ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ 3 ประการ ซึ่งมีอยู่ในทุกสิ่ง ทุกอย่ การแปล - ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ 3 ประการ ซึ่งมีอยู่ในทุกสิ่ง ทุกอย่ ไทย วิธีการพูด

ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ

ไตรลักษณ์

ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ 3 ประการ ซึ่งมีอยู่ในทุกสิ่ง ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ เรียกว่า สามัญลักษณะ คือ ลักษณะพื้น ๆ ทั่วไป มีอยู่ในทุกสิ่ง หรือ ทุกสิ่งมีลักษณะ ร่วมกัน เป็นความจริง ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นกฎของธรรมชาติ มีขึ้นเอง เป็นขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ไม่มีใครสร้าง เป็นสัจธรรมของโลก ซึ่งเป็นความจริงของชีวิตอย่างหนึ่ง มีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังนี้ (พระราชวรมุนี. 2541 : 119-139)

อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และดับไปทุกขณะ ปรากฏขึ้นมา แล้วก็หายไป ทุกสิ่งทุกอย่างเกิด – ดับทุกขณะ เพราะฉะนั้น ทุกสิ่งทุกอย่าง เปลี่ยนแปลง ไม่มีอะไรคงที่ เช่น คนเราเกิดมา เป็นเด็ก เป็นหนุ่มสาว เป็นคนแก่ แล้วก็ตาย ในที่สุด แม้ต้องการความ เป็นหนุ่มสาวอยู่เรื่อยไป ไม่ต้องการเป็นคนแก่ ถึงกับพยายามหาทาง ป้องกัน ด้วยวิธีต่าง ๆ ก็ไม่สามารถ จะฝืนธรรมชาติไปได้ คือ จะต้องแก่ จะต้องแตกดับไป ตามสภาพแห่งความเป็นจริง
ทุกขัง คือ ความทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ เป็นสิ่งที่ทนได้ยาก หรือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ แต่ละคน ไม่ชอบความลำบาก บางครั้งเราหนีปัญหา หนีทุกข์ แต่ความทุกข์นั้น มีอยู่ทั่วไปในทุกหน ทุกแห่ง ทุกคนต้องเจอทุกข์ เราหนีทุกข์ไม่พ้น ทุกข์ เป็นสิ่งที่เราต้องรู้ว่า มันเป็นทุกข์ กำหนดรู้อย่าหนีทุกข์ ความทุกข์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
1.) ความรู้สึกเจ็บปวดในกาย หรือในใจ ใครปวดกายก็ทุกข์ ใครปวดใจก็ทุกข์ เป็นความรู้สึกในใจ ที่คนเราส่วนมากรู้สึกกัน
2.) ทุกข์ที่เกิดจาก ความเปลี่ยนแปลง พูดง่าย ๆ ก็คือสุขกลายเป็นทุกข์ เคยมีความ สุขอยู่ พอสุขนั้นหายไป ตามกฎอนิจจัง เราก็ทุกข์ขึ้นมา
3.) ทุกข์จากสิ่งที่ถูกบีบคั้น จนทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ พระพุทธศาสนา ไม่ได้ มองโลกในแง่ร้าย หรือการมองโลกในแง่ดี แต่พระพุทธศาสนา เป็นสัจนิยม มองโลกตาม ความเป็นจริง มองทุกสิ่งทุกอย่าง ตามความเป็นจริง เป็นสัจธรรม และสอนว่า สัจธรรมคือ สิ่งที่เป็นจริงตามธรรมชาติ ความทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ซึ่งเกิดเพราะ ความเปลี่ยนแปลง ไม่คงที่ คือ ความไม่เที่ยงนั่นเอง ความทุกข์ มีมากมายหลายชนิด พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ในที่นี้ จะกล่าวถึงทุกข์ที่ตรัสไว้ ในปฐมเทศนา ว่าความเกิด ความแก่ ความตาย ความประจวบกับสิ่งท ี่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพราก จากสิ่งที่รัก ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้ตามที่ต้องการ และการยึดมั่นถือมั่น ทำให้เกิดทุกข์ทั้งสิ้น
อนัตต คือ ไม่ใช่ตัวตน หมายความว่า สิ่งทั้งหลาย ไม่มีแก่นสารถาวรคงที่ ที่ไม่ เปลี่ยนแปลงไม่มี ตัวคนเราประกอบด้วย ส่วนประกอบหลายอย่าง ที่ปรุงแต่งเข้ามา เป็นตัวคน แต่พอดึงออกมาแต่ละอย่าง ความเป็นคนกระจายออกไป หาแก่นที่เป็นตัวตนไม่ได้ เพราะฉะนั้น จึงไม่มีตัวที่เที่ยงแท้ถาวร
การเข้าใจไตรลักษณ์นี้เอง คือ เข้าใจกฎของธรรมชาติ และความจริงของชีวิต ว่า สิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปไม่เที่ยง แล้วเราจะไปยึดมั่นเกินไป ได้อย่างไร ปกตินั้นสิ่งต่าง ๆ มันจะต้องเปลี่ยนแปลง เหมือนน้ำ ที่จะต้องไหลไป เราอย่าไปยึดทวนกระแสเกินไป เช่น บางครั้งอะไรที่เสียแล้ว ก็ปล่อยไปบ้าง ถ้าหากว่าสิ่งต่าง ๆ มันเกิดขึ้นแล้ว เราเปลี่ยนไม่ได้ เราต้องเข้าใจ กฎการเปลี่ยนแปลง อะไรที่ไม่ได้ดังใจ ก็ต้องปล่อยวางบ้าง เมื่อเราเข้าใจ กฎของธรรมชาติ และความจริงของชีวิตอย่างนี้ ชีวิตประจำวันของเรา ก็จะราบรื่นมากขึ้น
ไตรลักษณ์ ไม่ได้สอนให้คนงอมืองอเท้า หรือไม่ทำอะไรเลย ในเวลาเกิดปัญหา แต่สอนให้คนมีความหวัง ในขณะที่มีปัญหา สักวันหนึ่ง เมื่อเรารู้จุดเกิดของปัญหา เราจะ แก้ปัญหาได้ และทำอะไรได้ดีขึ้น เราจะต้องควบคุมสถานการณ์ ไม่งอมืองอเท้า และเมื่อเรา ได้ดีขึ้น จะต้องไม่ประมาท เพราะสิ่งต่าง ๆ มันเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อเราได้ดี ก็ตกต่ำได้ มันไม่เที่ยง ข้อนี้ฉันใด ชีวิตของเราก็เหมือนกัน เมื่อเราอยู่ในสภาพที่ดี เราจะต้องระวัง เหมือนกัน วันหนึ่งอาจจะตก ฉะนั้น เมื่อยังไม่ตก ทุกอย่างเปลี่ยนแปลง แต่จะเปลี่ยนแปลงดีขึ้น หรือเลวลงนั้น มันอยู่ในกำมือของเรา เราต้องทำงาน ต้องทำในสิ่งที่ถูกต้อง ถ้าเราเข้าใจ กฎอนิจจัง เราต้องขยันทำงาน เพื่อให้ตัวเราเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดียิ่งขึ้น นี้ คือความจริง ของชีวิต เรื่องอนิจจัง




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ 3 ประการ ซึ่งมีอยู่ในทุกสิ่ง ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ เรียกว่า สามัญลักษณะ คือ ลักษณะพื้น ๆ ทั่วไป มีอยู่ในทุกสิ่ง หรือ ทุกสิ่งมีลักษณะ ร่วมกัน เป็นความจริง ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นกฎของธรรมชาติ มีขึ้นเอง เป็นขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ไม่มีใครสร้าง เป็นสัจธรรมของโลก ซึ่งเป็นความจริงของชีวิตอย่างหนึ่ง มีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังนี้ (พระราชวรมุนี. 2541 : 119-139) อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และดับไปทุกขณะ ปรากฏขึ้นมา แล้วก็หายไป ทุกสิ่งทุกอย่างเกิด – ดับทุกขณะ เพราะฉะนั้น ทุกสิ่งทุกอย่าง เปลี่ยนแปลง ไม่มีอะไรคงที่ เช่น คนเราเกิดมา เป็นเด็ก เป็นหนุ่มสาว เป็นคนแก่ แล้วก็ตาย ในที่สุด แม้ต้องการความ เป็นหนุ่มสาวอยู่เรื่อยไป ไม่ต้องการเป็นคนแก่ ถึงกับพยายามหาทาง ป้องกัน ด้วยวิธีต่าง ๆ ก็ไม่สามารถ จะฝืนธรรมชาติไปได้ คือ จะต้องแก่ จะต้องแตกดับไป ตามสภาพแห่งความเป็นจริง ทุกขัง คือ ความทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ เป็นสิ่งที่ทนได้ยาก หรือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ แต่ละคน ไม่ชอบความลำบาก บางครั้งเราหนีปัญหา หนีทุกข์ แต่ความทุกข์นั้น มีอยู่ทั่วไปในทุกหน ทุกแห่ง ทุกคนต้องเจอทุกข์ เราหนีทุกข์ไม่พ้น ทุกข์ เป็นสิ่งที่เราต้องรู้ว่า มันเป็นทุกข์ กำหนดรู้อย่าหนีทุกข์ ความทุกข์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 1.) ความรู้สึกเจ็บปวดในกาย หรือในใจ ใครปวดกายก็ทุกข์ ใครปวดใจก็ทุกข์ เป็นความรู้สึกในใจ ที่คนเราส่วนมากรู้สึกกัน 2.) ทุกข์ที่เกิดจาก ความเปลี่ยนแปลง พูดง่าย ๆ ก็คือสุขกลายเป็นทุกข์ เคยมีความ สุขอยู่ พอสุขนั้นหายไป ตามกฎอนิจจัง เราก็ทุกข์ขึ้นมา 3.) ทุกข์จากสิ่งที่ถูกบีบคั้น จนทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ พระพุทธศาสนา ไม่ได้ มองโลกในแง่ร้าย หรือการมองโลกในแง่ดี แต่พระพุทธศาสนา เป็นสัจนิยม มองโลกตาม ความเป็นจริง มองทุกสิ่งทุกอย่าง ตามความเป็นจริง เป็นสัจธรรม และสอนว่า สัจธรรมคือ สิ่งที่เป็นจริงตามธรรมชาติ ความทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ซึ่งเกิดเพราะ ความเปลี่ยนแปลง ไม่คงที่ คือ ความไม่เที่ยงนั่นเอง ความทุกข์ มีมากมายหลายชนิด พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ในที่นี้ จะกล่าวถึงทุกข์ที่ตรัสไว้ ในปฐมเทศนา ว่าความเกิด ความแก่ ความตาย ความประจวบกับสิ่งท ี่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพราก จากสิ่งที่รัก ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้ตามที่ต้องการ และการยึดมั่นถือมั่น ทำให้เกิดทุกข์ทั้งสิ้น อนัตต คือ ไม่ใช่ตัวตน หมายความว่า สิ่งทั้งหลาย ไม่มีแก่นสารถาวรคงที่ ที่ไม่ เปลี่ยนแปลงไม่มี ตัวคนเราประกอบด้วย ส่วนประกอบหลายอย่าง ที่ปรุงแต่งเข้ามา เป็นตัวคน แต่พอดึงออกมาแต่ละอย่าง ความเป็นคนกระจายออกไป หาแก่นที่เป็นตัวตนไม่ได้ เพราะฉะนั้น จึงไม่มีตัวที่เที่ยงแท้ถาวร การเข้าใจไตรลักษณ์นี้เอง คือ เข้าใจกฎของธรรมชาติ และความจริงของชีวิต ว่า สิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปไม่เที่ยง แล้วเราจะไปยึดมั่นเกินไป ได้อย่างไร ปกตินั้นสิ่งต่าง ๆ มันจะต้องเปลี่ยนแปลง เหมือนน้ำ ที่จะต้องไหลไป เราอย่าไปยึดทวนกระแสเกินไป เช่น บางครั้งอะไรที่เสียแล้ว ก็ปล่อยไปบ้าง ถ้าหากว่าสิ่งต่าง ๆ มันเกิดขึ้นแล้ว เราเปลี่ยนไม่ได้ เราต้องเข้าใจ กฎการเปลี่ยนแปลง อะไรที่ไม่ได้ดังใจ ก็ต้องปล่อยวางบ้าง เมื่อเราเข้าใจ กฎของธรรมชาติ และความจริงของชีวิตอย่างนี้ ชีวิตประจำวันของเรา ก็จะราบรื่นมากขึ้น ไตรลักษณ์ ไม่ได้สอนให้คนงอมืองอเท้า หรือไม่ทำอะไรเลย ในเวลาเกิดปัญหา แต่สอนให้คนมีความหวัง ในขณะที่มีปัญหา สักวันหนึ่ง เมื่อเรารู้จุดเกิดของปัญหา เราจะ แก้ปัญหาได้ และทำอะไรได้ดีขึ้น เราจะต้องควบคุมสถานการณ์ ไม่งอมืองอเท้า และเมื่อเรา ได้ดีขึ้น จะต้องไม่ประมาท เพราะสิ่งต่าง ๆ มันเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อเราได้ดี ก็ตกต่ำได้ มันไม่เที่ยง ข้อนี้ฉันใด ชีวิตของเราก็เหมือนกัน เมื่อเราอยู่ในสภาพที่ดี เราจะต้องระวัง เหมือนกัน วันหนึ่งอาจจะตก ฉะนั้น เมื่อยังไม่ตก ทุกอย่างเปลี่ยนแปลง แต่จะเปลี่ยนแปลงดีขึ้น หรือเลวลงนั้น มันอยู่ในกำมือของเรา เราต้องทำงาน ต้องทำในสิ่งที่ถูกต้อง ถ้าเราเข้าใจ กฎอนิจจัง เราต้องขยันทำงาน เพื่อให้ตัวเราเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดียิ่งขึ้น นี้ คือความจริง ของชีวิต เรื่องอนิจจัง




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์หมายถึงลักษณะ 3 ประการซึ่งมีอยู่ในทุกสิ่งทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นคนสัตว์สิ่งของเรียกว่าสามัญลักษณะคือลักษณะพื้น ๆ ทั่วไปมีอยู่ในทุกสิ่งหรือทุกสิ่งมีลักษณะร่วมกันเป็นความจริงที่มีอยู่ใน ธรรมชาติเป็นกฎของธรรมชาติมีขึ้นเองเป็นขึ้นเองตามธรรมชาติไม่มีใครสร้างเป็นสัจธรรมของโลก มีองค์ประกอบ 3 ประการดังนี้ (พระราชวรมุนี 2541. 119-139) อนิจจังคือความไม่เที่ยงหมายถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและดับไปทุกขณะปรากฏขึ้นมาแล้วก็หายไปทุกสิ่งทุกอย่างเกิด - ดับทุกขณะเพราะฉะนั้นทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนแปลง ไม่มีอะไรคงที่เช่นคนเราเกิดมาเป็นเด็กเป็นหนุ่มสาวเป็นคนแก่แล้วก็ตายในที่สุดแม้ต้องการความเป็นหนุ่มสาวอยู่เรื่อยไปไม่ต้องการเป็นคนแก่ถึงกับพยายามหาทางป้องกันด้วยวิธีต่าง ๆ ก็ไม่สามารถจะ ฝืนธรรมชาติไปได้คือจะของคุณต้องแก่จะของคุณต้องแตกดับไปตามสภาพแห่งความเป็นจริงทุกขังคือความทุกข์หมายถึงความไม่สบายกายไม่สบายใจเป็นสิ่งที่ทนได้ยากหรือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้แต่ละคนไม่ชอบความ ลำบากบางครั้งเราหนีปัญหาหนีทุกข์ แต่ความทุกข์นั้นมีอยู่ทั่วไปในทุกหนทุกแห่งทุกคนต้องเจอทุกข์เราหนีทุกข์ไม่พ้นทุกข์เป็นสิ่งที่เราต้องรู้ว่ามันเป็นทุกข์กำหนดรู้อย่าหนีทุกข์ความทุกข์แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท1. ) ความรู้สึกเจ็บปวดในกายหรือในใจใครปวดกายก็ทุกข์ใครปวดใจก็ทุกข์เป็นความรู้สึกในใจที่คนเราส่วนมากรู้สึกกัน2. ) ทุกข์ที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงพูดง่าย ๆ ก็คือสุข กลายเป็นทุกข์เคยมีความสุขอยู่พอสุขนั้นหายไปตามกฎอนิจจังเราก็ทุกข์ขึ้นมา3. ) ทุกข์จากสิ่งที่ถูกบีบคั้นจนทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้พระพุทธศาสนาไม่ได้มองโลกในแง่ร้ายหรือการมอง โลกในแง่ดี แต่พระพุทธศาสนาเป็นสัจนิยมมองโลกตามความเป็นจริงมองทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริงเป็นสัจธรรมและสอนว่าสัจธรรมคือสิ่งที่เป็นจริงตามธรรมชาติความทุกข์หมายถึงความไม่สบายกายไม่สบายใจซึ่งเกิดเพราะความเปลี่ยนแปลงไม่ คงที่คือความไม่เที่ยงนั่นเองความทุกข์มีมากมายหลายชนิดพระพุทธเจ้าตรัสไว้ในที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมากในที่นี้จะกล่าวถึงทุกข์ที่ตรัสไว้ในปฐมเทศนาว่าความเกิดความแก่ความตายความประจวบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่ รักความพลัดพรากจากสิ่งที่รักปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ตามที่ต้องการและการยึดมั่นถือมั่นทำให้เกิดทุกข์ทั้งสิ้นอนัตตคือไม่ใช่ตัวตนหมายความว่าได้สิ่งทั้งหลายไม่มีแก่นสารถาวรคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงที่ไม่มีตัวคนเราประกอบด้วย ส่วนประกอบหลายอย่างที่ปรุงแต่งเข้ามาเป็นตัวคน แต่พอดึงออกมาแต่ละอย่างความเป็นคนกระจายออกไปหาแก่นที่เป็นตัวตนไม่ได้เพราะฉะนั้น คือเข้าใจกฎของธรรมชาติและความจริงของชีวิตว่าสิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปไม่เที่ยงแล้วเราจะไปยึดมั่นเกินไปได้อย่างไรปกตินั้นสิ่งต่าง ๆ มันจะต้องเปลี่ยนแปลงเหมือนน้ำที่จะต้องไหลไปเราอย่าไปยึดทวนกระแสเกินไป เช่นบางครั้งอะไรที่เสียแล้วก็ปล่อยไปบ้างถ้าหากว่าสิ่งต่าง ๆ มันเกิดขึ้นแล้วเราเปลี่ยนไม่ได้เราต้องเข้าใจกฎการเปลี่ยนแปลงอะไรที่ไม่ได้ดังใจก็ต้องปล่อยวางบ้างเมื่อเราเข้าใจกฎของธรรมชาติและความจริงของ ชีวิตอย่างนี้ชีวิตประจำวันของเราก็จะราบรื่นมากขึ้นไตรลักษณ์ไม่ได้สอนให้คนงอมืองอเท้าหรือไม่ทำอะไรเลยในเวลาเกิดปฐมวัย แต่สอนให้คนมีความหวังในขณะที่มีปฐมวัยสักวันหนึ่งเมื่อ เรารู้จุดเกิดของปัญหาเราจะแก้ปัญหาได้และทำอะไรได้ดีขึ้นเราจะต้องควบคุมสถานการณ์ไม่งอมืองอเท้าและเมื่อเราได้ดีขึ้นจะต้องไม่ประมาทเพราะสิ่งต่าง ๆ มันเปลี่ยนแปลงได้เมื่อเราได้ดี ก็ตกต่ำได้มันไม่เที่ยงข้อนี้ฉันใดชีวิตของเราก็เหมือนกันเมื่อเราอยู่ในสภาพที่ดีเราจะต้องระวังเหมือนกันวันหนึ่งอาจจะตกฉะนั้นเมื่อยังไม่ตกทุกอย่างเปลี่ยนแปลง แต่จะเปลี่ยนแปลงดีขึ้นหรือเลวลงนั้น มันอยู่ในกำมือของเราเราต้องทำงานต้องทำในสิ่งที่ถูกต้องถ้าเราเข้าใจกฎอนิจจังเราต้องขยันทำงานเพื่อให้ตัวเราเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดียิ่งขึ้นนี้คือความจริงของชีวิตเรื่องอนิจจัง















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.. a lot. Here are discussed the suffering said in the first sermon that was born, aging, death, coinciding with the thing, not love. Separation of what love, desire, not as required, and trying to hoid on to it.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: