเป็นปฐมเพราะทรงสนพระทัยเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดีตั้งแต่ยังทรงผนวชเมื่อเสด็จธุดงค์ไปตามหัวเมืองต่าง ๆ ได้ทอดพระเนตรโบราณสถานโบราณวัตถุหลายสมัยจึงทรงรวบรวมโบราณวัตถุต่าง ๆ ไว้เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้วทรงจัดพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ขึ้นเป็นครั้งแรกณพระที่นั่งราชฤดีตึกแบบฝรั่งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยด้านตะวันออกจัดเป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์และโปรดเกล้าฯ ให้ราชอาคันตุกะคณะทูตชาวต่างประเทศได้เข้าชมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุในโอกาสสำคัญซึ่งจัดได้ว่าเป็นการเริ่มการจัดพิพิธภัณฑสถานขึ้นในราชอาณาจักรไทยนอกจากพระที่นั่งราชฤดีแล้วพ.ศ.๒๓๙๙พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระอภิเนาวนิเวศน์ขึ้นด้านหลังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์เมื่อซึ่งมีพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์เป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่อยู่ห้องหนึ่งและทรงใช้เป็นที่จัดแสดงโบราณวัตถุและของแปลกประหลาดต่างๆ ที่ย้ายมาจากพระที่นั่งราชฤดีโดยเฉพาะจากการที่ทรงสนพระราชหฤทัยในโบราณศิลปวัตถุเช่นนี้ทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ขุนนางผู้ใหญ่และคหบดีทั่วไปสนใจไปด้วยและมีผู้นำของโบราณขึ้นทูลเกล้าฯ และน้อมเกล้าฯ ถวายอยู่เสมอความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆก็แพร่หลายยิ่งขึ้นดังได้พบพระราชนิพนธ์และพระบรมราชาธิบายของพระองค์อยู่จำนวนมากและความรู้นี้ยิ่งแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ เพราะจากการที่พระองค์เสด็จประพาสประเทศต่างๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปนั้นทำให้พระองค์ทรงมีโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตรพิพิธภัณฑสถานในประเทศนั้นๆ ก็ทรงนำแบบอย่างการจัดพิพิธภัณฑสถานมาจัดทำในประเทศไทยด้วยเช่นกันอาทิทรงนำรูปแบบอาคารหอประชุมของทหารที่เมืองปัตตาเวียมาสร้าง "หอคองคอเดีย" สำหรับเป็นที่ประชุมทหารมหาดเล็กเมื่อพ.ศ.๒๕๑๗ทรงโปรดฯ ให้ย้ายศิลปวัตถุโบราณวัตถุจากพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์มาจัดแสดงในมิวเซียม (พิพิธภัณฑ์) ณหอคองคอเดียและมีพิธีเปิดหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดียในวันเสาร์เดือนสิบขึ้นเก้าค่ำปีจอฉอศกซึ่งตรงกับวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๑๗ กรมศิลปากรจึงถือเอาวันที่ทรงประกอบพิธีเปิดมิวเซียมเป็นวันกำเนิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นพิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไปพ.ศ.๒๔๑๘พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำโบราณศิลปวัตถุออกจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานตามหลักวิชาสากลมีการแบ่งโบราณวัตถุเป็น ๓ ประเภทและจัดแบ่งเป็นห้องๆ ไปได้แก่โบราณศิลปวัตถุของไทย ๑ ห้องเครื่องราชูปโภคและเครื่องต้น ๑ ห้องและศิลปวัตถุจากต่างประเทศอีก ๑ ห้องพิพิธภัณฑสถานนี้ซึ่งเปิดให้สาธารณชนได้เข้าชมเป็นครั้งแรกเป็นที่สนใจของประชาชนมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดแสดงเป็นพิเศษเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของทุกปี พ.ศ.๒๔๓๐พระบวรราชเจ้ากรมพระราชวังบวรวิชัยชาญซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายได้เสด็จทิวงคตพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าว่างลงและด้วยเหตุที่มีประกาศยกเลิกตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลโดยตั้งตำแหน่ง "สยามมกุฎราชกุมาร"แทนดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายหอมิวเซียมไปตั้งอยู่ในพระราชวังบวรสถานมงคลโดยใช้พระที่นั่งส่วนหน้า ๓ หลังเป็นที่จัดแสดงโบราณศิลปวัตถุคือพระที่นั่งศิวโมกขพิมานพระที่นั่งพุทไธสวรรย์และพระที่นั่งอิศราวินิจฉัยหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานได้ถูกยกฐานะเป็นกรมพิพิธภัณฑสถานเมื่อพ.ศ. ๒๔๓๑ ในสังกัดกระทรวงวังต่อมาวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๔๓๒ กรมพิพิธภัณฑสถานถูกย้ายไปสังกัดกรมศึกษาธิการด้วยเหตุผลที่ว่าพิพิธภัณฑสถานก็อยู่ในสังกัดนี้ตำแหน่งอธิบดีเปลี่ยนเป็นผู้บัญชาการพ.ศ.๒๔๓๓นี้กรมพิพิธภัณฑสถานได้ย้ายสังกัดอีกครั้งโดยขึ้นกับกองบัญชีกรมกลางกระทรวงธรรมการพิพิธภัณฑสถานจะเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมสัปดาห์ละ ๒ ครั้งและจะมีผู้เข้าชมมากในโอกาสงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีฉัตรมงคลสมัยรัชการที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการประกาศตั้ง "กรรมการหอสมุดสำหรับพระนคร" เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๖๖ ให้รับผิดชอบงานสำรวจและตรวจรักษาโบราณวัตถุสถานเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่องานด้านโบราณคดี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมา ตั้งแต่สมัยกรีกโรมัน ตั้งแต่ยังทรงผนวช ได้ทอดพระเนตรโบราณสถานโบราณวัตถุหลายสมัยจึงทรงรวบรวมโบราณวัตถุต่างๆ ณ พระที่นั่งราชฤดี จัดเป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์และโปรดเกล้าฯ และศิลปวัตถุในโอกาสสำคัญ พ.ศ. 2399 ๆ ทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ และน้อมเกล้าฯถวายอยู่เสมอ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ก็แพร่หลายยิ่งขึ้น อยู่จำนวนมาก รัชกาลที่ 5 ต่าง ๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปนั้น พิพิธภัณฑสถานในประเทศนั้น ๆ ทำในประเทศไทยด้วยเช่นกันอาทิ "หอคองคอเดีย" พ.ศ. 2517 ทรงโปรดฯ ให้ย้ายศิลปวัตถุโบราณวัตถุจากพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์มาจัดแสดงในมิวเซียม (Museum) ณ หอคองคอเดีย ในวันเสาร์เดือนสิบขึ้นเก้าค่ำปีจอฉอศกซึ่งตรงกับวันที่ 19 กันยายน 2417 กรมศิลปากร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มีการแบ่งโบราณวัตถุเป็น 3 ประเภทและจัดแบ่งเป็นห้อง ๆ ไป ได้แก่ โบราณศิลปวัตถุของไทย 1 ห้องเครื่องราชูปโภคและเครื่องต้น 1 ห้องและศิลปวัตถุจากต่างประเทศอีก 1 ห้องพิพิธภัณฑสถานนี้ เป็นที่สนใจของประชาชนมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระบวรราชเจ้ากรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ พระองค์สุดท้ายได้เสด็จทิวงคตพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าว่างลง โดยตั้งตำแหน่ง "สยามมกุฎราชกุมาร" แทนดังนั้น ให้ย้าย โดยใช้พระที่นั่งส่วนหน้า 3 หลังเป็นที่จัดแสดงโบราณศิลปวัตถุคือพระที่นั่งศิวโมกขพิมานพระที่นั่งพุทไธสวรรย์และพระที่นั่งอิศราวินิจฉัยหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานได้ถูกยกฐานะเป็นกรมพิพิธภัณฑสถานเมื่อ พ.ศ. 2431 ในสังกัดกระทรวงวังต่อมาวันที่ 4 ธันวาคม 2432 ตำแหน่งอธิบดีเปลี่ยนเป็นผู้บัญชาการ พ.ศ. 2433 นี้ กรมกลางกระทรวงธรรมการ 2 ครั้ง และพระราชพิธีฉัตรมงคลสมัยรัชการที่ 6 มีพระบรมราชโองการประกาศตั้ง "กรรมการหอสมุดสำหรับพระนคร" เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2466 วัตถุสถาน






การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนาการมายาวนานนับพันปีตั้งแต่สมัยกรีกโรมันโดยเริ่มจากพิพิธภัณฑสถานในพระราชวังและส่วนบุคคล

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์ได้ทรงปูพื้นฐานงานพิพิธภัณฑสถานเป็นปฐมเพราะทรงสนพระทัยเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดีตั้งแต่ยังทรงผนวชเมื่อเสด็จธุดงค์ไปตามหัวเมืองต่างๆโบราณวัตถุหลายสมัยจึงทรงรวบรวมโบราณวัตถุต่างๆไว้เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้วทรงจัดพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ขึ้นเป็นครั้งแรกณพระที่นั่งราชฤดีให้สร้างขึ้นข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยด้านตะวันออกจัดเป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์และโปรดเกล้าฯให้ราชอาคันตุกะคณะทูตชาวต่างประเทศได้เข้าชมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุในโอกาสสำคัญพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างพระอภิเนาวนิเวศน์ขึ้นด้านหลังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์เมื่อพ .ศ .๒๓๙๙ซึ่งมีพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์เป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่อยู่ห้องหนึ่งและทรงใช้เป็นที่จัดแสดงโบราณวัตถุและของแปลกประหลาดต่างจะที่ย้ายมาจากพระที่นั่งราชฤดีโดยเฉพาะทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ขุนนางผู้ใหญ่และคหบดีทั่วไปสนใจไปด้วยและมีผู้นำของโบราณขึ้นทูลเกล้าฯและน้อมเกล้าฯถวายอยู่เสมอความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่างดังได้พบพระราชนิพนธ์และพระบรมราชาธิบายของพระองค์อยู่จำนวนมากและความรู้นี้ยิ่งแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๕เพราะจากการที่พระองค์เสด็จประพาสประเทศต่างไม่มีทำให้พระองค์ทรงมีโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตรพิพิธภัณฑสถานในประเทศนั้นจะก็ทรงนำแบบอย่างการจัดพิพิธภัณฑสถานมาจัดทำในประเทศไทยด้วยเช่นกันอาทิทรงนำรูปแบบอาคารหอประชุมของทหารที่เมืองปัตตาเวียมาสร้างสำหรับเป็นที่ประชุมทหารมหาดเล็กเมื่อพ .ศ .๒๕๑๗ทรงโปรดฯให้ย้ายศิลปวัตถุโบราณวัตถุจากพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์มาจัดแสดงในมิวเซียม ( พิพิธภัณฑ์ ) ณหอคองคอเดียและมีพิธีเปิดหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดียในวันเสาร์เดือนสิบขึ้นเก้าค่ำปีจอฉอศก๑๙กันยายน๒๔๑๗กรมศิลปากรจึงถือเอาวันที่ทรงประกอบพิธีเปิดมิวเซียมเป็นวันกำเนิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นพิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป

พ . ศ .๒๔๑๘พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้นำโบราณศิลปวัตถุออกจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานตามหลักวิชาสากลมีการแบ่งโบราณวัตถุเป็นประเภทและจัดแบ่งเป็นห้องไปได้แก่ไม่มีกัน๑ห้องเครื่องราชูปโภคและเครื่องต้น๑ห้องและศิลปวัตถุจากต่างประเทศอีก๑ห้องพิพิธภัณฑสถานนี้ซึ่งเปิดให้สาธารณชนได้เข้าชมเป็นครั้งแรกเป็นที่สนใจของประชาชนมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ

พ . ศ .๒๔๓๐พระบวรราชเจ้ากรมพระราชวังบวรวิชัยชาญซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายได้เสด็จทิวงคตพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าว่างลงโดยตั้งตำแหน่ง " สยามมกุฎราชกุมาร " แทนดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯให้ย้ายหอมิวเซียมไปตั้งอยู่ในพระราชวังบวรสถานมงคลโดยใช้พระที่นั่งส่วนหน้าหลังกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: