วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านบริเวณใกล้เค การแปล - วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านบริเวณใกล้เค ไทย วิธีการพูด

วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับ

วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเรียกวัดนี้ว่า วัดใหญ่ หรือ วัด หลวงพ่อโต จากโบราณคดีจารึก สืบต่อกันแต่ครั้งโบราณกาลว่า วัดนี้สร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. ในปี พ.ศ.2310 ครั้งหนึ่งที่พระองค์ยกทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยามาถึงยังตำบลหนึ่งซึ่งยังไม่ปรากฏนาม พระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พล และได้ทรงทำพิธีกรรมบวงสรวงหาฤกษ์ยามอันเป็นนิมิตตามตำรับพิชัยสงครามการทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้ ตามประเพณีมีการปลูกศาลเพียงตา พร้อมทั้งเครื่องเซ่นสังเวยมี ข้าวตอก ดอกไม้ สัตว์สี่เท้า สัตว์สองเท้า ขนมต้มขาว ขนมต้มดำ ขนมต้มแดง และอื่นๆพร้อมทั้งอัญเชิญพระแสงปืน พระแสงดาบ และสรรพวุธ

เพื่อเข้าพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้พร้อมทั้งตั้งสัจจะอธิษฐานต่อเทวาอารักษ์และสิ่ง-ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายว่า "ถ้าหากพระองค์ยังมีบุญญธิการปกครองไพร่ฟ้า ประชาชน พร้อมทั้งบ้านเมือง ให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้ว ขอให้พระองค์จงมีชัยชนะต่ออริราชศัตรูทั้งมวล"

ครั้งเมื่อพระองค์ได้รับชัยชนะแล้ว ก็ทรงยกทัพกลับสู่กรุงศรีอยุธยา ผ่านมาทางเดิมที่พระองค์ได้ทำพิธี ก็ทรงโปรดให้สร้างพลับพลาชัยขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ในชัยชนะของพระองค์ และทรงขนานนามว่า"พลับพลาชัยชนะสงคราม"ครั้นต่อมาชาวบ้านในละแวกนั้นได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นที่พลับพลาแห่งนี้ และเรียกวัดนี้ว่า "วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม” ส่วนชื่อของตำบลนั้นได้ชื่อว่า“บางพลี” เพราะเหตุที่สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนั่นเอง

ดังนั้นประชาชนทั้งหลายจึงเรียกว่าบางพลี และวัดพลับพลาชัยชนะสงครามก็ถูกเรียกตามตำบลนั้นอีกว่า“วัดบางพลี”แต่เนื่องจากต่อมาได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกอยู่ทางด้านนอกเรียกกันว่า วัดบางพลีใหญ่กลางและวัดบางพลีได้พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นมิ่งขวัญของวัดจึงเรียกว่า "วัดบางพลีใหญ่ใน"หรือ"วัดหลวงพ่อโต"มาจทนทุกวันนี้

หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย (สะดุ้งมาร) องค์พระเป็นทองสำริดทั้งองค์ หน้าตักกว้าง 3 ศอก 1 คืบ ลืมพระเนตร เป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถวัดบางพลีใหญ่ใน

ได้รับการกล่าวขวัญถึงความศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพสักการะของชาวบางพลีและพุทธศาสนิกชนทั่วไป

ตามตำนาน เล่าสืบต่อกันมา ว่าประมาณกาล 200 กว่าปีล่วงมาแล้ว ได้มีพระพุทธรูป 3 องค์ ปาฏิหาริย์ลงมาจากทางเหนือ ลอยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาตลอดมาพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์นี้ เข้าใจว่าปวงชนในกรุงศรีอยุธยาคงอาราธนาท่านลงสู่แม่น้ำ เพื่อหลบหนีข้าศึก ด้วยในสมัยนั้นบ้านเมืองได้เกิดสภาวะสงครามขึ้นกับพม่า

พระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ ได้แสดงอภินิหารลอยล่องมาตามลำแม่น้ำ และบางครั้งก็แสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ผุดให้ผู้คนเห็นตามลำดับ จนเป็นที่โจษจันกันทั่ว ถึงอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน

ต่อมาภายหลังปรากฏว่า พระพุทธรูปองค์หนึ่งไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่ วัดบ้านแหลม จ.สมุทรสงคราม

ในเวลาไล่เลี่ยกันพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง ไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่วัดโสธร จ.ฉะเชิงเทรา

ส่วนอีกองค์หนึ่งได้ล่องลอยเรื่อยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา ปาฏิหาริย์ลอยวกเข้ามาในลำคลองสำโรง ประชาชนพบเห็นต่างโจษจันกันไปทั่ว พร้อมกับได้อาราธนาขึ้นที่ปากคลองสำโรง แต่พระพุทธรูปไม่ยอมขึ้น (หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่)

ในที่นั้น มีผู้มีปัญญาดีคนหนึ่ง ได้ให้ความเห็นว่า คงเป็นเพราะบุญญาอภินิหารของท่าน แม้จะใช้จำนวนผู้คนสักเท่าไรอาราธนาฉุดท่านขึ้นบนฝั่งไม่สำเร็จเป็นแน่ ควรจะเสี่ยงทายต่อแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่าน ให้ลอยตามลำน้ำสำโรงและอธิษฐานว่า "หากท่านประสงค์จะขึ้นโปรดที่ใดก็ขอจงได้แสดงอภินิหารให้แพที่ลอยมาจงหยุด ณ ที่นั้นเถิด"

เมื่อประชาชนทั้งหลายได้เห็นพ้องดีกันดังนั้นแล้ว ก็พร้อมใจกันทำแพผูกชะลอกับองค์ท่านแล้วใช้เรือ ซึ่งสมัยนั้นเป็นเรือพายทั้งสิ้น ช่วยกันจ้ำพายจูงแพลอยเรื่อยมาตามลำคลองเรือที่ใช้ลากจูงแพมานั้นมีชื่อแปลกต่างๆ กัน เช่นชื่อ ม้าน้ำ เป็ดน้ำ ตุ๊กแก และอื่นๆ เป็นต้น และจัดให้มีการละเล่นต่างๆ มีละครเจ้ารำถวายมาตลอดทาง และการละเล่นอื่นๆ ครึกครื้นมาตลอดทั้งลำน้ำ

ครั้นแพลอยมาถึงบริเวณหน้าวัดพลับพลาชัยชนะสงคราม หรือวัดบางพลีใหญ่ใน แพที่ผูกชะลอองค์ท่านเกิดหยุดนิ่ง พยายามจ้ำและพายกันอย่างเต็มที่เต็มกำลัง แพนั้นก็หาได้ขยับเขยื้อนไม่

ประชาชนที่มากับเรือและชาวบางพลี จึงได้พร้อมใจกันอาราธนาตั้งจิตอธิษฐานว่า "ถ้าหลวงพ่อจะโปรดคุ้มครองชาวบางพลีให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้วก็ ขออาราธนาอัญเชิญองค์ท่านให้ขึ้นจากน้ำได้โดยง่ายเถิด"

และเป็นที่น่าอัศจรรย์เป็นอย่างมาก เพียงใช้คนไม่มากนัก สามารถอาราธนาท่านขึ้นจากน้ำได้โดยง่าย ทำให้ประชาชนต่างแซ่ซ้องในอภินิหารของท่านเป็นอย่างยิ่ง และได้อาราธนาท่านขึ้นไปประดิษฐานอยู่ในวิหารนั้นเรื่อยมา

ครั้นต่อมาได้รื้อวิหารนั้นอีกเพื่อสร้างเป็นพระอุโบสถที่ถาวร จึงต้องชะลออาราธนาองค์ท่านมาพักไว้ยังศาลาชั่วคราว จนกระทั่งได้สร้างพระอุโบสถสำเร็จแล้ว จึงได้อาราธนาท่านไปประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถ เพื่อเป็นพระประธานของวัดบางพลีใหญ่ใน

เล่ากันว่า เมื่อคราวสร้างพระอุโบสถเสร็จใหม่ๆ ได้วัดช่องประตูพระอุโบสถกับองค์ หลวงพ่อโต ปรากฏว่า ช่องประตูใหญ่กว่าองค์พระประมาณ 5 นิ้ว ซึ่งสามารถนำองค์หลวงพ่อโตผ่านเข้าไปได้

แต่พอถึงคราวอาราธนาจริง กลับปรากฏว่า องค์หลวงพ่อใหญ่กว่าประตูมาก คณะกรรมการจำนวนหนึ่งเห็นว่าควรทุบช่องประตูทิ้ง แต่อีกจำนวนหนึ่งเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโต จึงได้พร้อมใจกันอธิษฐานขอให้หลวงพ่อโตสามารถผ่านเข้าประตูได้ เพื่อเป็นมิ่งขวัญคุ้มครองชาวบางพลีสืบไป

เมื่ออธิษฐานเสร็จก็อาราธนาหลวงพ่อโตผ่านประตูได้โดยสะดวก

การที่ท่านได้พระนามว่า "หลวงพ่อโต" คงเป็นเพราะองค์ของท่านใหญ่โต คือ ใหญ่โตกว่าองค์ที่ลอยน้ำมาด้วยกันทั้ง 2 องค์ จึงถือเป็นนิมิตอันดีให้ประชาชนพากันถวายนามว่า "หลวงพ่อโต" เป็นสิ่งที่เคารพสักการะของชาวบางพลี ตราบเท่าทุกวันนี้ หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน

ทั้งนี้ การลำดับว่าองค์ไหนองค์พี่ องค์กลาง องค์น้อง และลอยมาพร้อมกันตามตำนานที่สืบต่อกันมา เข้าใจว่าคงจะนับเอาองค์ที่อารา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัดบางพลีใหญ่ในเดิมชื่อว่าวัดพลับพลาชัยชนะสงครามชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเรียกวัดนี้ว่าวัดใหญ่หรือวัดหลวงพ่อโตจากโบราณคดีจารึกสืบต่อกันแต่ครั้งโบราณกาลว่าวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ.2310 ครั้งหนึ่งที่พระองค์ยกทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยามาถึงยังตำบลหนึ่งซึ่งยังไม่ปรากฏนามพระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พลและได้ทรงทำพิธีกรรมบวงสรวงหาฤกษ์ยามอันเป็นนิมิตตามตำรับพิชัยสงครามการทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้ตามประเพณีมีการปลูกศาลเพียงตาพร้อมทั้งเครื่องเซ่นสังเวยมีข้าวตอกดอกไม้สัตว์สี่เท้าสัตว์สองเท้าขนมต้มขาวขนมต้มดำขนมต้มแดงและอื่นๆพร้อมทั้งอัญเชิญพระแสงปืนพระแสงดาบและสรรพวุธเพื่อเข้าพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้พร้อมทั้งตั้งสัจจะอธิษฐานต่อเทวาอารักษ์และสิ่ง-ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายว่า "ถ้าหากพระองค์ยังมีบุญญธิการปกครองไพร่ฟ้าประชาชนพร้อมทั้งบ้านเมืองให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้วขอให้พระองค์จงมีชัยชนะต่ออริราชศัตรูทั้งมวล"ครั้งเมื่อพระองค์ได้รับชัยชนะแล้วก็ทรงยกทัพกลับสู่กรุงศรีอยุธยาผ่านมาทางเดิมที่พระองค์ได้ทำพิธีก็ทรงโปรดให้สร้างพลับพลาชัยขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ในชัยชนะของพระองค์และทรงขนานนามว่า "พลับพลาชัยชนะสงคราม" ครั้นต่อมาชาวบ้านในละแวกนั้นได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นที่พลับพลาแห่งนี้และเรียกวัดนี้ว่า "วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม" ส่วนชื่อของตำบลนั้นได้ชื่อว่า "บางพลี" เพราะเหตุที่สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนั่นเองดังนั้นประชาชนทั้งหลายจึงเรียกว่าบางพลีและวัดพลับพลาชัยชนะสงครามก็ถูกเรียกตามตำบลนั้นอีกว่า "วัดบางพลี" แต่เนื่องจากต่อมาได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกอยู่ทางด้านนอกเรียกกันว่าวัดบางพลีใหญ่กลางและวัดบางพลีได้พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นมิ่งขวัญของวัดจึงเรียกว่า "วัดบางพลีใหญ่ใน" หรือ "วัดหลวงพ่อโต" มาจทนทุกวันนี้หลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่ในต.บางพลีใหญ่อ.บางพลีจ.สมุทรปราการเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย (สะดุ้งมาร) องค์พระเป็นทองสำริดทั้งองค์หน้าตักกว้าง 3 ศอก 1 คืบลืมพระเนตรเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถวัดบางพลีใหญ่ในได้รับการกล่าวขวัญถึงความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพสักการะของชาวบางพลีและพุทธศาสนิกชนทั่วไปตามตำนานเล่าสืบต่อกันมาว่าประมาณกาล 200 กว่าปีล่วงมาแล้วได้มีพระพุทธรูป 3 องค์ปาฏิหาริย์ลงมาจากทางเหนือลอยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาตลอดมาพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์นี้เข้าใจว่าปวงชนในกรุงศรีอยุธยาคงอาราธนาท่านลงสู่แม่น้ำเพื่อหลบหนีข้าศึกด้วยในสมัยนั้นบ้านเมืองได้เกิดสภาวะสงครามขึ้นกับพม่าพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ได้แสดงอภินิหารลอยล่องมาตามลำแม่น้ำและบางครั้งก็แสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ผุดให้ผู้คนเห็นตามลำดับจนเป็นที่โจษจันกันทั่วถึงอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ของท่านต่อมาภายหลังปรากฏว่าพระพุทธรูปองค์หนึ่งไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่วัดบ้านแหลมจ.สมุทรสงครามในเวลาไล่เลี่ยกันพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่วัดโสธรจ.ฉะเชิงเทราส่วนอีกองค์หนึ่งได้ล่องลอยเรื่อยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา ปาฏิหาริย์ลอยวกเข้ามาในลำคลองสำโรง ประชาชนพบเห็นต่างโจษจันกันไปทั่ว พร้อมกับได้อาราธนาขึ้นที่ปากคลองสำโรง แต่พระพุทธรูปไม่ยอมขึ้น (หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่)ในที่นั้น มีผู้มีปัญญาดีคนหนึ่ง ได้ให้ความเห็นว่า คงเป็นเพราะบุญญาอภินิหารของท่าน แม้จะใช้จำนวนผู้คนสักเท่าไรอาราธนาฉุดท่านขึ้นบนฝั่งไม่สำเร็จเป็นแน่ ควรจะเสี่ยงทายต่อแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่าน ให้ลอยตามลำน้ำสำโรงและอธิษฐานว่า "หากท่านประสงค์จะขึ้นโปรดที่ใดก็ขอจงได้แสดงอภินิหารให้แพที่ลอยมาจงหยุด ณ ที่นั้นเถิด"เมื่อประชาชนทั้งหลายได้เห็นพ้องดีกันดังนั้นแล้วก็พร้อมใจกันทำแพผูกชะลอกับองค์ท่านแล้วใช้เรือซึ่งสมัยนั้นเป็นเรือพายทั้งสิ้นช่วยกันจ้ำพายจูงแพลอยเรื่อยมาตามลำคลองเรือที่ใช้ลากจูงแพมานั้นมีชื่อแปลกต่าง ๆ กันเช่นชื่อม้าน้ำเป็ดน้ำตุ๊กแกและอื่น ๆ เป็นต้นและจัดให้มีการละเล่นต่าง ๆ มีละครเจ้ารำถวายมาตลอดทางและการละเล่นอื่น ๆ ครึกครื้นมาตลอดทั้งลำน้ำครั้นแพลอยมาถึงบริเวณหน้าวัดพลับพลาชัยชนะสงครามหรือวัดบางพลีใหญ่ในแพที่ผูกชะลอองค์ท่านเกิดหยุดนิ่งพยายามจ้ำและพายกันอย่างเต็มที่เต็มกำลังแพนั้นก็หาได้ขยับเขยื้อนไม่ประชาชนที่มากับเรือและชาวบางพลี จึงได้พร้อมใจกันอาราธนาตั้งจิตอธิษฐานว่า "ถ้าหลวงพ่อจะโปรดคุ้มครองชาวบางพลีให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้วก็ ขออาราธนาอัญเชิญองค์ท่านให้ขึ้นจากน้ำได้โดยง่ายเถิด"และเป็นที่น่าอัศจรรย์เป็นอย่างมาก เพียงใช้คนไม่มากนัก สามารถอาราธนาท่านขึ้นจากน้ำได้โดยง่าย ทำให้ประชาชนต่างแซ่ซ้องในอภินิหารของท่านเป็นอย่างยิ่ง และได้อาราธนาท่านขึ้นไปประดิษฐานอยู่ในวิหารนั้นเรื่อยมาครั้นต่อมาได้รื้อวิหารนั้นอีกเพื่อสร้างเป็นพระอุโบสถที่ถาวร จึงต้องชะลออาราธนาองค์ท่านมาพักไว้ยังศาลาชั่วคราว จนกระทั่งได้สร้างพระอุโบสถสำเร็จแล้ว จึงได้อาราธนาท่านไปประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถ เพื่อเป็นพระประธานของวัดบางพลีใหญ่ในเล่ากันว่า เมื่อคราวสร้างพระอุโบสถเสร็จใหม่ๆ ได้วัดช่องประตูพระอุโบสถกับองค์ หลวงพ่อโต ปรากฏว่า ช่องประตูใหญ่กว่าองค์พระประมาณ 5 นิ้ว ซึ่งสามารถนำองค์หลวงพ่อโตผ่านเข้าไปได้แต่พอถึงคราวอาราธนาจริง กลับปรากฏว่า องค์หลวงพ่อใหญ่กว่าประตูมาก คณะกรรมการจำนวนหนึ่งเห็นว่าควรทุบช่องประตูทิ้ง แต่อีกจำนวนหนึ่งเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโต จึงได้พร้อมใจกันอธิษฐานขอให้หลวงพ่อโตสามารถผ่านเข้าประตูได้ เพื่อเป็นมิ่งขวัญคุ้มครองชาวบางพลีสืบไป
เมื่ออธิษฐานเสร็จก็อาราธนาหลวงพ่อโตผ่านประตูได้โดยสะดวก

การที่ท่านได้พระนามว่า "หลวงพ่อโต" คงเป็นเพราะองค์ของท่านใหญ่โต คือ ใหญ่โตกว่าองค์ที่ลอยน้ำมาด้วยกันทั้ง 2 องค์ จึงถือเป็นนิมิตอันดีให้ประชาชนพากันถวายนามว่า "หลวงพ่อโต" เป็นสิ่งที่เคารพสักการะของชาวบางพลี ตราบเท่าทุกวันนี้ หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน

ทั้งนี้ การลำดับว่าองค์ไหนองค์พี่ องค์กลาง องค์น้อง และลอยมาพร้อมกันตามตำนานที่สืบต่อกันมา เข้าใจว่าคงจะนับเอาองค์ที่อารา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดบางพลีใหญ่ในเดิมชื่อว่าวัดพลับพลาชัยชนะสงคราม วัดใหญ่หรือวัดหลวงพ่อโตจากโบราณคดีจารึกสืบต่อกัน แต่ครั้งโบราณกาลว่าวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2310 พระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พล ตามประเพณีมีการปลูกศาลเพียงตาพร้อมทั้งเครื่องเซ่นสังเวยมีข้าวตอกดอกไม้สัตว์สี่เท้าสัตว์สองเท้าขนมต้มขาวขนมต้มดำขนมต้มแดงและอื่น ๆ พร้อมทั้งอัญเชิญพระแสงปืนพระแสงดาบ ประชาชนพร้อมทั้งบ้านเมืองให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้ว ก็ทรงยกทัพกลับสู่กรุงศรีอยุธยาผ่านมาทางเดิมที่พระองค์ได้ทำพิธี และเรียกวัดนี้ว่า "วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม" วัดบางพลีใหญ่ในต. บางพลีใหญ่อ. บางพลีจ. สมุทรปราการเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย (สะดุ้งมาร) องค์พระเป็นทองสำริดทั้งองค์หน้าตักกว้าง 3 ศอก 1 คืบลืมพระเนตรเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย เล่าสืบต่อกันมาว่าประมาณกาล 200 กว่าปีล่วงมาแล้วได้มีพระพุทธรูป 3 องค์ปาฏิหาริย์ลงมาจากทางเหนือ 3 องค์นี้ เพื่อหลบหนีข้าศึก 3 องค์ จนเป็นที่โจษจันกันทั่ว วัดบ้านแหลม ไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่วัดโสธร ประชาชนพบเห็นต่างโจษจันกันไปทั่ว แต่พระพุทธรูปไม่ยอมขึ้น (หลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่) ในที่นั้นมีผู้มีปัญญาดีคนหนึ่งได้ให้ความเห็นว่าคงเป็นเพราะบุญญาอภินิหารของท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่านให้ลอยตามลำน้ำสำโรงและอธิษฐานว่า ณ ซึ่งสมัยนั้นเป็นเรือพายทั้งสิ้น กันเช่นชื่อม้าน้ำเป็ดน้ำตุ๊กแกและอื่น ๆ เป็นต้นและจัดให้มีการละเล่นต่างๆมีละครเจ้ารำถวายมาตลอดทางและการละเล่นอื่น ๆ หรือวัดบางพลีใหญ่ในแพที่ผูกชะลอองค์ท่านเกิดหยุดนิ่ง เพียงใช้คนไม่มากนัก เมื่อคราวสร้างพระอุโบสถเสร็จใหม่ ๆ ได้วัดช่องประตูพระอุโบสถกับองค์หลวงพ่อโตปรากฏว่าช่องประตูใหญ่กว่าองค์พระประมาณ 5 นิ้ว กลับปรากฏว่าองค์หลวงพ่อใหญ่กว่าประตูมาก "หลวงพ่อโต" คงเป็นเพราะองค์ของท่านใหญ่โตคือ 2 องค์ "หลวงพ่อโต" ตราบเท่าทุกวันนี้หลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่ในลำดับทั้งนี้การว่าได้องค์ไหนองค์พี่องค์กลางองค์น้อง เข้าใจว่าคงจะนับเอาองค์ที่อารา









































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดบางพลีใหญ่ในเดิมชื่อว่าวัดพลับพลาชัยชนะสงครามชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเรียกวัดนี้ว่าวัดใหญ่ค็อควัดหลวงพ่อโตจากโบราณคดีจารึกสืบต่อกันแต่ครั้งโบราณกาลว่าวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช .สามารถพ . ศ .ครั้งหนึ่งที่พระองค์ยกทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยามาถึงยังตำบลหนึ่งซึ่งยังไม่ปรากฏนามพระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พล 2310
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: