โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึ การแปล - โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึ ไทย วิธีการพูด

โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้อ

โครงการพระราชดำริฝนหลวง
เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้
ทำไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝน
ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทำได้ มีหนังสือ
เคยอ่านหนังสือ ทำได้..."

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ


นับตั้งแต่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้รับสนองพระราชดำริไปดำเนินการศึกษาค้นคว้าทดลองโปรยสารเคมีด้วยเครื่องบินเป็นครั้งแรก ณ วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เมื่อ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จากนั้นเป็นต้นมา ก็มีการขยายผลการปฏิบัติไปช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ เป็นประจำทุกปี จนรัฐบาลได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๘


พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวกับฝนหลวง เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่วางแผนสาธิตการทำฝนหลวงลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ให้ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ชมวางแผนปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง สามารถทำให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายอ่างเก็บน้ำได้อย่างแม่นยำภายในเวลาที่กำหนด


ภารกิจของสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงมีเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ และเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้รวมสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงกับกองบินเกษตรเข้าเป็นหน่วยงานเดียว ชื่อว่า "สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร"


กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชดำริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก และเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชดำริ จึงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้น เพื่อวางแผน อำนวยการ ควบคุม กำกับการ และประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ในการปฏิบัติการฝนหลวงของกองทัพอากาศ มิใช่เพียงการใช้เครื่องบินและกำลังพลเข้าปฏิบัติการเท่านั้น หากแต่ยังได้จัดทำ

โครงการวิจัยและพัฒนากระสุนสารเคมีซิลเวร์ไอโอไดด์ ที่ใช้กับเครื่องบินที่ปฏิบัติการทำฝนหลวงในเมฆเย็น
โครงการวิจัยควบคุมดินฟ้าอากาศ แนววิจัยโครงการนี้คือ การนำสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า ทำให้เมฆรวมตัวและก่อให้เกิดฝนตกได้ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นท้องฟ้าจะไม่มีเมฆเลยก็ตาม ซึ่งกองทัพอากาศสามารถผลิตจรวดที่นำสารเคมีบรรจุในหัวจรวด แล้วยิงขึ้นฟ้าที่ระดับความสูง ๑-๑.๕ กม.

ในช่วงฤดูแล้งของ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้เกิดภาวะขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคอย่างรุนแรงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในพื้นที่ ๘ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาวะดังกล่าวได้สร้างความเดือดร้อนทุกข์ยากให้ประชาชนอย่างหนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ ผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ให้หาลู่ทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็วด้วย อันนำไปสู่โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว


ในปีเดียวกันนี้เอง กองทัพเรือก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมปฏิบัติงานในโครงการปฏิบัติฝนหลวงพิเศษตามพระราชดำริ ภายใต้โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว และในทุกปีที่ผ่านมา ในส่วนของกองเรือยุทธการ จะทำพิธีส่งเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษกองทัพเรือ ประมาณต้นเดือนมีนาคม ณ กองการบินทหารเรือ จะมีโอกาสอวดธงราชนาวีเหนือน่านฟ้าของไทย ในภารกิจบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน


บัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณาประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่ำแก่แผ่นดิน แม้แต่น้ำในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง

เขียนโดย TKA296612 ที่ 08:46 1 ความคิดเห็น: หน้าแรก สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝนก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ฝนทำได้มีหนังสือเคยอ่านหนังสือทำได้..."พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการพระราชดำริฝนหลวงเป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดารที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคและเกษตรกรรมอันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปรและความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาตินับตั้งแต่ม.ร.ว.เทพฤทธิ์เทวกุลได้รับสนองพระราชดำริไปดำเนินการศึกษาค้นคว้าทดลองโปรยสารเคมีด้วยเครื่องบินเป็นครั้งแรกณวนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เมื่อ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จากนั้นเป็นต้นมาก็มีการขยายผลการปฏิบัติไปช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ เป็นประจำทุกปีจนรัฐบาลได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เมื่อพ.ศ.๒๕๑๘จังหวัดเพชรบุรีพระราชกรณียกิจที่เกี่ยวกับฝนหลวงเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่วางแผนสาธิตการทำฝนหลวงลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจานให้ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ชมวางแผนปฏิบัติการด้วยพระองค์เองสามารถทำให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายอ่างเก็บน้ำได้อย่างแม่นยำภายในเวลาที่กำหนดภารกิจของสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงมีเพิ่มมากขึ้นตามลำดับและเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวยิ่งขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๕๓๕คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้รวมสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงกับกองบินเกษตรเข้าเป็นหน่วยงานเดียวชื่อว่า "สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร"กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชดำริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจังตั้งแต่พ.ศ.๒๕๑๕เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูกและเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนักกองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอจนถึงพ.ศ.๒๕๓๗ผู้บัญชาการทหารอากาศตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชดำริจึงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้นเพื่อวางแผนอำนวยการควบคุมกำกับการและประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการปฏิบัติการฝนหลวงของกองทัพอากาศมิใช่เพียงการใช้เครื่องบินและกำลังพลเข้าปฏิบัติการเท่านั้นหากแต่ยังได้จัดทำโครงการวิจัยและพัฒนากระสุนสารเคมีซิลเวร์ไอโอไดด์ที่ใช้กับเครื่องบินที่ปฏิบัติการทำฝนหลวงในเมฆเย็น โครงการวิจัยควบคุมดินฟ้าอากาศแนววิจัยโครงการนี้คือการนำสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้าทำให้เมฆรวมตัวและก่อให้เกิดฝนตกได้ถึงแม้ว่าในขณะนั้นท้องฟ้าจะไม่มีเมฆเลยก็ตามซึ่งกองทัพอากาศสามารถผลิตจรวดที่นำสารเคมีบรรจุในหัวจรวดแล้วยิงขึ้นฟ้าที่ระดับความสูง ๑ -๑.๕กมในช่วงฤดูแล้งของ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้เกิดภาวะขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคอย่างรุนแรงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในพื้นที่ ๘ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาวะดังกล่าวได้สร้างความเดือดร้อนทุกข์ยากให้ประชาชนอย่างหนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ ผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ให้หาลู่ทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็วด้วย อันนำไปสู่โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว

ในปีเดียวกันนี้เอง กองทัพเรือก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมปฏิบัติงานในโครงการปฏิบัติฝนหลวงพิเศษตามพระราชดำริ ภายใต้โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว และในทุกปีที่ผ่านมา ในส่วนของกองเรือยุทธการ จะทำพิธีส่งเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษกองทัพเรือ ประมาณต้นเดือนมีนาคม ณ กองการบินทหารเรือ จะมีโอกาสอวดธงราชนาวีเหนือน่านฟ้าของไทย ในภารกิจบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน


บัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณาประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่ำแก่แผ่นดิน แม้แต่น้ำในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง

เขียนโดย TKA296612 ที่ 08:46 1 ความคิดเห็น: หน้าแรก สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ฝนทำได้มีหนังสือเคยอ่านหนังสือทำได้ ... " พระราชดำรัส บริโภคและเกษตรกรรมอันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร ม. ร. ว. เทพฤทธิ์เทวกุล ณ วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เมื่อ 2 กรกฎาคม 2512 จากนั้นเป็นต้นมา เป็นประจำทุกปีจนรัฐบาลได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง เมื่อ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2535 ชื่อว่า ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 และเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนัก จนถึง พ.ศ. 2537 ผู้บัญชาการทหารอากาศ เพื่อวางแผนอำนวยการควบคุมกำกับการ แนววิจัยโครงการนี้คือการนำสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า แล้วยิงขึ้นฟ้าที่ระดับความสูง 1-1.5 กม. ในช่วงฤดูแล้งของ พ.ศ. 2530 ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ผู้บัญชาการทหารบกเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2530 ภายใต้โครงการน้ำพระทัยจากในหลวงหรือโครงการอีสานเขียวและในทุกปีที่ผ่านมาในส่วนของกองเรือยุทธการ ประมาณต้นเดือนมีนาคม ณ กองการบินทหารเรือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่ำแก่แผ่นดินแม้แต่น้ำในเขื่อนต่างๆที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชอย่างแท้จริงเขียนโดย TKA296612 ที่ 08:46 1 ความคิดเห็น: หน้าแรกสมัครสมาชิก: บทความ (Atom)





































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: