องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเ การแปล - องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเ ไทย วิธีการพูด

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ด

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์







ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
•หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
•หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU
•หน่วยความจำหลัก
•หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
•หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit )



หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์

หน่วยความจำหลัก จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก







ซอฟต์แวร์ (Software)

คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา

ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
◦ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
◦ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )



ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำงานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทำงานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน







บุคลากร (Peopleware)

เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำงาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทำงานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ

ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทำให้มีความชำนาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user)

ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนำไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป

บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
•การดำเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น
•การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
•การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น
•การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น
•การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น






ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)

ในการทำงานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ

ข้อมูล คือ ได้จากการสำรวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน



สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (ฮาร์ดแวร์) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (อุปกรณ์ต่อพ่วง) ที่เกี่ยวข้องเช่นฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์เป็นต้นฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย•หน่วยรับข้อมูล (หน่วยป้อนข้อมูล)•หน่วยประมวลผลกลาง (หน่วยประมวลผลกลาง) หรือ CPU•หน่วยความจำหลัก•หน่วยแสดงผลลัพธ์ (หน่วยผลผลิต)•หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง) หน่วยรับข้อมูลจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่างๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์จากนั้นหน่วยประมวลผลกลางจะนำไปประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทางหน่วยแสดงผลลัพธ์หน่วยความจำหลักจะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนักการที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใดจะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้นๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไปในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่หน่วยเก็บข้อมูลสำรองจะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้นรวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมากจึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลังข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมากซอฟต์แวร์ (ซอฟต์แวร์)•คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใด ๆ เนื่องจากต้องมี (ซอฟต์แวร์) ซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานต่างๆ ตามต้องการโดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ (ภาษาโปรแกรม) ภาษาใดภาษาหนึ่งและมีโปรแกรมเมอร์ (โปรแกรมเมอร์) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ ขึ้นมาซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ◦ซอฟต์แวร์ระบบ (ซอฟท์แวร์)◦ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (โปรแกรมประยุกต์)ซอฟต์แวร์ระบบโดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำงานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทำงานอื่นๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไปส่วนซอฟต์แวร์ประยุกต์จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่างๆ ให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคนบุคลากร (Peopleware)เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำงานเรียกบุคลากรเหล่านี้ว่าผู้ใช้หรือยูเซอร์ (ผู้ใช้) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทำงานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุมอย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (ผู้ใช้คอมพิวเตอร์) แบ่งได้เป็นหลายระดับเพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้นทำให้มีความชำนาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่าเพาเวอร์ยูสเซอร์ (ผู้ใช้ไฟฟ้า)ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนำไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไปบุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนถึงการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่างๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้•การดำเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่างๆ เช่นการบันทึกข้อมูลลงสื่อหรือส่งข้อมูลเข้าประมวลหรือควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เช่นเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (ผู้ดำเนินรายการข้อมูล) เป็นต้น•การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรมเช่นเจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (แอพลิเคชันโปรแกรมเมอร์) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (ระบบโปรแกรมเมอร์) เป็นต้น•การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลเช่นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (นักวิเคราะห์ระบบและผู้ดูแล) วิศวกรระบบ (ระบบวิศวกรรม) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (ฐานข้อมูลผู้ดูแลระบบ) เป็นต้น•การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์เช่นเป็นต้นเจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ (ผู้ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์)เป็นต้นผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (ผู้จัดการแผนก EDP) เช่น•การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล•ข้อมูลและสารสนเทศ (ข้อมูล / ข้อมูล)ในการทำงานต่างๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ซึ้งในปัจจุบันมีการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่างข้อมูลและสารสนเทศคือข้อมูลคือได้จากการสำรวจจริงแต่สารสนเทศคือได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อนสารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (ต่อพ่วง) ที่เกี่ยวข้องเช่นฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์เป็นต้น (หน่วย input) •หน่วยประมวลผลกลาง (หน่วยประมวลผลกลาง) หรือ (หน่วยการส่งออก) •หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (หน่วยจัดเก็บข้อมูลสำรอง) หน่วยรับข้อมูล ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์จากนั้นหน่วยประมวลผลกลางจะนำไปประมวลผล หน่วยแสดงผลลัพธ์หน่วยความจำหลัก ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง เนื่องจากต้องมีซอฟต์แวร์ (Software) ๆ ตามต้องการ ภาษาคอมพิวเตอร์ (ภาษาเขียนโปรแกรม) ภาษาใดภาษาหนึ่งและมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ๆ ขึ้นมาซอฟต์แวร์ (ระบบซอฟท์แว) ◦ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ ๆ ของคอมพิวเตอร์ ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไปส่วนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ๆ ให้กับผู้ใช้ เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่าผู้ใช้หรือยูเซอร์ (ผู้ใช้) อย่างไรก็ตาม (ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์) แบ่งได้เป็นหลายระดับ ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่าเพาเวอร์ยูสเซอร์ (ผู้ใช้อำนาจ) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์มืออาชีพ) ทั้งในระดับกลางและระดับสูง นักเขียนโปรแกรม (Programmer) เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ๆ ๆ เช่นการบันทึกข้อมูลลงสื่อหรือส่งข้อมูลเข้าประมวล เช่นเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เช่นเจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (Programmer ระบบ) เช่น (นักวิเคราะห์ระบบและการ Administrator) วิศวกรระบบ (ระบบ Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เช่น (Computer Operator) เช่น (EDP ผู้จัดการ) เป็นต้น• ข้อมูลและสารสนเทศ (ข้อมูล / ข้อมูล) ในการทำงานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลและสารสนเทศคือข้อมูลคือได้จากการสำรวจจริง แต่สารสนเทศคือ















































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์







ฮาร์ดแวร์ ( ฮาร์ดแวร์ )

คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ( ต่อพ่วง ) ที่เกี่ยวข้องเช่นฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์เป็นต้นฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย

•หน่วยรับข้อมูล ( หน่วยรับข้อมูล )•หน่วยประมวลผลกลางซีพียู ( หน่วยประมวลผลกลาง )

•หน่วยแสดงผลลัพธ์•หน่วยความจำหลักค็อค ( output unit )
•หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( หน่วยเก็บรอง )



หน่วยรับข้อมูลจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่างจะเข้าสู่คอมพิวเตอร์จากนั้นหน่วยประมวลผลกลางจะนำไปประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทางหน่วยแสดงผลลัพธ์

หน่วยความจำหลักจะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนักการที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใดจะข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไปในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่หน่วยเก็บข้อมูลสำรองจะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้นจึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลังข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก







ซอฟต์แวร์
-
( ซอฟต์แวร์ )คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใดๆเนื่องจากต้องมีซอฟต์แวร์ ( ซอฟต์แวร์ ) ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานต่างจะตามต้องการภาษาคอมพิวเตอร์ ( ภาษาซี ) ภาษาใดภาษาหนึ่งและมีโปรแกรมเมอร์ ( โปรแกรมเมอร์ ) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่างจะขึ้นมา


ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ◦ซอฟต์แวร์ระบบ ( ระบบซอฟต์แวร์ ( โปรแกรม ) ◦ซอฟต์แวร์ประยุกต์ )




ซอฟต์แวร์ระบบโดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำงานต่างจะของคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทำงานอื่นจะที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไปส่วนจะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่างจะให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน







บุคลากร ( พีเพิลแวร์ )

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: