ประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้พลังงานปัจจุบันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะภา การแปล - ประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้พลังงานปัจจุบันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะภา ไทย วิธีการพูด

ประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้พลังงานปัจจ

ประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้พลังงานปัจจุบันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะภาคที่อยู่อาศัยที่มีการใช้พลังงานเป็นอันดับ 3 จากทุกภาคส่วนทำให้ภาครัฐมีมาตรการสนับสนุนการติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงานของบ้านอยู่อาศัย ในการประเมินใช้เกณฑ์การประเมินอาคารประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บ้านพักอาศัย จัดทำโดยรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุกรักษ์พลังงานสังกัดกระทรวงพลังงาน สำหรับบ้านประหยัดพลังงานยังไม่เป็นที่นิยมใรปัจจุบัน เนื่องจากไม่สามารถหาข้อสรุปได้ว่ามีค่าใช้จ่ายและได้รับผลประโยชน์เท่าใดในการปรับปรุงหรือก่อสร้าง
งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาองค์ประกอบเปลือกอาคารกับสัดส่วนการได้คะแนนในเกณฑ์ประเมินอาคารประหยัดพลังงานฯ และค่าการใช้พลังงานภายในบ้านที่มาจากระบบปรับอากาศ เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงเปลือกอาคารบ้านจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยวเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยเปรียบเทียบต้นทุนที่เพิ่มในการปรับปรุงบ้านและผลประโยชน์ที่ได้รับภายใต้แนวทางการปรับปรุงที่มีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 20 ปี อันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานของวัสดุฉนวน โดยทำการสำรวจบ้านเดี่ยวที่พบในปัจจุบัน จำนวน 328 หลังและคัดเลือกแบบบ้านเดี่ยวที่พบมากที่สุด จำนวน 54 หลังในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล (ปี พ.ศ. 2557-2558) ทำการจำลองค่าการใช้พลังงานด้วยโปรแกรม eQUEST 3.64 ผลจากการศึกษาพบว่าสามารถจัดกลุ่มบ้านตามช่วงคะแนนที่ได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ระหว่าง 4-5 คะแนน (2) ระหว่าง 9-11 คะแนน จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน บ้านในระดับคะแนน 9-11 คะแนนบางส่วน มีค่าการใช้พลังงานไม่สัมพันธ์กับค่าการใช้พลังงาน สำหรับเกณฑ์ประเมินควรพิจารณาอัตราส่วนพื้นที่ผหน้าต่างต่อพื้นที่ผนังในแต่ละทิศ อัตราส่วนพื้นที่หน้าต่างต่อพื้นที่ผนังรวมของบ้าน (WWR) เป็นปัจจัยองค์ประกอบเปลือกอาคารที่มีอิทธิพลต่อค่าการใช้พลังงานภายในบ้านระดับปานกลางและอัตราการรั่วซึมอากาศที่บานกรอบหน้าต่างและประตู (Infiltration) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในระดับต่ำ ผลการศึกษาการปรับปรุงวัสดุเปลือกอาคารทั้ง 12 ชนิด สำหรับฉนวนฝ้าเพดานมีค่าคะแนนจากเกณฑ์ประเมินมากที่สุด (9-12 คะแนน) ชนิดกระจกมีคะแนนรองลงมา (3-7 คะแนน) และฉนวนผนังอาคารได้คะแนนจากเกณฑ์ประเมินต่ำที่สุด (3 คแนน) ผลดังกล่าวไม่สอดคล้องกับค่าการใช้พลังงานการเปลี่ยนชนิดกระจกสะท้อนแสงสามารถลดค่าการใช้พลังงานได้สูงสุด รองลงมาคือการใช้ฉนวนผนังอาคาร และฉนวนฝ้าเพดานไม่สามารถลดค่าการใช้พลังงานได้ และศึกษาการปรับปรุงร่วมกันของวัสดุเปลือกอาคารทั้ง 12 ชนิด รวม 60 กรณี มีแนวโน้มค่าการใช้พลังงานสอดคล้องกับการศึกษาการปรับปรุงเปลือกอาคารรายวัสดุ โดยแนวทางการปรับปรุงกระจกสะท้อนแสงร่วมกับการติดตั้งระบบฉนวน EIFS 3 นิ้วที่ผนังอาคารสามารถลดค่าการใช้พลังงานได้สูงสุด ระยะเวลาคืนทุนที่ไม่เกิน 20 ปีเพื่อประยุกต์กับบ้านเดี่ยวที่พบในปัจจุบัน แนวทางการปรับปรุงที่ได้รับผลประโยชน์สูงสุดในด้านพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงและคะแนนที่ได้จากเกณฑ์ประเมิน 3 อันดับ ได้แก่ 1) กระจกสีเขียวร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว 2) กระจกสะท้อนแสงร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว และ 3) กระจกสะท้อนแสงติดตั้งฉนวนใยแก้ว 3 นิ้วที่ผนังอาคารร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว โดยอาศัยดัชนีชี้วัดทางเศรษฐศาสตร์อย่างระยะเวลาคืนทุนเพื่อหาแนวทางการปรับปรุงที่เหมาะสม การปรับปรุงกระจกสะท้อนแสงร่วมกับการติดตั้งฉวนใยแก้ว หนา 6 นิ้วเหนือฝ้าเพดาน มีระยะเวลาคืนทุนน้อยที่สุด 13.2 ปีเป็นแนวทางการปรับปรุงที่เหมาะสมที่สุด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้พลังงานปัจจุบันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะภาคที่อยู่อาศัยที่มีการใช้พลังงานเป็นอันดับ 3 จากทุกภาคส่วนทำให้ภาครัฐมีมาตรการสนับสนุนการติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงานของบ้านอยู่อาศัย ในการประเมินใช้เกณฑ์การประเมินอาคารประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บ้านพักอาศัย จัดทำโดยรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุกรักษ์พลังงานสังกัดกระทรวงพลังงาน สำหรับบ้านประหยัดพลังงานยังไม่เป็นที่นิยมใรปัจจุบัน เนื่องจากไม่สามารถหาข้อสรุปได้ว่ามีค่าใช้จ่ายและได้รับผลประโยชน์เท่าใดในการปรับปรุงหรือก่อสร้างงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาองค์ประกอบเปลือกอาคารกับสัดส่วนการได้คะแนนในเกณฑ์ประเมินอาคารประหยัดพลังงานฯ และค่าการใช้พลังงานภายในบ้านที่มาจากระบบปรับอากาศ เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงเปลือกอาคารบ้านจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยวเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยเปรียบเทียบต้นทุนที่เพิ่มในการปรับปรุงบ้านและผลประโยชน์ที่ได้รับภายใต้แนวทางการปรับปรุงที่มีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 20 ปี อันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานของวัสดุฉนวน โดยทำการสำรวจบ้านเดี่ยวที่พบในปัจจุบัน จำนวน 328 หลังและคัดเลือกแบบบ้านเดี่ยวที่พบมากที่สุด จำนวน 54 หลังในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล (ปี พ.ศ. 2557-2558) ทำการจำลองค่าการใช้พลังงานด้วยโปรแกรม eQUEST 3.64 ผลจากการศึกษาพบว่าสามารถจัดกลุ่มบ้านตามช่วงคะแนนที่ได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ระหว่าง 4-5 คะแนน (2) ระหว่าง 9-11 คะแนน จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน บ้านในระดับคะแนน 9-11 คะแนนบางส่วน มีค่าการใช้พลังงานไม่สัมพันธ์กับค่าการใช้พลังงาน สำหรับเกณฑ์ประเมินควรพิจารณาอัตราส่วนพื้นที่ผหน้าต่างต่อพื้นที่ผนังในแต่ละทิศ อัตราส่วนพื้นที่หน้าต่างต่อพื้นที่ผนังรวมของบ้าน (WWR) เป็นปัจจัยองค์ประกอบเปลือกอาคารที่มีอิทธิพลต่อค่าการใช้พลังงานภายในบ้านระดับปานกลางและอัตราการรั่วซึมอากาศที่บานกรอบหน้าต่างและประตู (Infiltration) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในระดับต่ำ ผลการศึกษาการปรับปรุงวัสดุเปลือกอาคารทั้ง 12 ชนิด สำหรับฉนวนฝ้าเพดานมีค่าคะแนนจากเกณฑ์ประเมินมากที่สุด (9-12 คะแนน) ชนิดกระจกมีคะแนนรองลงมา (3-7 คะแนน) และฉนวนผนังอาคารได้คะแนนจากเกณฑ์ประเมินต่ำที่สุด (3 คแนน) ผลดังกล่าวไม่สอดคล้องกับค่าการใช้พลังงานการเปลี่ยนชนิดกระจกสะท้อนแสงสามารถลดค่าการใช้พลังงานได้สูงสุด รองลงมาคือการใช้ฉนวนผนังอาคาร และฉนวนฝ้าเพดานไม่สามารถลดค่าการใช้พลังงานได้ และศึกษาการปรับปรุงร่วมกันของวัสดุเปลือกอาคารทั้ง 12 ชนิด รวม 60 กรณี มีแนวโน้มค่าการใช้พลังงานสอดคล้องกับการศึกษาการปรับปรุงเปลือกอาคารรายวัสดุ โดยแนวทางการปรับปรุงกระจกสะท้อนแสงร่วมกับการติดตั้งระบบฉนวน EIFS 3 นิ้วที่ผนังอาคารสามารถลดค่าการใช้พลังงานได้สูงสุด ระยะเวลาคืนทุนที่ไม่เกิน 20 ปีเพื่อประยุกต์กับบ้านเดี่ยวที่พบในปัจจุบัน แนวทางการปรับปรุงที่ได้รับผลประโยชน์สูงสุดในด้านพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงและคะแนนที่ได้จากเกณฑ์ประเมิน 3 อันดับ ได้แก่ 1) กระจกสีเขียวร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว 2) กระจกสะท้อนแสงร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว และ 3) กระจกสะท้อนแสงติดตั้งฉนวนใยแก้ว 3 นิ้วที่ผนังอาคารร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว โดยอาศัยดัชนีชี้วัดทางเศรษฐศาสตร์อย่างระยะเวลาคืนทุนเพื่อหาแนวทางการปรับปรุงที่เหมาะสม การปรับปรุงกระจกสะท้อนแสงร่วมกับการติดตั้งฉวนใยแก้ว หนา 6 นิ้วเหนือฝ้าเพดาน มีระยะเวลาคืนทุนน้อยที่สุด 13.2 ปีเป็นแนวทางการปรับปรุงที่เหมาะสมที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
3 และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบ้านพักอาศัย
20 ปี จำนวน 328 จำนวน 54 หลังในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล (ปี พ.ศ. 2557-2558) Equest 3.64 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ระหว่าง 4-5 คะแนน (2) ระหว่างวันที่ 9-11 คะแนนจากคะแนนเต็ม 40 คะแนนบ้านในระดับคะแนน 9-11 คะแนนบางส่วน (WWR) (แทรกซึม) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในระดับต่ำ 12 ชนิด (9-12 คะแนน) ชนิดกระจกมีคะแนนรองลงมา (3-7 คะแนน) (3 คแนน) รองลงมาคือการใช้ฉนวนผนัง อาคาร 12 ชนิดรวม 60 กรณี EIFS 3 ระยะเวลาคืนทุนที่ไม่เกิน 20 3 อันดับ ได้แก่ 1) กระจกสีเขียวร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้ว 2) กระจกสะท้อนแสงร่วมกับฉนวนใยแก้ว 6 นิ้วและ 3) กระจกสะท้อนแสงติดตั้งฉนวนใยแก้ว 3 นิ้วที่ผนังอาคารร่วมกับฉนวนใย แก้ว 6 นิ้ว หนา 6 นิ้วเหนือฝ้าเพดานมีระยะเวลาคืน ทุนน้อยที่สุด 13.2
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: