หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาลความเป็นมา ฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาระบ การแปล - หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาลความเป็นมา ฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาระบ ไทย วิธีการพูด

หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาลความเป็นมา

หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาล
ความเป็นมา
ฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศของฝ่ายการพยาบาลด้านการบริหารการพยาบาล การบริการรักษาพยาบาลและการบริการ ด้านวิชาการ เพื่อนำไปใช้ ประโยชน์ในการปรับปรุงระบบงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเป็นการสอดคล้องกับนโยบายของคณะแพทยศาสตร์ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสารสนเทศตั้งแต่เดือนมกราคม 2541 เป็นต้นมา
วัตถุประสงค์
เพื่อดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศทางการพยาบาล และการเผยแพร่ตลอดจนการจัดการฐานข้อมูลทางการพยาบาล รวมทั้งการให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบ
คณะกรรมการที่ปรึกษา
1. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
2. รองหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
3. หัวหน้างานการพยาบาล
คณะกรรมการสารสนเทศ
1. พยาบาล จำนวน 7 คน ปฏิบัติงานเต็มเวลาที่ฝ่ายการพยาบาล ทำหน้าที่บริหารจัดการด้านข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาล ดูแล/ให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงตลอดจนประสานงานด้าน สารสนเทศโรงพยาบาลรวมทั้งจัดอบรมการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่างๆ
2. กลุ่มผู้แทนจากทุกงานการพยาบาลละ 1 คน รวม 10 คน ปฏิบัติงานที่หอผู้ป่วย/หน่วยตรวจ มีวาระการทำงานวาระละ 2 ปีทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูล ช่วยสอน เป็นที่ปรึกษาด้านสารสนเทศแก่หน่วยงานในฝ่ายการพยาบาล(กลุ่มเผยแพร่)
ขอบข่ายงาน
ปฏิบัติงานด้านสารสนเทศทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยและ/หรือนอกหอผู้ป่วยในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ และการปฏิบัติการพยาบาลตลอดจนจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาลทั้งการปฏิบัติการพยาบาล การบริหาร การสอนวิชาการ ตลอดจนประสานงานกับงานเวชสารสนเทศด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรม
ด้านบริหารการพยาบาล
1. ประสานในการจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสำหรับใช้ในหน่วยงานของฝ่ายการพยาบาล
2. จัดทำและดูแลระบบเครือข่ายทั้งแบบ Internet และ Intranetของฝ่ายการพยาบาล
3. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริหาร
4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน กิจกรรมและแจ้งข่าวสารของฝ่ายการพยาบาลบน web page
5. ให้บริการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
6. การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
7. ประชุมคณะกรรมการสารสนเทศ
ด้านบริการพยาบาล
1.วางแผนและแก้ไขปัญหาระบบสารสนเทศโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศทางการพยาบาลร่วมกับหน่วยงานอื่น
2. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริการ
3. ประสานงานการใช้และแก้ไขปัญหาการใช้สารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อการจัดการทางคลินิก
4. ตรวจเยี่ยมและให้บริการเคลื่อนที่เมื่อมีปัญหาการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาลที่ต้องแก้ไขรีบด่วน
5. นิเทศการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาล
ด้านวิชาการ
1. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งในและนอกเวลาราชการให้บุคลากร พยาบาล
2. อบรมความรู้เรื่องสารสนเทศทางการพยาบาลให้บุคลากรพยาบาล
3. อบรมความรู้เรื่องโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาลให้บุคลากรพยาบาล
4. อบรมความรู้เรื่องการจัดการฐานข้อมูลและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการสารสนเทศ
5. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านวิชาการ
6. จัดทำคู่มือการใช้งานคอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐาน
7. จัดทำคู่มือการใช้งานโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาล
8. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และสารสนเทศทางการพยาบาลบน web page
9. วิจัยเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเรื่องปัญหาของการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการทางคลินิกมาใช้ในงานพยาบาล
คุณสมบัติของคณะกรรมการสารสนเทศ ฝ่ายการพยาบาล
คุณสมบัติพื้นฐาน
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาการพยาบาล
2. มีความสามารถในการประสานงานกับบุคลากรพยาบาล บุคลากรทางด้านสุขภาพสาขาอื่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ตลอดจนวิศวกรคอมพิวเตอร์ ในการสนับสนุนการจัดทำสารสนเทศทางการพยาบาล
3. มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานของคอมพิวเตอร์และแหล่งทรัพยากรข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพยาบาล
4. มีความรู้ ทักษะ ตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ซอฟแวร ์ เพื่อให้บรรลุความต้องการทางการพยาบาล
คุณสมบัติเพิ่มเติม
1. มีความรู้ ทักษะ ตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ฮาร์ดแวร์เพื่อให้บรรลุความต้องการทางการพยาบาล
2. มีความสามารถในการวิเคราะห์ ออกแบบ จัดทำ พัฒนาระบบข้อมูลและระบบเครือข่าย
3. มีความสามารถในการเขียนซอร์ฟแวร์ภาษาคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ภาษา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาลความเป็นมา ฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศของฝ่ายการพยาบาลด้านการบริหารการพยาบาลการบริการรักษาพยาบาลและการบริการด้านวิชาการเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงระบบงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเป็นการสอดคล้องกับนโยบายของคณะแพทยศาสตร์จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสารสนเทศตั้งแต่เดือนมกราคม 2541 เป็นต้นมาวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศทางการพยาบาลและการเผยแพร่ตลอดจนการจัดการฐานข้อมูลทางการพยาบาลรวมทั้งการให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์องค์ประกอบคณะกรรมการที่ปรึกษา1. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล2. รองหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล3. หัวหน้างานการพยาบาลคณะกรรมการสารสนเทศ1. พยาบาลจำนวน 7 คนปฏิบัติงานเต็มเวลาที่ฝ่ายการพยาบาลทำหน้าที่บริหารจัดการด้านข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาลดูแล/ให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงตลอดจนประสานงานด้านสารสนเทศโรงพยาบาลรวมทั้งจัดอบรมการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่าง ๆ2. กลุ่มผู้แทนจากทุกงานการพยาบาลละ 1 คนรวม 10 คนปฏิบัติงานที่หอผู้ป่วย/หน่วยตรวจมีวาระการทำงานวาระละ 2 ปีทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลช่วยสอนเป็นที่ปรึกษาด้านสารสนเทศแก่หน่วยงานในฝ่ายการพยาบาล(กลุ่มเผยแพร่)ขอบข่ายงานปฏิบัติงานด้านสารสนเทศทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยและ/หรือนอกหอผู้ป่วยในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการและการปฏิบัติการพยาบาลตลอดจนจัดกระทำข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาลทั้งการปฏิบัติการพยาบาลการบริหารการสอนวิชาการตลอดจนประสานงานกับงานเวชสารสนเทศด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกิจกรรมด้านบริหารการพยาบาล1. ประสานในการจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสำหรับใช้ในหน่วยงานของฝ่ายการพยาบาล2. จัดทำและดูแลระบบเครือข่ายทั้งแบบอินเทอร์เน็ตและ Intranetของฝ่ายการพยาบาล3. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริหาร4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์หน่วยงานกิจกรรมและแจ้งข่าวสารของฝ่ายการพยาบาลบนเพจ5. ให้บริการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์6. การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์7. ประชุมคณะกรรมการสารสนเทศด้านบริการพยาบาล1.วางแผนและแก้ไขปัญหาระบบสารสนเทศโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศทางการพยาบาลร่วมกับหน่วยงานอื่น2. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริการ3. ประสานงานการใช้และแก้ไขปัญหาการใช้สารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อการจัดการทางคลินิก4. ตรวจเยี่ยมและให้บริการเคลื่อนที่เมื่อมีปัญหาการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาลที่ต้องแก้ไขรีบด่วน5. นิเทศการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาลด้านวิชาการ1. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งในและนอกเวลาราชการให้บุคลากรพยาบาล2. อบรมความรู้เรื่องสารสนเทศทางการพยาบาลให้บุคลากรพยาบาล3. อบรมความรู้เรื่องโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาลให้บุคลากรพยาบาล4. อบรมความรู้เรื่องการจัดการฐานข้อมูลและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการสารสนเทศ5. การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านวิชาการ6. จัดทำคู่มือการใช้งานคอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐาน7. จัดทำคู่มือการใช้งานโปรแกรมสารสนเทศโรงพยาบาล8. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และสารสนเทศทางการพยาบาลบนเพจ9. วิจัยเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเรื่องปัญหาของการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการทางคลินิกมาใช้ในงานพยาบาลคุณสมบัติของคณะกรรมการสารสนเทศฝ่ายการพยาบาลคุณสมบัติพื้นฐาน1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาการพยาบาล2. มีความสามารถในการประสานงานกับบุคลากรพยาบาลบุคลากรทางด้านสุขภาพสาขาอื่นนักวิเคราะห์และออกแบบระบบตลอดจนวิศวกรคอมพิวเตอร์ในการสนับสนุนการจัดทำสารสนเทศทางการพยาบาล3. มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานของคอมพิวเตอร์และแหล่งทรัพยากรข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพยาบาล4. มีความรู้ทักษะตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ซอฟแวรโทรศัพท์เพื่อให้บรรลุความต้องการทางการพยาบาลคุณสมบัติเพิ่มเติม1. ตลอดจนสามารถให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ฮาร์ดแวร์เพื่อให้บรรลุความต้องการทางการพยาบาลทักษะมีความรู้2. มีความสามารถในการวิเคราะห์ออกแบบจัดทำพัฒนาระบบข้อมูลและระบบเครือข่าย3. มีความสามารถในการเขียนซอร์ฟแวร์ภาษาคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ภาษา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การบริการรักษาพยาบาลและการบริการด้านวิชาการเพื่อนำไปใช้ 2541 หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล2 รองหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล3 พยาบาลจำนวน 7 คน กลุ่มผู้แทนจากทุกงานการพยาบาลละ 1 คนรวม 10 คนปฏิบัติงานที่หอผู้ป่วย / หน่วยตรวจมีวาระการทำงานวาระละ 2 ปีทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลช่วยสอน การบริหารการสอนวิชาการ จัดทำและดูแลระบบเครือข่ายทั้งแบบอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตของฝ่ายการพยาบาล3 การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริหาร4 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน หน้าเว็บ5 การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์7 การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านบริการ3 พยาบาล2 การจัดทำฐานข้อมูลทางด้านวิชาการ6 หน้าเว็บ9 ฝ่ายการพยาบาลคุณสมบัติพื้นฐาน1 บุคลากรทางด้านสุขภาพสาขาอื่นนักวิเคราะห์และออกแบบระบบตลอดจนวิศวกรคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพยาบาล4 มีความรู้ทักษะ ์ มีความรู้ทักษะ มีความสามารถในการวิเคราะห์ออกแบบจัดทำพัฒนาระบบข้อมูลและระบบเครือข่าย3 1 ภาษา
















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หน่วยสารสนเทศทางการพยาบาล

ความเป็นมาฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศของฝ่ายการพยาบาลด้านการบริหารการพยาบาลการบริการรักษาพยาบาลและการบริการด้านวิชาการเพื่อนำไปใช้จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสารสนเทศตั้งแต่เดือนมกราคม 2541 เป็นต้นมา
วัตถุประสงค์

คณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศทางการพยาบาลและการเผยแพร่ตลอดจนการจัดการฐานข้อมูลทางการพยาบาลรวมทั้งการให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์องค์ประกอบ

1 หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
2รองหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
3 คณะกรรมการสารสนเทศหัวหน้างานการพยาบาล

1พยาบาลจำนวน 7 คนปฏิบัติงานเต็มเวลาที่ฝ่ายการพยาบาลทำหน้าที่บริหารจัดการด้านข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาลดูแล / ให้บริการการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงตลอดจนประสานงานด้าน2 . กลุ่มผู้แทนจากทุกงานการพยาบาลละ 1 คนรวม 10 คนปฏิบัติงานที่หอผู้ป่วย / หน่วยตรวจมีวาระการทำงานวาระละ 2 ปีทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลช่วยสอนเป็นที่ปรึกษาด้านสารสนเทศแก่หน่วยงานในฝ่ายการพยาบาล ( กลุ่มเผยแพร่ )
ขอบข่ายงาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: