ความเป็นมาวันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม การแปล - ความเป็นมาวันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ไทย วิธีการพูด

ความเป็นมาวันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้ม

ความเป็นมา

วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษา หลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อขึ้นแห่งชาติ เนื่องจากพ่อ เป็นบุคคลผู้มีพระคุณและมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและสังคมที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนและตอบแทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น "วันพ่อแห่งชาติ"




กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 โดยการริเริ่มของนายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษา คุณหญิงเนื้อพิทย์ เสมรสุตสัญลักษณ์ที่ใช้ในวันพ่อได้แก่ ดอกพุทธรักษาซึ่งมีชื่ออันเป็นมงคล



พระราชประวัติ



พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่ำ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ซึ่งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ที่นั่น

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามขณะนั้นว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"

พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกดตราบปัจจุบัน

พระนามของพระองค์มีความหมายว่า

ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "ผู้มีอำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"
เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา

การศึกษา

พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศสภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ "โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์" (ฝรั่งเศส: École Nouvelle de la Suisse Romande, เอกอล นูแวล เดอ ลา ซืออีส โรมองด์) เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน (ฝรั่งเศส: Chailly-sur-Lausanne)

เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรีพระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น "สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช" เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตประเทศไทย เป็นเวลา 2 เดือน โดยประทับที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์จนถึงปี พ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์ จากโรงเรียนยิมนาส คลาซีค กังโตนาล แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซาน แผนกวิทยาศาสตร์ โดยเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่สอง ประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง





พระราชกรณียกิจ พระรานิพนธ์ และผลงานอื่น

ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี
ในฐานะที่พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงต่าง ๆ หลายแขนง จึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรี พระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัยในการฝึกเขียนภาพ และมีพระปรีชาสามารถในเรื่องการถ่ายภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีพระปรีชาสามารถปั้นพระพุทธรูปพระสมเด็จจิตรลดาด้วยพระองค์เอง

งานทางด้านวรรณศิลป์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลากหลายภาษา ทรงพระราชนิพนธ์บทความ แปลหนังสือ เช่น นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ ติโต พระมหาชนก และพระมหาชนก ฉบับการ์ตูน เรื่อง ทองแดง เป็นพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับคุณทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง เป็นต้น



ด้านการพัฒนาชนบท
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดารเพียงใด ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จัดทำโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริควบคู่ไปในทุกๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือ เพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบท และสนับสนุนส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้งแก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดีขึ้น โดยจะเห็นได้จากโครงการในพระราชดำริหลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจะเป็นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุงถนนหนทาง การ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาวันพ่อแห่งชาติได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคมพ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์เสมรสุตนายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาหลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อขึ้นแห่งชาติเนื่องจากพ่อเป็นบุคคลผู้มีพระคุณและมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและสังคมที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนและตอบแทนพระคุณด้วยความกตัญญูและสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อจึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น "วันพ่อแห่งชาติ"กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต่พ.ศ. 2523 โดยการริเริ่มของนายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาคุณหญิงเนื้อพิทย์เสมรสุตสัญลักษณ์ที่ใช้ในวันพ่อได้แก่ดอกพุทธรักษาซึ่งมีชื่ออันเป็นมงคล พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรีณโรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นเมืองเคมบริดจ์รัฐแมสซาชูเซตส์สหรัฐอเมริกาเมื่อวันจันทร์เดือนอ้ายขึ้น 12 ค่ำปีเถาะนพศกจุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมพ.ศ. 2470 ซึ่งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐอเมริกาเนื่องจากพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ที่นั่นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในกาลต่อมา) มีพระนามขณะนั้นว่าพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์คือสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ 14 ธันวาคมพ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล" ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไปจนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกดตราบปัจจุบัน พระนามของพระองค์มีความหมายว่าภูมิพล - ภูมิหมายความว่า "แผ่นดิน" และพลหมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"อดุลยเดช - อดุลยหมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และเดชหมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "ผู้มีอำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"เมื่อพ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนกซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดสหรัฐอเมริกาพร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอและสมเด็จพระเชษฐาธิราชโดยประทับณวังสระปทุมต่อมาวันที่ 24 กันยายนพ.ศ. บรรพสมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคตขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษาการศึกษาพ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษาเสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีจนถึงเดือนพฤษภาคมพ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับณเมืองโลซานประเทศสวิตเซอร์แลนด์พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชจากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษาณโรงเรียนเมียร์มองต์เมืองโลซานในเดือนกันยายนพ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศสภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษแล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษาณ "โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์" (ฝรั่งเศส: École แรมนูเวล de la Suisse Romande เอกอลนูแวลเดอลาซืออีสโรมองด์) เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน (ฝรั่งเศส: Chailly-ซูร์โลซาน)เมื่อพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดลสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรีพระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น "สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช" เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมพ.ศ. 2478เดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นเวลา 2 เดือนโดยประทับที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตจากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์จนถึงปีพ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรงเรียนยิมนาสคลาซีคกังโตนาลแล้วทรงเข้าศึกษาต่อณมหาวิทยาลัยโลซานแผนกวิทยาศาสตร์โดยเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่สองประทับณพระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง พระราชกรณียกิจพระรานิพนธ์และผลงานอื่นด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดีในฐานะที่พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงต่างๆ หลายแขนงจึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรีพระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัยในการฝึกเขียนภาพและมีพระปรีชาสามารถในเรื่องการถ่ายภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดจนมีพระปรีชาสามารถปั้นพระพุทธรูปพระสมเด็จจิตรลดาด้วยพระองค์เองงานทางด้านวรรณศิลป์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลากหลายภาษาทรงพระราชนิพนธ์บทความแปลหนังสือเช่นนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระติโตพระมหาชนกและพระมหาชนกฉบับการ์ตูนเรื่องทองแดงเป็นพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับคุณทองแดงสุนัขทรงเลี้ยงเป็นต้นด้านการพัฒนาชนบทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดารเพียงใดไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหนพระองค์จัดทำโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริควบคู่ไปในทุก ๆ ด้านไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่งพระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือเพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบทและสนับสนุนส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นรวมทั้งแก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดีขึ้นโดยจะเห็นได้จากโครงการในพระราชดำริหลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจะเป็นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุงถนนหนทางตามหลัก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาวันพ่อแห่งชาติได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์เสมรสุต เนื่องจากพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี พ.ศ. 2523 คุณหญิงเนื้อพิทย์ ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นเมืองเคมบริดจ์รัฐแมสซาชูเซตส์สหรัฐอเมริกาเมื่อวันจันทร์เดือนอ้ายขึ้น 12 ค่ำปีเถาะนพศกจุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในกาลต่อมา ) มีพระนามขณะนั้นว่าพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช 2 พระองค์คือสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ "เล็ก" พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้น เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 "Bhumibala Aduladeja" "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไปจนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" - ภูมิหมายความว่า "แผ่นดิน" และพลหมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลยหมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และเดชหมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "ผู้ มีอำนาจที่ไม่อาจเทียบได้ " เมื่อ พ.ศ. 2471 สหรัฐอเมริกาพร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอและสมเด็จพระเชษฐาธิราชโดยประทับ ณ วังสระปทุมต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษา จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซานประเทศสวิตเซอร์แลนด์พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ณ โรงเรียนเมียร์มองต์เมืองโลซานในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 และภาษาอังกฤษแล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ "โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์" (ฝรั่งเศส: Écoleนูแวลเดอลา Suisse Romande, เอกอลนูแวลเดอลาซืออีสโรมองด์) เมืองแชล ลี - ซูร์ - โลซาน (ฝรั่งเศส: Chailly-sur-Lausanne) เมื่อพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดลสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 8 "สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช" เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นเวลา 2 เดือน พระราชวังดุสิต พ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรงเรียนยิมนาสคลาซีคกังโตนาลแล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซานแผนกวิทยาศาสตร์ ประทับ ณ พระรานิพนธ์ ๆ หลายแขนง และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทรงพระราชนิพนธ์บทความแปลหนังสือเช่นนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระติโตพระมหาชนกและพระมหาชนกฉบับการ์ตูนเรื่องทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน ด้านไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่งพระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือเพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบท การ


















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมา

วันพ่อแห่งชาติได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคมพ . ศ .2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์เสมรสุตนายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาหลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อขึ้นแห่งชาติเนื่องจากพ่อและสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อจึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น " วันพ่อแห่งชาติ "




กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต่พ . ศ . 2523 โดยการริเริ่มของนายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาคุณหญิงเนื้อพิทย์เสมรสุตสัญลักษณ์ที่ใช้ในวันพ่อได้แก่ดอกพุทธรักษาซึ่งมีชื่ออันเป็นมงคล



พระราชประวัติ



พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรีณโรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นเมืองเคมบริดจ์รัฐแมสซาชูเซตส์สหรัฐอเมริกาเมื่อวันจันทร์เดือนอ้ายขึ้น 12 ค่ำนพศกจุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมพ .ศ . 2470 ซึ่งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐอเมริกาเนื่องจากพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ที่นั่น

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์ ( สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกในกาลต่อมา ) และหม่อมสังวาลย์ตะละภัฎ ( ชูกระมล )ในกาลต่อมา ) มีพระนามขณะนั้นว่าพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ความสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า " เล็ก "

พระนาม " ภูมิพลอดุลเดช " นั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ 14 ธันวาคมพ . ศ .2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า " bhumibala aduladeja " ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า " ภูมิบาล " ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า " ภูมิพลอดุลเดช "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า " ภูมิพลอดุลยเดช " โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไปจนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว " ย " สะกดตราบปัจจุบัน



พระนามของพระองค์มีความหมายว่าภูมิพล - ภูมิหมายความว่า " แผ่นดิน " และพลหมายความว่า " พลังรวมกันแล้วหมายถึง " พลังแห่งแผ่นดิน "
"อดุลยเดช - อดุลยหมายความว่า " ไม่อาจเทียบได้ " และเดชหมายความว่า " อำนาจ " รวมกันแล้วหมายถึง " ผู้มีอำนาจที่ไม่อาจเทียบได้ "
เมื่อพ . ศ .2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนกซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดสหรัฐอเมริกาพร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอโดยประทับณวังสระปทุม 24 ต่อมาวันที่กันยายนพ .ศ . . สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคตขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา

การศึกษา

พ . ศ . 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษาเสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีจนถึงเดือนพฤษภาคมพ . ศ .พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับณเมืองโลซานประเทศสวิตเซอร์แลนด์พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชณโรงเรียนเมียร์มองต์เมืองโลซานในเดือนกันยายนพ .ศ . พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศสภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษแล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษาณ " โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์ " ( ฝรั่งเศส : เอกอลนูแวลล์ romande de la Suisse ,เอกอลนูแวลเดอลาซืออีสโรมองด์ ) เมืองแชลลี - ซูร์ - โลซาน ( ฝรั่งเศส : แชลลี Sur Lausanne )

เมื่อพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดลสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรีพระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น " สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมพ .ศ . 2478

เดือนพฤศจิกายนพ . ศ .2481 ได้โดยเสด็จฯสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นเวลา 2 เดือนโดยประทับที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตจากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์จนถึงปีพ . ศ .2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรงเรียนยิมนาสคลาซีคกังโตนาลแล้วทรงเข้าศึกษาต่อณมหาวิทยาลัยโลซานแผนกวิทยาศาสตร์โดยเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่สองประทับฃ







พระราชกรณียกิจพระรานิพนธ์และผลงานอื่นด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดีในฐานะที่พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงต่างจะหลายแขนงจึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรีพระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัยในการฝึกเขียนภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดจนมีพระปรีชาสามารถปั้นพระพุทธรูปพระสมเด็จจิตรลดาด้วยพระองค์เอง

งานทางด้านวรรณศิลป์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลากหลายภาษาทรงพระราชนิพนธ์บทความแปลหนังสือเช่นนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระติโตพระมหาชนกและพระมหาชนกฉบับการ์ตูนเรื่องทองแดงสุนัขทรงเลี้ยงเป็นต้น




ด้านการพัฒนาชนบทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯไปทุกหนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดารเพียงใดไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหนพระองค์จัดทำโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริควบคู่ไปในทุกๆด้านไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่งเพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบทและสนับสนุนส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นรวมทั้งแก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดีขึ้น
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจะเป็นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุงถนนหนทางการ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: