ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอั การแปล - ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอั ไทย วิธีการพูด

ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโ

ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ ส่งผลให้องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับการช่วงชิงการเป็นผู้นำในธุรกิจและการเติบโตอย่างยั่งยืน รวมถึงมองหาโอกาสใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ


การเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้เกิดจากปัจจัยต่างๆ รอบตัวที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นในความแปรปรวนที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตด้านพลังงาน ตลอดจนการเกิดภาวะโลกร้อน รวมถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ แผ่นดินไหว สึนามิ ความเสี่ยงจากการก่อวินาศกรรม รวมไปถึงความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการค้า ซึ่งส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและเงินทุน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจให้สอดรับและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย และมีต้นทุนที่ต่ำ


อย่างไรก็ดี ผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา เป็นบทเรียนที่ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ซึ่งอาจลุกลามไปทั่วโลก จะเห็นว่าเวลานี้ธุรกิจทั่วโลกต่างมุ่งให้ความสนใจกับมาตรฐาน ISO 28000 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยในโซ่อุปทาน และ BCM (Business Continuity Management) มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ซึ่งเป็นแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจให้สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องภายหลังสภาวะวิกฤต


จากกระแสดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้ภาคอุตสาหกรรมเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของซัพพลายเชนในธุรกิจและอุตสาหกรรมระดับโลก โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ตลอดโซ่คุณค่า (Value Chain) การเชื่อมโยงของกิจกรรมต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า และต่อยอดให้เกิดโซ่การผลิตในภูมิภาค (ASEAN Production Chain) โดยอาศัยการขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจไปสู่ระดับสากล


การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) จึงได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในทศวรรษนี้ที่นำมาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า เนื่องจากการจัดการโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผน ดำเนินงาน และควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ ข้อมูล และการเงิน ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ โดยมีต้นทุนที่แข่งขันได้


การจัดการโลจิสติกส์ ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดหาวัตถุดิบ การเคลื่อนย้าย การผลิต การจัดเก็บ และการกระจายสินค้า ฉะนั้นหากประเทศไทยมีระบบโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางราง ทางอากาศ และทางน้ำ ที่สะดวกรวดเร็ว พร้อมทั้งมีระบบสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน อีกทั้งอุตสาหกรรมของไทยมีการบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ก็จะทำให้สินค้าและบริการมีต้นทุนโลจิสติกส์โดยรวมที่ลดลง เสริมสร้างความเข้มแข็งและศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ได้อย่างง่ายดาย



Green Logistics & Supply Chain



ปัจจุบันสภาวะโลกร้อน (Global Warming) ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (Climate Change) กระจายไปทั่วโลกจนทำให้เกิดกระแส Green Logistics และ Green Supply Chain ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างยิ่ง และกำลังได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วในการลดสิ่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมต้องปรับตัวในการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และกำหนดขึ้นเป็นมาตรการในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม


ยกตัวอย่างเช่น Wal-Mart ผู้ค้าปลีกรายใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ตั้งเป้าในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์ลงร้อยละ 5 ภายในปี 2556 โดยคาดว่าการลดปริมาณบรรจุภัณฑ์นี้จะช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 667,000 เมตริกตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 3.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนตลอดโซ่อุปทานรวมทั้งสิ้นประมาณ 11 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ


นอกจากนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น ก็เริ่มมีข้อจำกัดทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับ Green Logistics โดยให้ผู้นำเข้าเข้มงวดในการเลือกซัพพลายเออร์ที่มีระบบ Green Logistics กำหนดขั้นตอนการทำลายบรรจุภัณฑ์หรือส่งกลับคืนให้กับประเทศที่ส่งออก (Reverse Logistics)


ทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานล้วนส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น ทั้งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจก การใช้พลังงานในการขนส่งอย่างสิ้นเปลือง หรือแม้แต่การผลิตที่มากเกินความต้องการจนทำให้เกิดความสูญเปล่า ซึ่งประเด็นต่างๆ เหล่านี้มีแนวโน้มจะนำไปเป็นเงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศ และจะเห็นชัดเจนมากขึ้นในอนาคตอันใกล้



Impact on the Future Supply Chain


เมื่อเป้าหมายของธุรกิจคือการเป็นผู้นำและการเติบโตอย่างยั่งยืนในธุรกิจ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมจึงควรมองธุรกิจในรูปแบบใหม่ที่มุ่งลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ลดการใช้พลังงาน หรือใช้พลังงานทดแทน และมุ่งขยายการเชื่อมโยงโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมให้ครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน


Global Commerce Initiative (GCI) ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็น “Future Supply Chain 2016” โดยระบุว่า แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรมมุ่งไปทางด้านการสร้าง Value Chain โดยให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค การไหลของข้อมูลและสินค้า (Information and Products Flow) นอกจากนี้ยังต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) มีการจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพด้วยความสะดวกและรวดเร็ว

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ส่งผลให้องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับการช่วงชิงการเป็นผู้นำในธุรกิจและการเติบโตอย่างยั่งยืนรวมถึงมองหาโอกาสใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจการเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้เกิดจากปัจจัยต่าง ๆ รอบตัวที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นในความแปรปรวนที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจวิกฤตด้านพลังงานตลอดจนการเกิดภาวะโลกร้อนรวมถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติต่าง ๆ แผ่นดินไหวสึนามิความเสี่ยงจากการก่อวินาศกรรมรวมไปถึงความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการค้าซึ่งส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและเงินทุนสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจให้สอดรับและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วถูกต้องปลอดภัยและมีต้นทุนที่ต่ำอย่างไรก็ดีผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมาเป็นบทเรียนที่ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ทางตรงก็ทางอ้อมซึ่งอาจลุกลามไปทั่วโลกจะเห็นว่าเวลานี้ธุรกิจทั่วโลกต่างมุ่งให้ความสนใจกับมาตรฐาน ISO 28000 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยในโซ่อุปทานและ BCM (การจัดการความต่อเนื่องธุรกิจ) มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจซึ่งเป็นแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจให้สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องภายหลังสภาวะวิกฤตจากกระแสดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้ภาคอุตสาหกรรมเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของซัพพลายเชนในธุรกิจและอุตสาหกรรมระดับโลกโดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ตลอดโซ่คุณค่า (ห่วงโซ่คุณค่า) การเชื่อมโยงของกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าและต่อยอดให้เกิดโซ่การผลิตในภูมิภาค (อาเซียนผลิตโซ่) โดยอาศัยการขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานซึ่งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจไปสู่ระดับสากลการจัดการโลจิสติกส์ (การจัดการโลจิสติกส์) จึงได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในทศวรรษนี้ที่นำมาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าเนื่องจากการจัดการโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผนดำเนินงานและควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้าบริการข้อมูลและการเงินตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการโดยมีต้นทุนที่แข่งขันได้ การจัดการโลจิสติกส์ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เช่นการจัดหาวัตถุดิบการเคลื่อนย้ายการผลิตการจัดเก็บและการกระจายสินค้าฉะนั้นหากประเทศไทยมีระบบโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบกทางรางทางอากาศและทางน้ำที่สะดวกรวดเร็วพร้อมทั้งมีระบบสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนอีกทั้งอุตสาหกรรมของไทยมีการบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่ดีและมีประสิทธิภาพก็จะทำให้สินค้าและบริการมีต้นทุนโลจิสติกส์โดยรวมที่ลดลงเสริมสร้างความเข้มแข็งและศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: AEC) ได้อย่างง่ายดายกรีนโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ปัจจุบันสภาวะโลกร้อน (โลกร้อน) ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) กระจายไปทั่วโลกจนทำให้เกิดกระแสโลจิสติกส์สีเขียวและสีเขียวโซ่ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างยิ่งและกำลังได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วในการลดสิ่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมต้องปรับตัวในการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมและกำหนดขึ้นเป็นมาตรการในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ยกตัวอย่างเช่นหยั่นหวอหยุ่น-มินิมาร์ทผู้ค้าปลีกรายใหญ่แห่งหนึ่งของโลกตั้งเป้าในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์ลงร้อยละ 5 ภายในปี 2556 โดยคาดว่าการลดปริมาณบรรจุภัณฑ์นี้จะช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 667,000 เมตริกตันต่อปีคิดเป็นมูลค่า 3.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐอีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนตลอดโซ่อุปทานรวมทั้งสิ้นประมาณ 11 ล้านล้านเหรียญสหรัฐนอกจากนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกายุโรปและญี่ปุ่นก็เริ่มมีข้อจำกัดทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์สีเขียวโดยให้ผู้นำเข้าเข้มงวดในการเลือกซัพพลายเออร์ที่มีระบบกรีนโลจิสติกส์กำหนดขั้นตอนการทำลายบรรจุภัณฑ์หรือส่งกลับคืนให้กับประเทศที่ส่งออก (โลจิสติกส์ย้อนกลับ)ทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานล้วนส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้นทั้งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกการใช้พลังงานในการขนส่งอย่างสิ้นเปลืองหรือแม้แต่การผลิตที่มากเกินความต้องการจนทำให้เกิดความสูญเปล่าซึ่งประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้มีแนวโน้มจะนำไปเป็นเงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศและจะเห็นชัดเจนมากขึ้นในอนาคตอันใกล้ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานในอนาคตเมื่อเป้าหมายของธุรกิจคือการเป็นผู้นำและการเติบโตอย่างยั่งยืนในธุรกิจภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมจึงควรมองธุรกิจในรูปแบบใหม่ที่มุ่งลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนลดการใช้พลังงานหรือใช้พลังงานทดแทนและมุ่งขยายการเชื่อมโยงโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมให้ครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันพาณิชย์สากลริ(ซี GCI) ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็น "อนาคตซัพพลายเชน 2016" โดยระบุว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรมมุ่งไปทางด้านการสร้างค่าโซ่โดยให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคการไหลของข้อมูลและสินค้า (ข้อมูลและกระแสผลิตภัณฑ์) นอกจากนี้ยังต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ (ติดตาม) มีการจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพด้วยความสะดวกและรวดเร็ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ ส่งผลให้องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับการช่วงชิงการเป็นผู้นำในธุรกิจและการเติบโตอย่างยั่งยืน รวมถึงมองหาโอกาสใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ


การเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้เกิดจากปัจจัยต่างๆ รอบตัวที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นในความแปรปรวนที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตด้านพลังงาน ตลอดจนการเกิดภาวะโลกร้อน รวมถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ แผ่นดินไหว สึนามิ ความเสี่ยงจากการก่อวินาศกรรม รวมไปถึงความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการค้า ซึ่งส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและเงินทุน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจให้สอดรับและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย และมีต้นทุนที่ต่ำ


อย่างไรก็ดี ผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา เป็นบทเรียนที่ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ซึ่งอาจลุกลามไปทั่วโลก จะเห็นว่าเวลานี้ธุรกิจทั่วโลกต่างมุ่งให้ความสนใจกับมาตรฐาน ISO 28000 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยในโซ่อุปทาน และ BCM (Business Continuity Management) มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ซึ่งเป็นแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจให้สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องภายหลังสภาวะวิกฤต


จากกระแสดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้ภาคอุตสาหกรรมเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของซัพพลายเชนในธุรกิจและอุตสาหกรรมระดับโลก โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ตลอดโซ่คุณค่า (Value Chain) การเชื่อมโยงของกิจกรรมต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า และต่อยอดให้เกิดโซ่การผลิตในภูมิภาค (ASEAN Production Chain) โดยอาศัยการขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจไปสู่ระดับสากล


การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) จึงได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในทศวรรษนี้ที่นำมาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า เนื่องจากการจัดการโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผน ดำเนินงาน และควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ ข้อมูล และการเงิน ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ โดยมีต้นทุนที่แข่งขันได้


การจัดการโลจิสติกส์ ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดหาวัตถุดิบ การเคลื่อนย้าย การผลิต การจัดเก็บ และการกระจายสินค้า ฉะนั้นหากประเทศไทยมีระบบโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางราง ทางอากาศ และทางน้ำ ที่สะดวกรวดเร็ว พร้อมทั้งมีระบบสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน อีกทั้งอุตสาหกรรมของไทยมีการบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ก็จะทำให้สินค้าและบริการมีต้นทุนโลจิสติกส์โดยรวมที่ลดลง เสริมสร้างความเข้มแข็งและศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ได้อย่างง่ายดาย



Green Logistics & Supply Chain



ปัจจุบันสภาวะโลกร้อน (Global Warming) ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (Climate Change) กระจายไปทั่วโลกจนทำให้เกิดกระแส Green Logistics และ Green Supply Chain ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างยิ่ง และกำลังได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วในการลดสิ่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมต้องปรับตัวในการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และกำหนดขึ้นเป็นมาตรการในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม


ยกตัวอย่างเช่น Wal-Mart ผู้ค้าปลีกรายใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ตั้งเป้าในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์ลงร้อยละ 5 ภายในปี 2556 โดยคาดว่าการลดปริมาณบรรจุภัณฑ์นี้จะช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 667,000 เมตริกตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 3.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนตลอดโซ่อุปทานรวมทั้งสิ้นประมาณ 11 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ


นอกจากนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น ก็เริ่มมีข้อจำกัดทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับ Green Logistics โดยให้ผู้นำเข้าเข้มงวดในการเลือกซัพพลายเออร์ที่มีระบบ Green Logistics กำหนดขั้นตอนการทำลายบรรจุภัณฑ์หรือส่งกลับคืนให้กับประเทศที่ส่งออก (Reverse Logistics)


ทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานล้วนส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น ทั้งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจก การใช้พลังงานในการขนส่งอย่างสิ้นเปลือง หรือแม้แต่การผลิตที่มากเกินความต้องการจนทำให้เกิดความสูญเปล่า ซึ่งประเด็นต่างๆ เหล่านี้มีแนวโน้มจะนำไปเป็นเงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศ และจะเห็นชัดเจนมากขึ้นในอนาคตอันใกล้



Impact on the Future Supply Chain


เมื่อเป้าหมายของธุรกิจคือการเป็นผู้นำและการเติบโตอย่างยั่งยืนในธุรกิจ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมจึงควรมองธุรกิจในรูปแบบใหม่ที่มุ่งลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ลดการใช้พลังงาน หรือใช้พลังงานทดแทน และมุ่งขยายการเชื่อมโยงโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมให้ครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน


Global Commerce Initiative (GCI) ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็น “Future Supply Chain 2016” โดยระบุว่า แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรมมุ่งไปทางด้านการสร้าง Value Chain โดยให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค การไหลของข้อมูลและสินค้า (Information and Products Flow) นอกจากนี้ยังต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) มีการจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพด้วยความสะดวกและรวดเร็ว

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ก้าวต่อไปของการเปลี่ยนแปลงต่างๆบนโลกธุรกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ส่งผลให้องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับการช่วงชิงการเป็นผู้นำในธุรกิจและการเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับธุรกิจ


การเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้เกิดจากปัจจัยต่างๆรอบตัวที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นในความแปรปรวนที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจวิกฤตด้านพลังงานตลอดจนการเกิดภาวะโลกร้อนแผ่นดินไหวสึนามิความเสี่ยงจากการก่อวินาศกรรมรวมไปถึงความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการค้าซึ่งส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและเงินทุนสิ่งต่างๆใสปลอดภัยและมีต้นทุนที่ต่ำ


อย่างไรก็ดีผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมาเป็นบทเรียนที่ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อโซ่อุปทานของธุรกิจและอุตสาหกรรมไม่ทางตรงก็ทางอ้อมจะเห็นว่าเวลานี้ธุรกิจทั่วโลกต่างมุ่งให้ความสนใจกับมาตรฐาน ISO 28000 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยในโซ่อุปทานและ BCM ( การบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ ) มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ

จากกระแสดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้ภาคอุตสาหกรรมเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของซัพพลายเชนในธุรกิจและอุตสาหกรรมระดับโลก( Value Chain ) การเชื่อมโยงของกิจกรรมต่างๆโดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าและต่อยอดให้เกิดโซ่การผลิตในภูมิภาค ( ห่วงโซ่การผลิตอาเซียน )ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจไปสู่ระดับสากล


การจัดการโลจิสติกส์ ( การจัดการโลจิสติกส์ ) จึงได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในทศวรรษนี้ที่นำมาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าเนื่องจากการจัดการโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผนและควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้าบริการข้อมูลและการเงินตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการโดยมีต้นทุนที่แข่งขันได้


การจัดการโลจิสติกส์ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆเช่นการจัดหาวัตถุดิบการเคลื่อนย้ายการผลิตการจัดเก็บและการกระจายสินค้าฉะนั้นหากประเทศไทยมีระบบโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบกทางรางทางอากาศที่สะดวกรวดเร็วพร้อมทั้งมีระบบสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนอีกทั้งอุตสาหกรรมของไทยมีการบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่ดีและมีประสิทธิภาพเสริมสร้างความเข้มแข็งและศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน :AEC ) ได้อย่างง่ายดาย



&กรีนโลจิสติกส์โซ่อุปทาน



ปัจจุบันสภาวะโลกร้อน ( ภาวะโลกร้อน ) ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ( อากาศเปลี่ยน ) กระจายไปทั่วโลกจนทำให้เกิดกระแสโลจิสติกส์โซ่อุปทานซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างยิ่งและสีเขียวสีเขียวผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมต้องปรับตัวในการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมและกำหนดขึ้นเป็นมาตรการในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม


ยกตัวอย่างเช่น Wal Mart ผู้ค้าปลีกรายใหญ่แห่งหนึ่งของโลกตั้งเป้าในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์ลงร้อยละ 5 ภายในปี 2556 โดยคาดว่าการลดปริมาณบรรจุภัณฑ์นี้จะช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 667 ,000 เมตริกตันต่อปีคิดเป็นมูลค่า 3.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐอีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนตลอดโซ่อุปทานรวมทั้งสิ้นประมาณ 11 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ


นอกจากนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ) และญี่ปุ่นก็เริ่มมีข้อจำกัดทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับกรีนโลจิสติกส์โดยให้ผู้นำเข้าเข้มงวดในการเลือกซัพพลายเออร์ที่มีระบบโลจิสติกส์สีเขียว( Reverse Logistics )


ทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานล้วนส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้นทั้งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกการใช้พลังงานในการขนส่งอย่างสิ้นเปลืองซึ่งประเด็นต่างๆเหล่านี้มีแนวโน้มจะนำไปเป็นเงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศและจะเห็นชัดเจนมากขึ้นในอนาคตอันใกล้



ต่อในอนาคตห่วงโซ่อุปทาน


เมื่อเป้าหมายของธุรกิจคือการเป็นผู้นำและการเติบโตอย่างยั่งยืนในธุรกิจภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมจึงควรมองธุรกิจในรูปแบบใหม่ที่มุ่งลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนลดการใช้พลังงานหรือใช้พลังงานทดแทน

ริเริ่มการค้าโลก ( GCI ) ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็นในอนาคต " ห่วงโซ่อุปทาน 2016 " โดยให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคโดยระบุว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรมมุ่งไปทางด้านการสร้างโซ่คุณค่า( ผลิตภัณฑ์ของการไหลของข้อมูลและ ) นอกจากนี้ยังต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ ( Traceability ) มีการจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพด้วยความสะดวกและรวดเร็ว

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: