ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ศาสนา  ศาสนาประจำชาติภูฏานเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายา การแปล - ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ศาสนา  ศาสนาประจำชาติภูฏานเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายา ไทย วิธีการพูด

ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ศาสนา ศาสนาปร

ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
ศาสนา
ศาสนาประจำชาติภูฏานเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายาน นับถือพระพุทธเจ้าในภาคของพระศากยมุนีและพระโพธิสัตว์ ศาสนาพุทธของชาวภูฏาน เรียกว่า Drukpa Kagyu หรือ Kagyupa เป็นศาสนาที่มีลามะเช่นเดียวกับทิเบต ชาวภูฏานนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 75 (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ Sharchops และ Ngalops) และนับถือศาสนาฮินดูร้อยละ 25 (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ Lhotshams)
ศาสนาพุทธที่ชาวภูฏานนับถือเป็นลัทธิลามะแบบทิเบต ซึ่งเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด ชาวภูฏานมีความยึดมั่นในศาสนาอย่างแน่นแฟ้นกับทั้งให้ความเคารพนับถือพระ ที่มีบทบาทและอิทธิพลมากในชีวิตความเป็นอยู่ของชาวภูฏาน จะต้องบวชลูกชายที่อายุครบ 10 ขวบทุกคน เพื่อจะได้เรียนรู้คำสอนในพระพุทธศาสนา บางคนที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ตัดสินใจบวชเป็นพระไปตลอดชีวิต นอกจากนั้น พระของชาวภูฏานยังมีอิทธิพลและเกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ด้านการบริหารประเทศคณะรัฐมนตรีของภูฏานนั้นกำหนดให้มีพระลามะมีตำแหน่งอยู่ในคณะรัฐมนตรีถึง 10 ที่นั่ง ดังนั้นนโยบายการบริหารประเทศของภูฏานจึงเน้นไปที่ศาสนาและศีลธรรมของประชาชนเป็นหลัก
ประมุขของศาสนาพุทธในประเทศภูฏานคือพระสังฆราช เรียกว่า เจเคนโป พระพุทธรูปสำคัญที่ประชาชนชาวภูฏานเคารพนับถือคือ พระศากยมุน(Sakyamuni) นอกจากนี้ยังมีพระโพธิสัตว์ปัทมสัมภวะ หรือกูรู รินโปเช (Padmasambhava หรือ Guru Rinpoche) พระอริยเมตไตรย หรือพระจัมปา (Maitreya หรือ Jampa) พระโพธิสัตว์มัญชุศรี (Manjushri) พระอวโลกิเตศวร (Avalokiteshvara) และพระวัชรปาณี (Vajrapani หรือ Channa Dorji) สำหรับพระลามะนั้น ชาวภูฏานให้ความเคารพบูชาอย่างสูงในท่านลามะ ซับดรุง รินโปเช(Shabdrung Rinpoche,ค.ศ.1594-1651) ในฐานะพระนักบุญคนสำคัญผู้เป็นต้นกำเนิดประเพณีการเต้นรำสวมหน้ากาก (เซซู) ประเพณีศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาพุทธในภูฏาน (คำว่า รินโปเช หมายถึง ลามะที่กลับชาติมาเกิดใหม่)
ชาวภูฏานเชื่อว่าศาสนาจะนำพาความสุขมาให้พวกเขามากกว่าลัทธิบริโภคนิยม ประกอบกับรัฐบาลมุ่งให้ประชาชนตระหนักว่าคุณภาพชีวิตอยู่ที่จิตใจไม่ใช่วัตถุ ชาวภูฏานเป็นคนเคร่งศาสนา หลีกเลี่ยงการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ในภูฏานการจับปลาล่าสัตว์เป็นสิ่งผิดกฎหมาย หากจะจับกินกันในครัวเรือนต้องได้รับอนุญาต และต้องละเว้นจับปลาในฤดูวางไข่ ส่วนเนื้อหมู วัว ไก่ มักจะเลี้ยงและฆ่าเพื่อรับประทานในครอบครัวเท่านั้น ไม่ใช่มุ่งทำเป็นการค้า เนื้อสัตว์ที่มีขายอยู่ในตลาดสดเกือบทั้งหมดเป็นเนื้อชำแหละที่นำเข้ามาจากอินเดีย

ศิลปะและวัฒนธรรม
ด้านศิลปะ
ไม่ว่าจะเป็นภาษาและวรรณคดี หรืองานศิลปะประเภทต่างๆของภูฏาน เช่น งานหัตถกรรม สถาปัตยกรรม และภาพจิตรกรรมต่างๆที่เป็นภาพเขียนสีหรือผ้าปัก ล้วนเป็นภาพพุทธประวัติและภาพพุทธศิลป์ ภาพจิตรกรรมเหล่านี้เป็นภาพขนาดใหญ่ ทำด้วยผ้า ที่เรียกว่า ทังกา-thangka (เหมือนทังกาของทิเบต) ทังกาเป็นงานศิลปะที่ถ่ายทอดและสะท้อนคำสอนในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น สำหรับสถาปัตยกรรมแบบภูฏาน ปรากฏอยู่ในลักษณะการก่อสร้างและการตกแต่งวัดวาอาราม พระราชวัง ป้อมปราการ สะพานข้ามแม่น้ำและบ้านเรือน ซึ่งมีรูปทรงอาคาร (ทำด้วยหิน) กับการใช้สีทาผนัง (ส่วนใหญ่ทาสีขาว) เพดาน หลังคาและบานประตูหน้าต่าง (ทำด้วยไม้) เป็นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของสถาปัตยกรรมภูฏาน

ศิลปะการแสดงและดนตรี
ภูฏานได้ชื่อว่ามีวัฒนธรรมเฉพาะตัวที่มีศาสนาพุทธเป็นแก่นอย่างเด่นชัด ทั้งศิลปะพื้นบ้านและศิลปะระดับชาติ เมื่อพระปัทมสัมภวะหรือกูรู รินโปเชนำศาสนาพุทธเข้ามาในภูฏานนั้น ท่านต้องต่อสู้กับภูตผีปีศาจที่ชาวพื้นเมืองนับถือ จนสามารถเอาชนะปีศาจต่างๆได้ ขาวพื้นเมืองจึงเลื่อมใสศรัทธาด้วยกุศโลบายของท่านปัทมสัมภาวะ ท่านได้ผนวกเอาภูตผีต่างๆมาทำหน้าที่เป็นธรรมบาลในพระพุทธศาสนา ให้ชาวบ้านเห็นว่าศาสนาพุทธมีอำนาจอยู่เหนือวิญญาณชั่วร้ายทั้งปวง การทำพิธีทางศาสนาของชาวพุทธในภูฏานจึงต้องมีการร่ายรำของเหล่าภูติผีปีศาจที่มีท่าทางน่าเกลียดน่ากลัว เช่น ระบำกลอง และระบำสวมหน้ากาก เป็นต้น งานแสดงทางศิลปะเหล่านี้จัดขึ้นเป็นงานใหญ่ในเทศกาลประจำปีสำคัญๆของภูฏาน

ด้านวัฒนธรรม
ชาวภูฏานเป็นชาวพุทธที่สุภาพ อ่อนน้อม มีน้ำใจ และนับถือผู้อาวุโส ทั้งยังเป็นมิตรและยินดีให้ความช่วยเหลือคนแปลกหน้า ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวภูฏานสมถะและเรียบง่าย แม้จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศยากจน แต่ชาวภูฏานก็มีความสุขและอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี ไม่นิยมการเบียดเบียนหรือรบกวนผู้อื่น
ภูฏานเป็นประเทศเดียวในโลกที่ห้ามไม่ให้มีการซื้อขายและสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ หากฝ่าฝืนถือว่าผิดกฎหมาย ทั้งยังมีกฎหมายห้ามนำเข้าบุหรี่ (ยกเว้นนักท่องเที่ยวที่นำบุหรี่เข้ามาสูบเอง แต่ก็อนุญาตให้สูบบุหรี่ได้เฉพาะสถานที่บางแห่งเท่านั้น) การตรวจเจอที่ศุลกากรจะมีการปรับภาษีศุลกากรถึง 100 เปอร์เซนต์เลยนะคะ จากการได้ท่้องเที่ยวในภูฏาณจะสังเกตเห็นว่าไม่มีชาวภูฏาณท่านใดที่สูบบุหรี่เลยค่ะหรือมีก็น้่อยมากๆ เพราะกฏหมายเขาค่อนข้างเข้มงวดค่ะ ในด้านการสื่อสาร รัฐบาลมีมาตรการควบคุมสื่อทุกชนิด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ศาสนา ศาสนาประจำชาติภูฏานเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าในภาคของพระศากยมุนีและพระโพธิสัตว์ศาสนาพุทธของชาวภูฏานเรียกว่าชาวภูฏานนับถือศาสนาพุทธร้อยละเป็นศาสนาที่มีลามะเช่นเดียวกับทิเบต Kagyupa หรือนิกายกาจู Drukpa 75 (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ Sharchops และ Ngalops) และนับถือศาสนาฮินดูร้อยละ (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ Lhotshams) 25 ศาสนาพุทธที่ชาวภูฏานนับถือเป็นลัทธิลามะแบบทิเบต ซึ่งเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด ชาวภูฏานมีความยึดมั่นในศาสนาอย่างแน่นแฟ้นกับทั้งให้ความเคารพนับถือพระ ที่มีบทบาทและอิทธิพลมากในชีวิตความเป็นอยู่ของชาวภูฏาน จะต้องบวชลูกชายที่อายุครบ 10 ขวบทุกคน เพื่อจะได้เรียนรู้คำสอนในพระพุทธศาสนา บางคนที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ตัดสินใจบวชเป็นพระไปตลอดชีวิต นอกจากนั้น พระของชาวภูฏานยังมีอิทธิพลและเกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ด้านการบริหารประเทศคณะรัฐมนตรีของภูฏานนั้นกำหนดให้มีพระลามะมีตำแหน่งอยู่ในคณะรัฐมนตรีถึง 10 ที่นั่ง ดังนั้นนโยบายการบริหารประเทศของภูฏานจึงเน้นไปที่ศาสนาและศีลธรรมของประชาชนเป็นหลัก ประมุขของศาสนาพุทธในประเทศภูฏานคือพระสังฆราช เรียกว่า เจเคนโป พระพุทธรูปสำคัญที่ประชาชนชาวภูฏานเคารพนับถือคือ พระศากยมุน(Sakyamuni) นอกจากนี้ยังมีพระโพธิสัตว์ปัทมสัมภวะ หรือกูรู รินโปเช (Padmasambhava หรือ Guru Rinpoche) พระอริยเมตไตรย หรือพระจัมปา (Maitreya หรือ Jampa) พระโพธิสัตว์มัญชุศรี (Manjushri) พระอวโลกิเตศวร (Avalokiteshvara) และพระวัชรปาณี (Vajrapani หรือ Channa Dorji) สำหรับพระลามะนั้น ชาวภูฏานให้ความเคารพบูชาอย่างสูงในท่านลามะ ซับดรุง รินโปเช(Shabdrung Rinpoche,ค.ศ.1594-1651) ในฐานะพระนักบุญคนสำคัญผู้เป็นต้นกำเนิดประเพณีการเต้นรำสวมหน้ากาก (เซซู) ประเพณีศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาพุทธในภูฏาน (คำว่า รินโปเช หมายถึง ลามะที่กลับชาติมาเกิดใหม่) ชาวภูฏานเชื่อว่าศาสนาจะนำพาความสุขมาให้พวกเขามากกว่าลัทธิบริโภคนิยม ประกอบกับรัฐบาลมุ่งให้ประชาชนตระหนักว่าคุณภาพชีวิตอยู่ที่จิตใจไม่ใช่วัตถุ ชาวภูฏานเป็นคนเคร่งศาสนา หลีกเลี่ยงการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ในภูฏานการจับปลาล่าสัตว์เป็นสิ่งผิดกฎหมาย หากจะจับกินกันในครัวเรือนต้องได้รับอนุญาต และต้องละเว้นจับปลาในฤดูวางไข่ ส่วนเนื้อหมู วัว ไก่ มักจะเลี้ยงและฆ่าเพื่อรับประทานในครอบครัวเท่านั้น ไม่ใช่มุ่งทำเป็นการค้า เนื้อสัตว์ที่มีขายอยู่ในตลาดสดเกือบทั้งหมดเป็นเนื้อชำแหละที่นำเข้ามาจากอินเดีย
ศิลปะและวัฒนธรรม
ด้านศิลปะ
ไม่ว่าจะเป็นภาษาและวรรณคดี หรืองานศิลปะประเภทต่างๆของภูฏาน เช่น งานหัตถกรรม สถาปัตยกรรม และภาพจิตรกรรมต่างๆที่เป็นภาพเขียนสีหรือผ้าปัก ล้วนเป็นภาพพุทธประวัติและภาพพุทธศิลป์ ภาพจิตรกรรมเหล่านี้เป็นภาพขนาดใหญ่ ทำด้วยผ้า ที่เรียกว่า ทังกา-thangka (เหมือนทังกาของทิเบต) ทังกาเป็นงานศิลปะที่ถ่ายทอดและสะท้อนคำสอนในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น สำหรับสถาปัตยกรรมแบบภูฏาน ปรากฏอยู่ในลักษณะการก่อสร้างและการตกแต่งวัดวาอาราม พระราชวัง ป้อมปราการ สะพานข้ามแม่น้ำและบ้านเรือน ซึ่งมีรูปทรงอาคาร (ทำด้วยหิน) กับการใช้สีทาผนัง (ส่วนใหญ่ทาสีขาว) เพดาน หลังคาและบานประตูหน้าต่าง (ทำด้วยไม้) เป็นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของสถาปัตยกรรมภูฏาน

ศิลปะการแสดงและดนตรี
ภูฏานได้ชื่อว่ามีวัฒนธรรมเฉพาะตัวที่มีศาสนาพุทธเป็นแก่นอย่างเด่นชัด ทั้งศิลปะพื้นบ้านและศิลปะระดับชาติ เมื่อพระปัทมสัมภวะหรือกูรู รินโปเชนำศาสนาพุทธเข้ามาในภูฏานนั้น ท่านต้องต่อสู้กับภูตผีปีศาจที่ชาวพื้นเมืองนับถือ จนสามารถเอาชนะปีศาจต่างๆได้ ขาวพื้นเมืองจึงเลื่อมใสศรัทธาด้วยกุศโลบายของท่านปัทมสัมภาวะ ท่านได้ผนวกเอาภูตผีต่างๆมาทำหน้าที่เป็นธรรมบาลในพระพุทธศาสนา ให้ชาวบ้านเห็นว่าศาสนาพุทธมีอำนาจอยู่เหนือวิญญาณชั่วร้ายทั้งปวง การทำพิธีทางศาสนาของชาวพุทธในภูฏานจึงต้องมีการร่ายรำของเหล่าภูติผีปีศาจที่มีท่าทางน่าเกลียดน่ากลัว เช่น ระบำกลอง และระบำสวมหน้ากาก เป็นต้น งานแสดงทางศิลปะเหล่านี้จัดขึ้นเป็นงานใหญ่ในเทศกาลประจำปีสำคัญๆของภูฏาน

ด้านวัฒนธรรม
ชาวภูฏานเป็นชาวพุทธที่สุภาพ อ่อนน้อม มีน้ำใจ และนับถือผู้อาวุโส ทั้งยังเป็นมิตรและยินดีให้ความช่วยเหลือคนแปลกหน้า ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวภูฏานสมถะและเรียบง่าย แม้จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศยากจน แต่ชาวภูฏานก็มีความสุขและอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี ไม่นิยมการเบียดเบียนหรือรบกวนผู้อื่น
ภูฏานเป็นประเทศเดียวในโลกที่ห้ามไม่ให้มีการซื้อขายและสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ หากฝ่าฝืนถือว่าผิดกฎหมาย ทั้งยังมีกฎหมายห้ามนำเข้าบุหรี่ (ยกเว้นนักท่องเที่ยวที่นำบุหรี่เข้ามาสูบเอง แต่ก็อนุญาตให้สูบบุหรี่ได้เฉพาะสถานที่บางแห่งเท่านั้น) การตรวจเจอที่ศุลกากรจะมีการปรับภาษีศุลกากรถึง 100 เปอร์เซนต์เลยนะคะ จากการได้ท่้องเที่ยวในภูฏาณจะสังเกตเห็นว่าไม่มีชาวภูฏาณท่านใดที่สูบบุหรี่เลยค่ะหรือมีก็น้่อยมากๆ เพราะกฏหมายเขาค่อนข้างเข้มงวดค่ะ ในด้านการสื่อสาร รัฐบาลมีมาตรการควบคุมสื่อทุกชนิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ศาสนาพุทธของชาวภูฏานเรียกว่า Drukpa Kagyu หรือ Kagyupa ชาวภูฏานนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 75 (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ Sharchops และ Ngalops) และนับถือศาสนาฮินดูร้อยละ 25 (ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ ซึ่งเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด จะต้องบวชลูกชายที่อายุครบ 10 ขวบทุกคน นอกจากนั้น 10 ที่นั่ง เรียกว่าเจเคนโป พระศากยมุน (ศากยมุนี) หรือกูรูรินโปเช (Padmasambhava หรือ Guru Rinpoche) พระอริยเมตไตรยหรือพระจัมปา (Maitreya หรือจำปา) พระโพธิสัตว์มัญชุศรี (Manjushri) พระอวโลกิเตศวร (Avalokiteshvara) และพระวัชรปาณี (Vajrapani หรือ Channa Dorji) สำหรับพระลามะนั้น ซับดรุงรินโปเช (Shabdrung พอช ค.ศ. 1594-1651) (เซซู) (คำว่ารินโปเชหมายถึง ชาวภูฏานเป็นคนเคร่งศาสนาหลีกเลี่ยง การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต และต้องละเว้นจับปลาในฤดูวางไข่ ส่วนเนื้อหมูวัวไก่ ไม่ใช่มุ่งทำเป็นการค้า หรืองานศิลปะประเภทต่างๆของภูฏานเช่น งานหัตถกรรมสถาปัตยกรรม ทำด้วยผ้าที่เรียกว่าทังกา -thangka (เหมือนทังกาของทิเบต) สำหรับสถาปัตยกรรมแบบภูฏาน พระราชวังป้อมปราการสะพานข้ามแม่น้ำและบ้านเรือน ซึ่งมีรูปทรงอาคาร (ทำด้วยหิน) กับการใช้สีทาผนัง (ส่วนใหญ่ทาสีขาว) เพดานหลังคาและบานประตูหน้าต่าง (ทำด้วยไม้) เมื่อพระปัทมสัมภวะหรือกูรู จนสามารถเอาชนะปีศาจต่างๆได้ เช่นระบำกลองและระบำสวมหน้ากากเป็นต้น อ่อนน้อมมีน้ำใจและนับถือผู้อาวุโส แม้จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศยากจน หากฝ่าฝืนถือว่าผิดกฎหมายทั้งยังมี กฎหมายห้ามนำเข้าบุหรี่ 100 เปอร์เซนต์เลยนะคะ เพราะกฏหมายเขาค่อนข้างเข้มงวดค่ะ ในด้านการสื่อสารรัฐบาลมีมาตรการควบคุมสื่อทุกชนิด















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมศาสนาศาสนาประจำชาติภูฏานเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าในภาคของพระศากยมุนีและพระโพธิสัตว์ศาสนาพุทธของชาวภูฏานเรียกว่าปายูค็อคกักยุปะเป็นศาสนาที่มีลามะเช่นเดียวกับทิเบตชาวภูฏานนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 75 ( ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติแชร์โคปส์และงาลอบ ) และนับถือศาสนาฮิ 25 นดูร้อยละ ( ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติ lhotshams )ศาสนาพุทธที่ชาวภูฏานนับถือเป็นลัทธิลามะแบบทิเบตซึ่งเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิดชาวภูฏานมีความยึดมั่นในศาสนาอย่างแน่นแฟ้นกับทั้งให้ความเคารพนับถือพระที่มีบทบาทและอิทธิพลมากในชีวิตความเป็นอยู่ของชาวภูฏานจะต้องบวชลูกชายที่อายุครบ 10 ขวบทุกคนเพื่อจะได้เร ียนรู้คำสอนในพระพุทธศาสนาบางคนที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ตัดสินใจบวชเป็นพระไปตลอดชีวิตนอกจากนั้นพระของชาวภูฏานยังมีอิทธิพลและเกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันด้านการบริหารประเทศคณะรัฐมนตรีของภูฏานนั้นกำหนดให้มีพระลามะมีตำแหน่งอยู่ ในคณะรัฐมนตรีถึง 10 ที่นั่งดังนั้นนโยบายการบริหารประเทศของภูฏานจึงเน้นไปที่ศาสนาและศีลธรรมของประชาชนเป็นหลักประมุขของศาสนาพุทธในประเทศภูฏานคือพระสังฆราชเรียกว่าเจเคนโปพระพุทธรูปสำคัญที่ประชาชนชาวภูฏานเคารพนับถือคือพระศากยมุน ( โนบิตะ ) นอกจากนี้ยังมีพระโพธิสัตว์ปัทมสัมภวะหรือกูรูรินโปเช ( คุรุรินโปเชปัทมสัมภวะค็อค ) พระอริยเมตไตรยหรือพระจัมปา ( พระศรีอริยเมตไตรยค็อคจำปา ) พระโพธิสัตว์มัญชุศรี ( manjushri ) พ ระอวโลกิเตศวร ( avalokiteshvara ) และพระวัชรปาณี ( คดีปริศนาระเบิดระฟ้าค็อคสกุลปลาช่อนเอเชีย ดอร์จิ ) สำหรับพระลามะนั้นชาวภูฏานให้ความเคารพบูชาอย่างสูงในท่านลามะซับดรุงรินโปเช ( shabdrung รินโปเช , ค . ศ . 1594-1651 ) ในฐานะพระนักบุญคนสำคัญผู้เป็นต้นกำเนิดประเพณีการเต้นรำสวมหน้ากาก ( เซซู ) ประเพณีศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาพุทธในภูฏาน ( คำว่าริน โปเชหมายถึงลามะที่กลับชาติมาเกิดใหม่ )ชาวภูฏานเชื่อว่าศาสนาจะนำพาความสุขมาให้พวกเขามากกว่าลัทธิบริโภคนิยมประกอบกับรัฐบาลมุ่งให้ประชาชนตระหนักว่าคุณภาพชีวิตอยู่ที่จิตใจไม่ใช่วัตถุชาวภูฏานเป็นคนเคร่งศาสนาหลีกเลี่ยงการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตในภูฏานการจับปลา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: