ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและมาเลเซียความสัมพันธ์ทางการค้าภาครั การแปล - ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและมาเลเซียความสัมพันธ์ทางการค้าภาครั ไทย วิธีการพูด

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยแล

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและมาเลเซีย

ความสัมพันธ์ทางการค้า

ภาครัฐบาล - ความตกลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วม ไทย-มาเลเซีย ลงนามเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2530 มีการประชุมไปแล้ว 8 ครั้ง ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 5-7 สิงหาคม 2542 ที่กรุงเทพฯ
- ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันที่จะให้มีการจัดทำข้อตกลงทางการค้า ขณะอยู่ระหว่างการพิจารณาร่างข้อตกลงฯ ดังกล่าว
ภาคเอกชน - ยังไม่มีความตกลงระหว่างกัน
การค้าระหว่างไทย-มาเลเซีย

การค้ารวม ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) การค้ารวมระหว่างไทยกับมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 4,908.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทย-มาเลเซีย มีมูลค่าการค้ารวม 4,613.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 สองฝ่ายมีมูลค่าการค้ารวมแล้ว 1,381.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 4.5 ของมูลค่าการค้ารวมทั้งหมดของไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.7 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า
การส่งออก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 2,003.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียมูลค่า 2,124.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียแล้วมูลค่า 662.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.9 จากระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า สินค้าส่งออกสำคัญ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ แผง วงจรไฟฟ้า ยางพารา เคมีภัณฑ์ เป็นต้น
การนำเข้า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 2,905.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียมูลค่า 2,489.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียแล้วมูลค่า 718.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.9 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า สินค้านำเข้าสำคัญ เช่น เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หลอดภาพโทรทัศน์ น้ำมันดิบ เป็นต้น
ดุลการค้า ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซียมาตลอด 5 ปีที่ผ่านมาเฉลี่ยปีละ 902.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซีย 364.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซียแล้ว 56.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
สินค้าที่มีศักยภาพในการส่งออกและนำเข้า

สินค้าส่งออก ได้แก่ ตลับลูกปืนเครื่องอิเลคทรอนิก รำและเศษจากธัญพืช ปลาหมึกแปรรูป เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ เครื่องยกทรง รัดทรงและ ส่วนประกอบ นมและผลิตภัณฑ์นม แผงสวิทช์และแผงควบคุมกระแสไฟฟ้า ธัญพืชอื่นๆ วงจรพิมพ์ เป็นต้น
สินค้านำเข้า ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เครื่องจักรใช้ในการเกษตร เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ ส่วนประกอบและอุปกรณ์รถจักรยานยนต์ และรถจักรยาน เครื่องดื่มประเภทน้ำแร่ น้ำอัดลมและสุรา ผลิตภัณฑ์หนัง ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์ไม้ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผักผลไม้ ยางรถยนต์ เป็นต้น
ปัญหาและอุปสรรคการค้าทวิภาคี

การจัดเก็บอากรขาเข้ากระจกแผ่นของประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนพฤษภาคม 2541 กรมศุลการกรมาเลเซียได้มีการประกาศเป็นการภายใน (Internal Ruling) ตีความ (Interpretation) ใหม่ว่ากระจกโฟลตตัดมุม (Corner Cut) ตามพิกัด 7005.21190 และ 7005.29910 ของกระจกโฟลตสีและกระจกโฟลตใส (Cut to shape other than in rectangular shape) ต้องเสียภาษีตามพิกัด 7005.21990 และ 7005.29990 ซึ่งต้องเสียภาษีนำเข้า 65 CENT/KG. และไม่ได้รับการลดหย่อนตามข้อตกลง AFTA เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เสียภาษีนำเข้า 30% ของราคา CIF และได้รับการลดหย่อนภาษีครึ่งหนึ่งตามข้อตกลง AFTA สำหรับประเทศใน ASEAN ที่มีการใช้ปฏิบัติมากว่า 6 ปี มีผลทำให้ยอดส่งออกกระจกโฟลตจากประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีมูลค่ากว่า 20 ล้านบาทต่อปีหายไปทันที เมื่อประกาศมีผลบังคับใช้ เนื่องจากต้นทุนนำเข้าสูงขึ้นกว่า 65% เมื่อเทียบกับต้นทุนเดิม
ประเทศมาเลเซียมีกฏเกณฑ์การอนุญาตนำเข้าเหล็กลวดคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Wire Rod) โดยผู้นำเข้าที่มีความประสงค์จะนำเข้าสินค้าดังกล่าวเข้าประเทศมาเลเซีย ต้องยื่นขออนุญาตจากหน่วยราชการของประเทศมาเลเซีย ซึ่งจะขอความยินยอมจากผู้ผลิตเหล็กลวดคาร์บอนต่ำในประเทศ มาเลเซียก่อนที่จะออกใบอนุญาตการนำเข้าให้ วิธีการดังกล่าวเป็นการปกป้องผู้ผลิตในประเทศของ ตนเอง และเป็นการกีดกันการทางการค้าอย่างไม่เป็นธรรม
สินค้ากระดาษเขียน และพิมพ์ ชนิดไม่เคลือบเงา ( Uncoated woodfree printing and writing paper) กระทรวงการค้าต่างประเทศและอุตสาหกรรมมาเลเซีย (MITI) ได้รับการร้องเรียนจากผู้ผลิตสินค้า uncoated woodfree printing and writing paper ให้สอบสวนการทุ่มตลาดสินค้าดังกล่าวจากไทย ซึ่งทาง MITI ได้พิจารณาข้อร้องเรียนของบริษัทผู้ผลิตมาเลเซียแล้ว เห็นว่ามีมูลความจริง และอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ผลิตภายในประเทศ จึงพิจารณาให้มีการไต่สวนขั้นต้น เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2542 โดยจะส่งแบบสอบถามให้ผู้ส่งออกไทยตอบภายในวันที่ 28 กรกฏาคม 2542
รัฐบาลมาเลเซียได้มีมาตรการเข้มงวดเกี่ยวกับการข้ามแดนชาวมาเลเซีย และการเก็บภาษีนำเข้าผลไม้จากประเทศไทยอัตราสูง เช่น ส้ม เงาะ ลำใย ลิ้นจี่ ทุเรียน ซึ่งมีผลกระทบต่อการ ส่งออกสินค้าผลไม้ของไทย
ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

เพื่อเป็นการส่งเสริมการขยายการค้าระหว่างกันให้เพิ่มขึ้น เห็นควรให้มีการจัดทำข้อตกลงทางการค้าทวิภาคี (Bilateral Trade Agreement) ระหว่างกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นพื้นฐานและกรอบความตกลงร่วมมือในการขยายการค้าและจัดตั้ง องค์กรความร่วมมือทางการค้า (JTC) ต่อไป
เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าด้านทวิภาคีเห็นควรใช้กลไกของ รัฐบาลที่จะมาช่วยส่งเสริมการค้าและแก้ไขปัญหาที่ยังมีอยู่อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมทางการค้าไทย -มาเลเซีย (Thailand - Malaysia Joint Trade Committee : JTC)
เพื่อให้มีการร่วมมือทางการค้าทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในอันที่จะก่อให้ เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างกันในประเทศที่สาม ตลอดจนความร่วมมือทางวิชาการ และการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลทางการค้าต่อกันจึงเห็นควรให้มีการจัดตั้งสภา ธุรกิจไทย - มาเลเซีย (Thailand - Malaysai Business Council) ร่วมกันทั้งสองประเทศ เพื่อเป็นการประสานความร่วมมือของภาครัฐบาลและภาคเอกชนระหว่างประเทศ โดยมีภาคเอกชนเป็นผู้จัดตั้งและภาครัฐบาลให้การสนับสนุน
ภายใต้โครงการความร่วมมือพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและมาเลเซียความสัมพันธ์ทางการค้าภาครัฐบาล - ความตกลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วม ไทย-มาเลเซีย ลงนามเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2530 มีการประชุมไปแล้ว 8 ครั้ง ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 5-7 สิงหาคม 2542 ที่กรุงเทพฯ - ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันที่จะให้มีการจัดทำข้อตกลงทางการค้า ขณะอยู่ระหว่างการพิจารณาร่างข้อตกลงฯ ดังกล่าวภาคเอกชน - ยังไม่มีความตกลงระหว่างกันการค้าระหว่างไทย-มาเลเซียการค้ารวม ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) การค้ารวมระหว่างไทยกับมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 4,908.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทย-มาเลเซีย มีมูลค่าการค้ารวม 4,613.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 สองฝ่ายมีมูลค่าการค้ารวมแล้ว 1,381.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 4.5 ของมูลค่าการค้ารวมทั้งหมดของไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.7 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า การส่งออกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 2,003.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียมูลค่า 2,124.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียแล้วมูลค่า 662.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.9 จากระยะเดียวกันของปีก่อนหน้าสินค้าส่งออกสำคัญเช่นเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบแผงวงจรไฟฟ้ายางพาราเคมีภัณฑ์เป็นต้นการนำเข้า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียมีมูลค่าเฉลี่ยปีละ 2,905.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียมูลค่า 2,489.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียแล้วมูลค่า 718.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.9 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า สินค้านำเข้าสำคัญ เช่น เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หลอดภาพโทรทัศน์ น้ำมันดิบ เป็นต้นดุลการค้า ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซียมาตลอด 5 ปีที่ผ่านมาเฉลี่ยปีละ 902.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2542 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซีย 364.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซียแล้ว 56.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯสินค้าที่มีศักยภาพในการส่งออกและนำเข้าสินค้าส่งออก ได้แก่ ตลับลูกปืนเครื่องอิเลคทรอนิก รำและเศษจากธัญพืช ปลาหมึกแปรรูป เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ เครื่องยกทรง รัดทรงและ ส่วนประกอบ นมและผลิตภัณฑ์นม แผงสวิทช์และแผงควบคุมกระแสไฟฟ้า ธัญพืชอื่นๆ วงจรพิมพ์ เป็นต้น สินค้านำเข้า ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เครื่องจักรใช้ในการเกษตร เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ ส่วนประกอบและอุปกรณ์รถจักรยานยนต์ และรถจักรยาน เครื่องดื่มประเภทน้ำแร่ น้ำอัดลมและสุรา ผลิตภัณฑ์หนัง ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์ไม้ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผักผลไม้ ยางรถยนต์ เป็นต้นปัญหาและอุปสรรคการค้าทวิภาคีการจัดเก็บอากรขาเข้ากระจกแผ่นของประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนพฤษภาคม 2541 กรมศุลการกรมาเลเซียได้มีการประกาศเป็นการภายใน (Internal Ruling) ตีความ (Interpretation) ใหม่ว่ากระจกโฟลตตัดมุม (Corner Cut) ตามพิกัด 7005.21190 และ 7005.29910 ของกระจกโฟลตสีและกระจกโฟลตใส (Cut to shape other than in rectangular shape) ต้องเสียภาษีตามพิกัด 7005.21990 และ 7005.29990 ซึ่งต้องเสียภาษีนำเข้า 65 CENT/KG. และไม่ได้รับการลดหย่อนตามข้อตกลง AFTA เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เสียภาษีนำเข้า 30% ของราคา CIF และได้รับการลดหย่อนภาษีครึ่งหนึ่งตามข้อตกลง AFTA สำหรับประเทศใน ASEAN ที่มีการใช้ปฏิบัติมากว่า 6 ปี มีผลทำให้ยอดส่งออกกระจกโฟลตจากประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีมูลค่ากว่า 20 ล้านบาทต่อปีหายไปทันที เมื่อประกาศมีผลบังคับใช้ เนื่องจากต้นทุนนำเข้าสูงขึ้นกว่า 65% เมื่อเทียบกับต้นทุนเดิม ประเทศมาเลเซียมีกฏเกณฑ์การอนุญาตนำเข้าเหล็กลวดคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Wire Rod) โดยผู้นำเข้าที่มีความประสงค์จะนำเข้าสินค้าดังกล่าวเข้าประเทศมาเลเซีย ต้องยื่นขออนุญาตจากหน่วยราชการของประเทศมาเลเซีย ซึ่งจะขอความยินยอมจากผู้ผลิตเหล็กลวดคาร์บอนต่ำในประเทศ มาเลเซียก่อนที่จะออกใบอนุญาตการนำเข้าให้ วิธีการดังกล่าวเป็นการปกป้องผู้ผลิตในประเทศของ ตนเอง และเป็นการกีดกันการทางการค้าอย่างไม่เป็นธรรม
สินค้ากระดาษเขียน และพิมพ์ ชนิดไม่เคลือบเงา ( Uncoated woodfree printing and writing paper) กระทรวงการค้าต่างประเทศและอุตสาหกรรมมาเลเซีย (MITI) ได้รับการร้องเรียนจากผู้ผลิตสินค้า uncoated woodfree printing and writing paper ให้สอบสวนการทุ่มตลาดสินค้าดังกล่าวจากไทย ซึ่งทาง MITI ได้พิจารณาข้อร้องเรียนของบริษัทผู้ผลิตมาเลเซียแล้ว เห็นว่ามีมูลความจริง และอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ผลิตภายในประเทศ จึงพิจารณาให้มีการไต่สวนขั้นต้น เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2542 โดยจะส่งแบบสอบถามให้ผู้ส่งออกไทยตอบภายในวันที่ 28 กรกฏาคม 2542
รัฐบาลมาเลเซียได้มีมาตรการเข้มงวดเกี่ยวกับการข้ามแดนชาวมาเลเซีย และการเก็บภาษีนำเข้าผลไม้จากประเทศไทยอัตราสูง เช่น ส้ม เงาะ ลำใย ลิ้นจี่ ทุเรียน ซึ่งมีผลกระทบต่อการ ส่งออกสินค้าผลไม้ของไทย
ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

เพื่อเป็นการส่งเสริมการขยายการค้าระหว่างกันให้เพิ่มขึ้น เห็นควรให้มีการจัดทำข้อตกลงทางการค้าทวิภาคี (Bilateral Trade Agreement) ระหว่างกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นพื้นฐานและกรอบความตกลงร่วมมือในการขยายการค้าและจัดตั้ง องค์กรความร่วมมือทางการค้า (JTC) ต่อไป
เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าด้านทวิภาคีเห็นควรใช้กลไกของ รัฐบาลที่จะมาช่วยส่งเสริมการค้าและแก้ไขปัญหาที่ยังมีอยู่อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมทางการค้าไทย -มาเลเซีย (Thailand - Malaysia Joint Trade Committee : JTC)
เพื่อให้มีการร่วมมือทางการค้าทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในอันที่จะก่อให้ เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างกันในประเทศที่สาม ตลอดจนความร่วมมือทางวิชาการ และการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลทางการค้าต่อกันจึงเห็นควรให้มีการจัดตั้งสภา ธุรกิจไทย - มาเลเซีย (Thailand - Malaysai Business Council) ร่วมกันทั้งสองประเทศ เพื่อเป็นการประสานความร่วมมือของภาครัฐบาลและภาคเอกชนระหว่างประเทศ โดยมีภาคเอกชนเป็นผู้จัดตั้งและภาครัฐบาลให้การสนับสนุน
ภายใต้โครงการความร่วมมือพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
- ความตกลงจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมไทย - มาเลเซียลงนามเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2530 มีการประชุมไปแล้ว 8 ครั้งครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 5-7 สิงหาคม 2542 ที่กรุงเทพฯ- ดังกล่าวภาคเอกชน - ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) 4,908.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯโดยในปี 2542 ไทย - มาเลเซียมีมูลค่าการค้ารวม 4,613.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯและในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 สองฝ่ายมีมูลค่าการค้ารวมแล้ว 1,381.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯคิดเป็นร้อยละ 4.5 ของมูลค่าการค้า รวมทั้งหมดของไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.7 ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2538-2542) 2,003.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯโดยในปี 2542 ไทยส่งสินค้าออกไปมาเลเซียมูลค่า 2,124.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯและในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 662.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.9 จากระยะเดียวกันของปีก่อนหน้าสินค้าส่งออกสำคัญเช่นเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้ายางพาราเคมีภัณฑ์เป็นต้นการนำเข้าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 2,905.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯโดยในปี 2542 ไทยนำสินค้าเข้าจากมาเลเซียมูลค่า 2,489.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯและในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 718.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.9 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้าสินค้านำเข้าสำคัญเช่นเครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์โลหะเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบหลอดภาพโทรทัศน์น้ำมันดิบเป็นต้นดุลการค้าขาดดุลการค้าไทยมาเลเซียมาตลอด 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยปีละ 902.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯโดยในปี 2542 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซีย 364.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯและในระยะ 3 เดือนแรกของปี 2543 ไทยขาดดุลการค้ามาเลเซียแล้ว 56.8 ได้แก่ ตลับลูกปืนเครื่องอิเลคทรอนิกรำและเศษจากธัญพืชปลาหมึกแปรรูปเครื่องใช้สำหรับเดินทางไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์เครื่องยกทรงรัดทรงและส่วนประกอบนมและผลิตภัณฑ์นมแผงสวิทช์และแผงควบคุมกระแสไฟฟ้าธัญพืชอื่น ๆ วงจรพิมพ์เป็นต้นสินค้านำเข้า ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูปเครื่องจักรใช้ในการเกษตรเยื่อกระดาษและเศษกระดาษส่วนประกอบและอุปกรณ์รถจักรยานยนต์และรถจักรยานเครื่องดื่มประเภทน้ำแร่น้ำอัดลมและสุราผลิตภัณฑ์หนังปุ๋ยผลิตภัณฑ์ไม้ผัก ยางรถยนต์ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2541 (ภายในวินิจฉัย) ตีความ (ตีความ) ใหม่ว่ากระจกโฟลตตัดมุม (มุมตัด) ตามพิกัด 7005.21190 และ 7005.29910 ของกระจกโฟลตสีและกระจกโฟลตใส (ตัดเพื่อรูปร่างอื่น ๆ กว่าในรูปสี่เหลี่ยม) ต้องเสียภาษี ตามพิกัด 7005.21990 และ 7005.29990 ซึ่งต้องเสียภาษีนำเข้า 65 CENT / kg และไม่ได้รับการลดหย่อนตามข้อตกลง AFTA 30% ของราคา CIF AFTA สำหรับประเทศในอาเซียนที่มีการใช้ปฏิบัติมากว่า 6 ปี ซึ่งมีมูลค่ากว่า 20 ล้านบาทต่อปีหายไปทันทีเมื่อประกาศมีผลบังคับใช้เนื่องจากต้นทุนนำเข้าสูงขึ้นกว่า 65% (คาร์บอนต่ำลวดก้าน) ตนเอง และพิมพ์ชนิดไม่เคลือบเงา (พิมพ์ woodfree เคลือบผิวและเขียนกระดาษ) (MITI) พิมพ์ woodfree เคลือบผิวและเขียนกระดาษ ซึ่งทาง MITI เห็นว่ามีมูลความจริง จึงพิจารณาให้มีการไต่สวนขั้นต้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2542 28 กรกฏาคม เช่นส้มเงาะลำใยลิ้นจี่ทุเรียนซึ่งมีผลกระทบต่อการ (ข้อตกลงการค้าทวิภาคี) ระหว่างกัน องค์กรความร่วมมือทางการค้า (JTC) - มาเลเซีย (ไทย - มาเลเซียคณะกรรมการร่วมทางการค้า: เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุน ตลอดจนความร่วมมือทางวิชาการ ธุรกิจไทย - มาเลเซีย (ไทย - Malaysai สภาธุรกิจ) ร่วมกันทั้งสองประเทศ อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไท



























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
9 จากระยะเดียวกันของปีก่อนหน้าสินค้าส่งออกสำคัญเช่นเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบแผงวงจรไฟฟ้ายางพาราเคมีภัณฑ์เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: