วิธีการทดลอง
ตรวจสอบค่าความเป็นกรด – เบส จากดอกไม้
1. นำน้ำเปล่าสะอาดๆ ใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 4 ใบ
2. นำดอกไม้ที่ได้เตรียมมา (ดอกกุหลาบ , ดอกเข็ม , ดอกชบา และดอกอัญชัน) ไปขยี้ในน้ำเปล่าสะอาดที่ได้เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนได้สีจากดอกไม้ทั้ง 4 ชนิด
3. แยกเส้นใยหรือดอกไม้ที่ขยี้จนได้สีแล้วออกไป จากนั้นจึงนำน้ำที่ได้ไปเทลงในบีกเกอร์
4. นำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด – เบส (ค่า pH) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2
5. สังเกตผลและบันทึกผลการทดลอง
ตรวจสอบค่าความเป็นกรด – เบสของผัก
1. เตรียมนำเปล่าสะอาดๆ ใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 6 ใบ
2. นำผักที่ได้เตรียมมา (ผักกาดแก้ว , ผักกาดขาว , ผักคะน้า , ใบตำลึง , ใบฟ้าทะลายโจร และใบโหระพา) ไปขยี้ในน้ำเปล่าที่ได้เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนได้สีของผักทั้ง 6 ชนิด
3. แยกเส้นใยหรือผักที่ขยี้จนได้สีแล้วออกไป จากนั้นจึงเทลงไปในบีกเกอร์
4. นำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด – เบส (ค่า pH) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2
5. สังเกตผลและบันทึกผลการทดลอง
ตรวจสอบค่า pH ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำน้ำผักมาผสมอินดิเคเตอร์
1. เตรียมหลอดทดลองใส่ไว้ในที่เก็บหลอดทดลอง
2. นำหลอดหยดมาดูดน้ำที่ได้จากการขยี้ดอกกุหลาบแล้วนำไปหยดลงในหลอดทดลองทั้ง 6 หลอด
3. ทำตามขั้นตอนที่ 2 (แต่เปลี่ยนเป็นดูดน้ำจากดอกไม้ที่เหลือ) ก็จะได้หลอดทดลองมาทั้งหมด 24 หลอด
4. นำหลอดหยดมาดูดน้ำที่ได้จากการขยี้ผักเพื่อไปหยดลงในหลอดทดลองตามขั้นตอนที่ 2 จนครบทุกชนิดและทุกหลอด
5. เขย่าหลอดทดลองและ นำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด – เบส (ค่า pH) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 4
6. สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
วิธีการทดลอง
ตรวจสอบค่าความเป็นกรด - เบสจากดอกไม้
1 นำน้ำเปล่าสะอาดๆใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 4 ใบ
2 นำดอกไม้ที่ได้เตรียมมา (ดอกกุหลาบ, ดอกเข็ม, ดอกชบาและดอกอัญชัน) 1 จนได้สีจากดอกไม้ทั้ง 4 ชนิด
ที่ 3
- เบส (pH ค่า) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2
5 - เบสของผัก1 เตรียมนำเปล่าสะอาดๆใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 6 ใบที่ 2 นำผักที่ได้เตรียมมา (ผักกาดแก้ว, ผักกาดขาว, ผักคะน้า, ใบตำลึง, ใบฟ้าทะลายโจรและใบโหระพา) 1 จนได้สีของผักทั้ง 6 ชนิด3 จากนั้นจึงเทลงไปในบีกเกอร์4 - เบส (pH ค่า) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 5 พีเอช 6 หลอด3 ทำตามขั้นตอนที่ 2 ก็จะได้หลอดทดลองมาทั้งหมด 24 หลอด4 2 จนครบทุกชนิดและทุกหลอด5 เขย่าหลอดทดลองและ - เบส (pH ค่า) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 4 6. สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
วิธีการทดลอง
ตรวจสอบค่าความเป็นกรด–เบสจากดอกไม้
1 นำน้ำเปล่าสะอาดๆใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 4 ใบ
2 นำดอกไม้ที่ได้เตรียมมา ( ดอกกุหลาบดอกเข็ม , ,ดอกชบาและดอกอัญชัน ) ไปขยี้ในน้ำเปล่าสะอาดที่ได้เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนได้สีจากดอกไม้ทั้ง 4 ชนิด
3 แยกเส้นใยหรือดอกไม้ที่ขยี้จนได้สีแล้วออกไปจากนั้นจึงนำน้ำที่ได้ไปเทลงในบีกเกอร์
4นำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด–เบส ( ค่า pH ) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2
5 สังเกตผลและบันทึกผลการทดลอง
ตรวจสอบค่าความเป็นกรด–เบสของผัก
1เตรียมนำเปล่าสะอาดๆใส่ลงไปในกะละมังใบเล็ก 6 ใบ
2 นำผักที่ได้เตรียมมา ( ผักกาดแก้วผักกาดขาวผักคะน้าใบตำลึง , , , ,ใบฟ้าทะลายโจรและใบโหระพา ) ไปขยี้ในน้ำเปล่าที่ได้เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 จนได้สีของผักทั้ง 6 ชนิด
3 แยกเส้นใยหรือผักที่ขยี้จนได้สีแล้วออกไปจากนั้นจึงเทลงไปในบีกเกอร์
4นำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด–เบส ( ค่า pH ) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 2
5 สังเกตผลและบันทึกผลการทดลอง
ตรวจสอบค่า Ph ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำน้ำผักมาผสมอินดิเคเตอร์
1เตรียมหลอดทดลองใส่ไว้ในที่เก็บหลอดทดลอง
2 นำหลอดหยดมาดูดน้ำที่ได้จากการขยี้ดอกกุหลาบแล้วนำไปหยดลงในหลอดทดลองทั้ง 6 หลอด
3ทำตามขั้นตอนที่ 2 ( แต่เปลี่ยนเป็นดูดน้ำจากดอกไม้ที่เหลือ ) ก็จะได้หลอดทดลองมาทั้งหมด 24 หลอด
4 นำหลอดหยดมาดูดน้ำที่ได้จากการขยี้ผักเพื่อไปหยดลงในหลอดทดลองตามขั้นตอนที่ 2 จนครบทุกชนิดและทุกหลอด
5เขย่าหลอดทดลองและนำกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มาตรวจสอบค่าความเป็นกรด–เบส ( ค่า pH ) ของสีที่ได้จากขั้นตอนที่ 4
6 สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
การแปล กรุณารอสักครู่..