ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือ มหาอำมาตย์โท พระยามหินทรเดชานุวัตน์ (  การแปล - ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือ มหาอำมาตย์โท พระยามหินทรเดชานุวัตน์ (  ไทย วิธีการพูด

ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือ มหา

ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือ มหาอำมาตย์โท พระยามหินทรเดชานุวัตน์ ( ใหญ่ ศยามานนท์ ) เป็นบุตรของหลวงราชนิทาน(ขำ) ปลัดกรมหมอยา และนางสุ่น ชาติโอสถ เกิดในรัชกาลที่ 5 ท่านรับราชการรับใช้ชาติมาตลอดชีวิต โดยมีชื่อเสียงเป็นที่กล่าวขานว่า "มือปราบ" เพราะกระทรวงมหาดไทยมักจะส่งท่านไปช่วยงานปราบปรามโจรผู้ร้ายในมณฑลตามหัวเมืองเป็นเสมอ

ชีวิตส่วนตัวนั้นพระยามหินทรเดชานุวัตน์ เป็นผู้มีใจโอบอ้อมอารีแก่บรรดาญาติมิตร และคนใกล้ชิด โดยท่านชอบบริจาคเงินเพื่อการกุศลอยู่เป็นประจำเป็นจำนวนมาก และยามว่างก็สนใจสะสมของเก่า มีวัตถุโบราณและพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ไว้เพื่อสักการบูชา เป็นจำนวนมาก

ส่วนตึกหลังนี้พระยามหินทรเดชานุวัตน์ได้สร้างขึ้นเป็นบ้านพักอาศัยที่บริเวณถนนเพชรบุรี หลังจากที่ทราบว่าจะต้องมารับราชการที่กรุงเทพฯ มีลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 ก่อสร้างระหว่างปี พ.ศ.2472 - 2474 โดยมีนายสมัยและนายจินเฮง เป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง บนที่ดินขนาด 1 ไร่ 258 ตารางวา

เป็นอาคาร 2 ชั้น และมีห้องใต้หลังคาอยู่ด้านบน ความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือมุกทั้ง 2 ด้านไม่เหมือนกัน ซึ่งปกติบ้านหลังเก่า ๆ จะนิยมสร้างมุกของบ้านให้เหมือนกัน แต่สำหรับอาคารหลังนี้มุกทางขวามือ(หันหน้าเข้าตัวอาคาร) เป็นทรงปั้นหยาธรรมดา แต่มุกด้านซ้ายกลับเป็นมุกจั่วปาดมุมมีรั้งระเบียงล้อมรอบ

รอบ ๆ อาคารจะมีเรือนบริวาร(ซึ่งขณะนี้เรือนบริวารต่าง ๆ ได้มีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์เป็นของบุคคลอื่นแล้ว คงเหลือแต่เรือนใหญ่ที่ปัจจุบันเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารไทยพาณิชย์ ) บรรยากาศรอบ ๆ อาคารหลังนี้ล้อมรอบด้วยคลอง ร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ทั้งลั่นทม อโศก เข็มและมะม่วง

พระยามหินทรเดชานุวัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2493 ด้วยโรคความดันโหิตสูงเรื้อรังที่โรงพยาบาลจุฬา และศพของท่านได้ถูกนำมาตั้งบำเพ็ญกุศลที่ห้องโถงของบ้านหลังนี้ และในภายหลังจากท่านถึงแก่อนิจกรรมแล้วมีบริษัทมาขอถ่ายทำหนังผีเรื่อง "บ้านสีชมพู" อีกด้วย

หลังจากนั้นบ้านหลังนี้ก็ตกทอดไปสู่ลูกหลาน จนเจ้าของบ้านคนสุดท้ายก่อนจะเปลี่ยนมาอยู่กับธนาคารไทยพาณิชย์ค์สมบูรณ์ โดยขายไปเมื่อประมาณ 2509 ในราคา 800,000 บาท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือมหาอำมาตย์โทพระยามหินทรเดชานุวัตน์ (ใหญ่ศยามานนท์) เป็นบุตรของหลวงราชนิทาน(ขำ)ปลัดกรมหมอยาและนางสุ่นชาติโอสถเกิดในรัชกาลที่ 5 ท่านรับราชการรับใช้ชาติมาตลอดชีวิต "มือปราบ" เพราะกระทรวงมหาดไทยมักจะส่งท่านไปช่วยงานปราบปรามโจรผู้ร้ายในมณฑลตามหัวเมืองเป็นเสมอ

ชีวิตส่วนตัวนั้นพระยามหินทรเดชานุวัตน์เป็นผู้มีใจโอบอ้อมอารีแก่บรรดาญาติมิตรและคนใกล้ชิดโดยท่านชอบบริจาคเงินเพื่อการกุศลอยู่เป็นประจำเป็นจำนวนมากและยามว่างก็สนใจสะสมของเก่า ๆ ไว้เพื่อสักการบูชาเป็นจำนวนมาก

พ.ศก่อสร้างระหว่างปีส่วนตึกหลังนี้พระยามหินทรเดชานุวัตน์ได้สร้างขึ้นเป็นบ้านพักอาศัยที่บริเวณถนนเพชรบุรีหลังจากที่ทราบว่าจะต้องมารับราชการที่กรุงเทพฯ มีลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7บรรพ - 2474 โดยมีนายสมัยและนายจินเฮงเป็นผู้ออกแบบและก่อสร้างบนที่ดินขนาด 1 ไร่ 258 ตารางวา

เป็นอาคาร 2 ชั้นและมีห้องใต้หลังคาอยู่ด้านบนความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือมุกทั้ง 2 ด้านไม่เหมือนกันซึ่งปกติบ้านหลังเก่าๆ จะนิยมสร้างมุกของบ้านให้เหมือนกัน เป็นทรงปั้นหยาธรรมดาแต่มุกด้านซ้ายกลับเป็นมุกจั่วปาดมุมมีรั้งระเบียงล้อมรอบ

ๆ บรรยากาศรอบอาคารจะมีเรือนบริวารของๆ รอบ (ซึ่งขณะนี้เรือนบริวารต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์เป็นของบุคคลอื่นแล้วคงเหลือแต่เรือนใหญ่ที่ปัจจุบันเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารไทยพาณิชย์) ร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ทั้งลั่นทมอโศกเข็มและมะม่วง

และศพของท่านได้ถูกนำมาตั้งบำเพ็ญกุศลที่ห้องโถงของบ้านหลังนี้ด้วยโรคความดันโหิตสูงเรื้อรังที่โรงพยาบาลจุฬาพระยามหินทรเดชานุวัตน์ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2493 "บ้านสีชมพู" อีกด้วย

หลังจากนั้นบ้านหลังนี้ก็ตกทอดไปสู่ลูกหลานจนเจ้าของบ้านคนสุดท้ายก่อนจะเปลี่ยนมาอยู่กับธนาคารไทยพาณิชย์ค์สมบูรณ์โดยขายไปเมื่อประมาณ 2509 ในราคา 800000 บาท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือ มหาอำมาตย์โท พระยามหินทรเดชานุวัตน์ ( ใหญ่ ศยามานนท์ ) เป็นบุตรของหลวงราชนิทาน(ขำ) ปลัดกรมหมอยา และนางสุ่น ชาติโอสถ เกิดในรัชกาลที่ 5 ท่านรับราชการรับใช้ชาติมาตลอดชีวิต โดยมีชื่อเสียงเป็นที่กล่าวขานว่า "มือปราบ" เพราะกระทรวงมหาดไทยมักจะส่งท่านไปช่วยงานปราบปรามโจรผู้ร้ายในมณฑลตามหัวเมืองเป็นเสมอ

ชีวิตส่วนตัวนั้นพระยามหินทรเดชานุวัตน์ เป็นผู้มีใจโอบอ้อมอารีแก่บรรดาญาติมิตร และคนใกล้ชิด โดยท่านชอบบริจาคเงินเพื่อการกุศลอยู่เป็นประจำเป็นจำนวนมาก และยามว่างก็สนใจสะสมของเก่า มีวัตถุโบราณและพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ไว้เพื่อสักการบูชา เป็นจำนวนมาก

ส่วนตึกหลังนี้พระยามหินทรเดชานุวัตน์ได้สร้างขึ้นเป็นบ้านพักอาศัยที่บริเวณถนนเพชรบุรี หลังจากที่ทราบว่าจะต้องมารับราชการที่กรุงเทพฯ มีลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 ก่อสร้างระหว่างปี พ.ศ.2472 - 2474 โดยมีนายสมัยและนายจินเฮง เป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง บนที่ดินขนาด 1 ไร่ 258 ตารางวา

เป็นอาคาร 2 ชั้น และมีห้องใต้หลังคาอยู่ด้านบน ความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือมุกทั้ง 2 ด้านไม่เหมือนกัน ซึ่งปกติบ้านหลังเก่า ๆ จะนิยมสร้างมุกของบ้านให้เหมือนกัน แต่สำหรับอาคารหลังนี้มุกทางขวามือ(หันหน้าเข้าตัวอาคาร) เป็นทรงปั้นหยาธรรมดา แต่มุกด้านซ้ายกลับเป็นมุกจั่วปาดมุมมีรั้งระเบียงล้อมรอบ

รอบ ๆ อาคารจะมีเรือนบริวาร(ซึ่งขณะนี้เรือนบริวารต่าง ๆ ได้มีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์เป็นของบุคคลอื่นแล้ว คงเหลือแต่เรือนใหญ่ที่ปัจจุบันเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารไทยพาณิชย์ ) บรรยากาศรอบ ๆ อาคารหลังนี้ล้อมรอบด้วยคลอง ร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ทั้งลั่นทม อโศก เข็มและมะม่วง

พระยามหินทรเดชานุวัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2493 ด้วยโรคความดันโหิตสูงเรื้อรังที่โรงพยาบาลจุฬา และศพของท่านได้ถูกนำมาตั้งบำเพ็ญกุศลที่ห้องโถงของบ้านหลังนี้ และในภายหลังจากท่านถึงแก่อนิจกรรมแล้วมีบริษัทมาขอถ่ายทำหนังผีเรื่อง "บ้านสีชมพู" อีกด้วย

หลังจากนั้นบ้านหลังนี้ก็ตกทอดไปสู่ลูกหลาน จนเจ้าของบ้านคนสุดท้ายก่อนจะเปลี่ยนมาอยู่กับธนาคารไทยพาณิชย์ค์สมบูรณ์ โดยขายไปเมื่อประมาณ 2509 ในราคา 800,000 บาท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ตึกเก่าแก่หลังนี้เจ้าของเดิมคือมหาอำมาตย์โทพระยามหินทรเดชานุวัตน์ ( ใหญ่ศยามานนท์ ) เป็นบุตรของหลวงราชนิทาน ( ขำ ) ปลัดกรมหมอยาและนางสุ่นชาติโอสถเกิดในรัชกาลที่ 5 ท่านรับราชการรับใช้ชาติมาตลอดชีวิต" มือปราบ " เพราะกระทรวงมหาดไทยมักจะส่งท่านไปช่วยงานปราบปรามโจรผู้ร้ายในมณฑลตามหัวเมืองเป็นเสมอ

ชีวิตส่วนตัวนั้นพระยามหินทรเดชานุวัตน์เป็นผู้มีใจโอบอ้อมอารีแก่บรรดาญาติมิตรและคนใกล้ชิดโดยท่านชอบบริจาคเงินเพื่อการกุศลอยู่เป็นประจำเป็นจำนวนมากและยามว่างก็สนใจสะสมของเก่าจะไว้เพื่อสักการบูชาเป็นจำนวนมาก

ส่วนตึกหลังนี้พระยามหินทรเดชานุวัตน์ได้สร้างขึ้นเป็นบ้านพักอาศัยที่บริเวณถนนเพชรบุรีหลังจากที่ทราบว่าจะต้องมารับราชการที่กรุงเทพฯมีลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 ก่อสร้างระหว่างปีพ . ศ .2474 . - โดยมีนายสมัยและนายจินเฮงเป็นผู้ออกแบบและก่อสร้างบนที่ดินขนาด 1 ไร่ 258 ตารางวา

เป็นอาคาร 2 ชั้นและมีห้องใต้หลังคาอยู่ด้านบนความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือมุกทั้ง 2 ด้านไม่เหมือนกันซึ่งปกติบ้านหลังเก่าจะจะนิยมสร้างมุกของบ้านให้เหมือนกันเป็นทรงปั้นหยาธรรมดาแต่มุกด้านซ้ายกลับเป็นมุกจั่วปาดมุมมีรั้งระเบียงล้อมรอบ

จะอาคารจะมีเรือนบริวาร a research note ( ซึ่งขณะนี้เรือนบริวารต่างจะได้มีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์เป็นของบุคคลอื่นแล้วคงเหลือแต่เรือนใหญ่ที่ปัจจุบันเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารไทยพาณิชย์ ) จะบรรยากาศรอบร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ทั้งลั่นทมอโศกเข็มและมะม่วง

พระยามหินทรเดชานุวัตน์ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคมด้วยโรคความดันโหิตสูงเรื้อรังที่โรงพยาบาลจุฬาและศพของท่านได้ถูกนำมาตั้งบำเพ็ญกุศลที่ห้องโถงของบ้านหลังนี้ 2493" บ้านสีชมพู " อีกด้วย

หลังจากนั้นบ้านหลังนี้ก็ตกทอดไปสู่ลูกหลานจนเจ้าของบ้านคนสุดท้ายก่อนจะเปลี่ยนมาอยู่กับธนาคารไทยพาณิชย์ค์สมบูรณ์โดยขายไปเมื่อประมาณรูปภาพในราคา 800000 บาท
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: