ชื่อ ระบำเชียงแสนประเภทการแสดง ระบำประวัติที่มา ระบำเชียงแสน เป็นระบำช การแปล - ชื่อ ระบำเชียงแสนประเภทการแสดง ระบำประวัติที่มา ระบำเชียงแสน เป็นระบำช ไทย วิธีการพูด

ชื่อ ระบำเชียงแสนประเภทการแสดง ระบำ

ชื่อ ระบำเชียงแสน
ประเภทการแสดง ระบำ
ประวัติที่มา ระบำเชียงแสน เป็นระบำชุดที่ ๔ ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบศิลปะ และโบราณวัตถุสถานเชียงแสน นักโบราณคดีกำหนดสมัยเชียงแสน อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๒๕ ซึ่งได้เผยแพร่ไปทั่วดินแดนภาคเหนือของประเทศไทย ในสมัยโบราณเรียกว่าอาณาจักรลานนา ต่อมามีนครเชียงใหม่เป็นนครหลวงของอาณาจักร และเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานอันเจริญรุ่งเรือง จนถึงมีพระเถระไทยผู้เป็นนักปราชญ์สามารถแต่งตำนาน และคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาบาลีขึ้นไว้หลายคัมภีร์ อาทิ คัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ และมังคลัตถทีปนี เป็นต้น ศิลปะแบบเชียงแสนได้แพร่หลายลงมาตามลุ่มแม่น้ำโขงเข้าไปในพระราชอาณาจักรลาว สมัยที่เรียกว่าลานช้าง หรือกรุงศรีสัตนาคนหุต แล้วแพร่หลายเข้าในประเทศไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนด้วย เช่น พระพุทธรูปบางชนิดที่นักโบราณคดีบางท่าน บัญญัติเรียกว่า พระพุทธรูปเชียงแสนแบบลาว หรือพระลาวพุงขาว ด้วยเหตุนี้ระบำเชียงแสนจึงมีลีลาท่ารำ และกระบวนเพลงแบบสำเนียงไทยภาคเหนือ ลาว และแบบไทยภาตะวันออกเฉียงเหนือปนอยู่ด้วย
       ระบำเชียงแสน จัดแสดงครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภายหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชาติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนชม
       นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง
       นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ
       นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อระบำเชียงแสนประเภทการแสดงระบำประวัติที่มาระบำเชียงแสนเป็นระบำชุดที่ ๔ ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบศิลปะและโบราณวัตถุสถานเชียงแสนนักโบราณคดีกำหนดสมัยเชียงแสนอยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๒๕ ซึ่งได้เผยแพร่ไปทั่วดินแดนภาคเหนือของประเทศไทยในสมัยโบราณเรียกว่าอาณาจักรลานนาต่อมามีนครเชียงใหม่เป็นนครหลวงของอาณาจักรและเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานอันเจริญรุ่งเรืองจนถึงมีพระเถระไทยผู้เป็นนักปราชญ์สามารถแต่งตำนานและคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาบาลีขึ้นไว้หลายคัมภีร์อาทิคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์และมังคลัตถทีปนีเป็นต้นศิลปะแบบเชียงแสนได้แพร่หลายลงมาตามลุ่มแม่น้ำโขงเข้าไปในพระราชอาณาจักรลาวสมัยที่เรียกว่าลานช้างหรือกรุงศรีสัตนาคนหุตแล้วแพร่หลายเข้าในประเทศไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนด้วยเช่นพระพุทธรูปบางชนิดที่นักโบราณคดีบางท่านบัญญัติเรียกว่าพระพุทธรูปเชียงแสนแบบลาวหรือพระลาวพุงขาวด้วยเหตุนี้ระบำเชียงแสนจึงมีลีลาท่ารำและกระบวนเพลงแบบสำเนียงไทยภาคเหนือลาวและแบบไทยภาตะวันออกเฉียงเหนือปนอยู่ด้วย ระบำเชียงแสนจัดแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๑๐และภายหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชาติและที่อื่นๆ เพื่อให้ประชาชนชม นายมนตรีตราโมทผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทยกรมศิลปากรศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง นางลมุลยมะคุปต์ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทยวิทยาลัยนาฏศิลปกรมศิลปากรและนางเฉลยศุขะวณิชผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทยวิทยาลัยนาฏศิลปกรมศิลปากรศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ นายสนิทดิษฐพันธ์ออกแบบเครื่องแต่งกายนางชนานันท์ช่างเรียนสร้างเครื่องแต่งกายนายชิตแก้วดวงใหญ่สร้างศิราภ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อระบำเชียงแสนระบำ

ประเภทการแสดงประวัติที่มาระบำเชียงแสนเป็นระบำชุดที่โตเกียวประดิษฐ์ขึ้นตามแบบศิลปะและโบราณวัตถุสถานเชียงแสนนักโบราณคดีกำหนดสมัยเชียงแสนอยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่๑๗–๒๕ซึ่งได้เผยแพร่ไปทั่วดินแดนภาคเหนือของประเทศไทยต่อมามีนครเชียงใหม่เป็นนครหลวงของอาณาจักรและเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานอันเจริญรุ่งเรืองจนถึงมีพระเถระไทยผู้เป็นนักปราชญ์สามารถแต่งตำนานอาทิคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์และมังคลัตถทีปนีเป็นต้นศิลปะแบบเชียงแสนได้แพร่หลายลงมาตามลุ่มแม่น้ำโขงเข้าไปในพระราชอาณาจักรลาวสมัยที่เรียกว่าลานช้างหรือกรุงศรีสัตนาคนหุตเช่นพระพุทธรูปบางชนิดที่นักโบราณคดีบางท่านบัญญัติเรียกว่าพระพุทธรูปเชียงแสนแบบลาวหรือพระลาวพุงขาวด้วยเหตุนี้ระบำเชียงแสนจึงมีลีลาท่ารำและกระบวนเพลงแบบสำเนียงไทยภาคเหนือลาว       ระบำเชียงแสนจัดแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่๒๔พฤษภาคมพ . ศ๒๕๑๐และภายหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชาติและที่อื่นจะเพื่อให้ประชาชนชม
.       นายมนตรีตราโมทผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทยกรมศิลปากรศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ( ดนตรีไทย ) ปีพุทธศักราช๒๕๒๘เป็นผู้แต่งทำนองเพลง
       นางลมุลยมะคุปต์ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทยวิทยาลัยนาฏศิลปกรมศิลปากรและนางเฉลยศุขะวณิชผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทยวิทยาลัยนาฏศิลปกรมศิลปากรศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ( นาฏศิลป์ )๒๕๓๐เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: