ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ (History of the Holidays: Easter)อีสเต การแปล - ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ (History of the Holidays: Easter)อีสเต ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ (Hi

ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ (History of the Holidays: Easter)

อีสเตอร์ วันที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในปฏิทินของชาวคริสต์ เป็นการเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู แล้วปาฏิหาริย์นี้เกี่ยวข้องอะไรกับกระต่ายและไข่หลากสีด้วย คำตอบซ่อนอยู่ในพิธีกรรมและประเพณีที่สืบต่อกันมาเป็นหลายร้อยชั่วอายุคน

ตามบันทึกในพระคัมภีร์ใหม่ พระเยซูและพระอัครธรรมฑูต (The Apostle) เดินทางไปที่เมืองเยรูซาเลม (Jerusalem) เพื่อประกอบพิธี Passover ซึ่งเป็นเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของชาวยิวเพื่อรำลึกถึงการที่ชาวฮิบรูได้รับการปลดปล่อยจากความเป็นทาส หลังอาหารค่ำในพิธี Passover พระเยซูทรงถูกจับกุม และในวันที่เรียกกันในปัจจุบันว่า วันศุกร์ประเสริฐ (Good Friday) พระเยซูก็ทรงสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน แต่เพียงสองวันนับจากนั้น ท่านก็ทรงฟื้นคืนพระชนม์

ชนชาติยิวเป็นคนกลุ่มแรกที่เริ่มเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์นี้ โดยคาดกันว่าอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาล Passover ที่จริงแล้ว การเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์เดิมเรียกว่า Pascha ซึ่งมาจากคำว่า Pasach คำในภาษายิวที่แปลว่า Passover

เดิมที เทศกาลอีสเตอร์เฉลิมฉลองกันในวันที่สองถัดจากวัน Passover ดังนั้นมันอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ในหนึ่งอาทิตย์ แต่วันอีสเตอร์ที่ตรงกับวันพุธ ออกจะรู้สึกแปลกๆอยู่

ในปี ค.ศ. 325 จักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine) ของอาณาจักรโรมัน และที่ประชุมแห่งไนเซีย (The Council of Nicaea) ตัดสินว่าเทศกาลอีสเตอร์ควรต้องตรงกับวันอาทิตย์ ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์ทรงฟื้นคืนพระชนม์ขึ้นมา วันอีสเตอร์ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์นั้น จะเป็นวันอาทิตย์แรก หลังพระจันทร์เต็มดวงในวัน Spring Equinox ซึ่งอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม-25 เมษายน

ในช่วงเดียวกันนี้ ชาวคริสต์ได้เริ่มธรรมเนียมเฉลิมฉลองเทศกาลอีกสเตอร์ขึ้นเป็นอย่างแรก นั่นคือธรรมเนียมการการจุดเทียนปัสกา (Paschal Candle) ซึ่งเปลวเทียนนั้นเป็นสิ่งระลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู เป็นเหมือนแสงที่ส่องสว่างออกมาท่ามกลางความมืดมิด

ขณะที่ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายออกไปทั่วทวีปยุโรป มีธรรมเนียมเดิมตามความเชื่อของเพเกนบางอย่างที่ผสมผสานเข้ากับความเชื่อของศาสนาคริสต์ด้วย ที่จริงแล้ว คาดว่าคำว่า อีสเตอร์ (Easter) อาจจะมาจากชื่อของ เทพีเอสตรา (Eastra) เทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ นี่นำเรามาสู่ไข่อีสเตอร์ (Easter Egg)

ไข่เป็นสัญลักษณ์แห่งการเกิดตามความเชื่อในตำนานมาเป็นพันๆปี คาดว่าชาวคริสต์รับเอาไข่มาเป็นส่วนหนึ่งในธรรมเนียมเทศกาลอีสเตอร์ในช่วงศตวรรษที่ 13 ไข่แดงในเปลือกเป็นสัญลักษณ์แทนการปรากฏตัวของพระคริสต์จากหลุมฝั่งพระศพ และย้อมเปลือกไข่เป็นสีแดงเพื่อแทนพระโลหิตที่พระคริสต์ต้องสูญเสียไปบนไม้กางเขน

ไม่นาน ไข่อีสเตอร์หลากสีก็ได้มีประเพณีเป็นของมันเอง และประเพณีที่เป็นที่ชื่นชอบมากคือประเพณีการกลิ้งไข่อีอีสเตอร์ (Egg Rolling) ในปี ค.ศ. 1876 สภาคองเกรสออกกฎห้ามเด็กๆเล่นการละเล่นนี้ในพื้นที่ของสภา ดังนั้น ประธานาธิบดี รัทเธอร์ฟอร์ด บี. เฮส จึงเปิดสนามหญ้าของทำเนียบขาวให้เด็กๆได้เข้ามาเล่นกัน หลังจากนั้นประเพณีกลิ้งไข่อีสเตอร์ประจำทำเนียบขาว (The White House Easter Egg Roll) ก็กลายเป็นประเพณีประจำที่เกิดขึ้นทุกปี

แล้วกระต่ายอีสเตอร์กระโดดมาเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลได้อย่างไร กระต่ายวัยเจริญพันธุ์เป็นสัญลักษณ์ของชีวิตที่เกิดใหม่ตามความเชื่อของเพเกนมาเป็นเวลานาน ในช่วงศตวรรษที่ 16 พ่อแม่เริ่มบอกลูกตัวเองว่า ถ้าเด็กๆเป็นเด็กดี กระต่ายอีสเตอร์ก็จะมาวางไข่หลากสีไว้ที่บ้าน เด็กๆก็จะทำรังไว้ในบ้าน เพื่อล่อให้กระต่ายเข้ามา นี่เองเป็นที่มาของประเพณีการล่าไข่อีสเตอร์ (Ester Egg Hunt) และตะกร้าไข่อีสเตอร์ (Easter Basket)

เพื่อช่วยให้เด็กๆ เติมตะกร้าอีสเตอร์ให้เต็มได้ง่ายขึ้น ช่างทำช๊อคโกแล็ตในยุโรป ในช่วงยุคศตวรรษที่ 19 ได้เริ่มผลิตช๊อคโกแล็ตรูปไข่ออกมา ขนมแบบนี้ได้รับความนิยมไปทั่วโลก และคนในปัจจุบันใช้เงินเป็นพันๆล้านดอลลาร์ทุกปี เพื่อซื้อขนมในเทศกาลอีสเตอร์

เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันแห่งความปีติที่ชาวคริสต์เฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู แค่สองพันปีที่ผ่านมานี้มีธรรมเนียมประเพณีใหม่ๆ ถูกผนวกเข้าไว้มากมาย บ้างเป็นประเพณีทางศาสนา และบ้างก็เป็นประเพณีเพื่อความสนุกสนาน แต่อีสเตอร์ยังเป็นช่วงเวลาที่ทุกคนในครอบครัวมารวมตัวกันเพื่อเฉลิมฉลองการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิด้วย ฤดูกาลที่ชีวิตใหม่เกิดขึ้นหลังความหนาวเย็นของฤดูหนาว

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ (History of the Holidays: Easter)อีสเตอร์ วันที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในปฏิทินของชาวคริสต์ เป็นการเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู แล้วปาฏิหาริย์นี้เกี่ยวข้องอะไรกับกระต่ายและไข่หลากสีด้วย คำตอบซ่อนอยู่ในพิธีกรรมและประเพณีที่สืบต่อกันมาเป็นหลายร้อยชั่วอายุคนตามบันทึกในพระคัมภีร์ใหม่ พระเยซูและพระอัครธรรมฑูต (The Apostle) เดินทางไปที่เมืองเยรูซาเลม (Jerusalem) เพื่อประกอบพิธี Passover ซึ่งเป็นเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของชาวยิวเพื่อรำลึกถึงการที่ชาวฮิบรูได้รับการปลดปล่อยจากความเป็นทาส หลังอาหารค่ำในพิธี Passover พระเยซูทรงถูกจับกุม และในวันที่เรียกกันในปัจจุบันว่า วันศุกร์ประเสริฐ (Good Friday) พระเยซูก็ทรงสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน แต่เพียงสองวันนับจากนั้น ท่านก็ทรงฟื้นคืนพระชนม์ชนชาติยิวเป็นคนกลุ่มแรกที่เริ่มเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์นี้ โดยคาดกันว่าอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาล Passover ที่จริงแล้ว การเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์เดิมเรียกว่า Pascha ซึ่งมาจากคำว่า Pasach คำในภาษายิวที่แปลว่า Passoverเดิมที เทศกาลอีสเตอร์เฉลิมฉลองกันในวันที่สองถัดจากวัน Passover ดังนั้นมันอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ในหนึ่งอาทิตย์ แต่วันอีสเตอร์ที่ตรงกับวันพุธ ออกจะรู้สึกแปลกๆอยู่ ในปี ค.ศ. 325 จักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine) ของอาณาจักรโรมัน และที่ประชุมแห่งไนเซีย (The Council of Nicaea) ตัดสินว่าเทศกาลอีสเตอร์ควรต้องตรงกับวันอาทิตย์ ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์ทรงฟื้นคืนพระชนม์ขึ้นมา วันอีสเตอร์ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์นั้น จะเป็นวันอาทิตย์แรก หลังพระจันทร์เต็มดวงในวัน Spring Equinox ซึ่งอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม-25 เมษายน ในช่วงเดียวกันนี้ ชาวคริสต์ได้เริ่มธรรมเนียมเฉลิมฉลองเทศกาลอีกสเตอร์ขึ้นเป็นอย่างแรก นั่นคือธรรมเนียมการการจุดเทียนปัสกา (Paschal Candle) ซึ่งเปลวเทียนนั้นเป็นสิ่งระลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู เป็นเหมือนแสงที่ส่องสว่างออกมาท่ามกลางความมืดมิด
ขณะที่ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายออกไปทั่วทวีปยุโรป มีธรรมเนียมเดิมตามความเชื่อของเพเกนบางอย่างที่ผสมผสานเข้ากับความเชื่อของศาสนาคริสต์ด้วย ที่จริงแล้ว คาดว่าคำว่า อีสเตอร์ (Easter) อาจจะมาจากชื่อของ เทพีเอสตรา (Eastra) เทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ นี่นำเรามาสู่ไข่อีสเตอร์ (Easter Egg)

ไข่เป็นสัญลักษณ์แห่งการเกิดตามความเชื่อในตำนานมาเป็นพันๆปี คาดว่าชาวคริสต์รับเอาไข่มาเป็นส่วนหนึ่งในธรรมเนียมเทศกาลอีสเตอร์ในช่วงศตวรรษที่ 13 ไข่แดงในเปลือกเป็นสัญลักษณ์แทนการปรากฏตัวของพระคริสต์จากหลุมฝั่งพระศพ และย้อมเปลือกไข่เป็นสีแดงเพื่อแทนพระโลหิตที่พระคริสต์ต้องสูญเสียไปบนไม้กางเขน

ไม่นาน ไข่อีสเตอร์หลากสีก็ได้มีประเพณีเป็นของมันเอง และประเพณีที่เป็นที่ชื่นชอบมากคือประเพณีการกลิ้งไข่อีอีสเตอร์ (Egg Rolling) ในปี ค.ศ. 1876 สภาคองเกรสออกกฎห้ามเด็กๆเล่นการละเล่นนี้ในพื้นที่ของสภา ดังนั้น ประธานาธิบดี รัทเธอร์ฟอร์ด บี. เฮส จึงเปิดสนามหญ้าของทำเนียบขาวให้เด็กๆได้เข้ามาเล่นกัน หลังจากนั้นประเพณีกลิ้งไข่อีสเตอร์ประจำทำเนียบขาว (The White House Easter Egg Roll) ก็กลายเป็นประเพณีประจำที่เกิดขึ้นทุกปี

แล้วกระต่ายอีสเตอร์กระโดดมาเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลได้อย่างไร กระต่ายวัยเจริญพันธุ์เป็นสัญลักษณ์ของชีวิตที่เกิดใหม่ตามความเชื่อของเพเกนมาเป็นเวลานาน ในช่วงศตวรรษที่ 16 พ่อแม่เริ่มบอกลูกตัวเองว่า ถ้าเด็กๆเป็นเด็กดี กระต่ายอีสเตอร์ก็จะมาวางไข่หลากสีไว้ที่บ้าน เด็กๆก็จะทำรังไว้ในบ้าน เพื่อล่อให้กระต่ายเข้ามา นี่เองเป็นที่มาของประเพณีการล่าไข่อีสเตอร์ (Ester Egg Hunt) และตะกร้าไข่อีสเตอร์ (Easter Basket)

เพื่อช่วยให้เด็กๆ เติมตะกร้าอีสเตอร์ให้เต็มได้ง่ายขึ้น ช่างทำช๊อคโกแล็ตในยุโรป ในช่วงยุคศตวรรษที่ 19 ได้เริ่มผลิตช๊อคโกแล็ตรูปไข่ออกมา ขนมแบบนี้ได้รับความนิยมไปทั่วโลก และคนในปัจจุบันใช้เงินเป็นพันๆล้านดอลลาร์ทุกปี เพื่อซื้อขนมในเทศกาลอีสเตอร์

เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันแห่งความปีติที่ชาวคริสต์เฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู แค่สองพันปีที่ผ่านมานี้มีธรรมเนียมประเพณีใหม่ๆ ถูกผนวกเข้าไว้มากมาย บ้างเป็นประเพณีทางศาสนา และบ้างก็เป็นประเพณีเพื่อความสนุกสนาน แต่อีสเตอร์ยังเป็นช่วงเวลาที่ทุกคนในครอบครัวมารวมตัวกันเพื่อเฉลิมฉลองการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิด้วย ฤดูกาลที่ชีวิตใหม่เกิดขึ้นหลังความหนาวเย็นของฤดูหนาว

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของวันอีสเตอร์ ( ประวัติของวันหยุด : อีสเตอร์ )

อีสเตอร์วันที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในปฏิทินของชาวคริสต์เป็นการเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซูแล้วปาฏิหาริย์นี้เกี่ยวข้องอะไรกับกระต่ายและไข่หลากสีด้วย
ตามบันทึกในพระคัมภีร์ใหม่พระเยซูและพระอัครธรรมฑูต ( อัครสาวก ) เดินทางไปที่เมืองเยรูซาเลม ( เยรูซาเล็ม ) เพื่อประกอบพิธีปัสกาหลังอาหารค่ำในพิธีปัสกาพระเยซูทรงถูกจับกุมและในวันที่เรียกกันในปัจจุบันว่าวันศุกร์ประเสริฐ ( วันศุกร์ ) พระเยซูก็ทรงสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนแต่เพียงสองวันนับจากนั้นท่านก็ทรงฟื้นคืนพระชนม์

ชนชาติยิวเป็นคนกลุ่มแรกที่เริ่มเฉลิมฉลองการฟื้นคืนพระชนม์นี้โดยคาดกันว่าอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลปัสกาที่จริงแล้วการเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์เดิมเรียกว่า pascha ซึ่งมาจากคำว่า pasach คำในภาษายิวที่แปลว่า
เดิมทีเทศกาลอีสเตอร์เฉลิมฉลองกันในวันที่สองถัดจากวันปัสกาดังนั้นมันอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ในหนึ่งอาทิตย์แต่วันอีสเตอร์ที่ตรงกับวันพุธออกจะรู้สึกแปลกๆอยู่

สามารถค . ศ .325 จักรพรรดิคอนสแตนติน ( คอนสแตนติน ) ของอาณาจักรโรมันและที่ประชุมแห่งไนเซีย ( สภาไนเซีย ) ตัดสินว่าเทศกาลอีสเตอร์ควรต้องตรงกับวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์ทรงฟื้นคืนพระชนม์ขึ้นมาจะเป็นวันอาทิตย์แรกหลังพระจันทร์เต็มดวงในวันฤดูใบไม้ผลิ Equinox ซึ่งอาจจะเป็นวันไหนก็ได้ระหว่างวันที่ 22 - 25 เมษายน
มีนาคม
ในช่วงเดียวกันนี้ชาวคริสต์ได้เริ่มธรรมเนียมเฉลิมฉลองเทศกาลอีกสเตอร์ขึ้นเป็นอย่างแรกนั่นคือธรรมเนียมการการจุดเทียนปัสกา ( ปาสคาลที่ซึ่งเปลวเทียนนั้นเป็นสิ่งระลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซูเทียน )
ขณะที่ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายออกไปทั่วทวีปยุโรปมีธรรมเนียมเดิมตามความเชื่อของเพเกนบางอย่างที่ผสมผสานเข้ากับความเชื่อของศาสนาคริสต์ด้วยที่จริงแล้วคาดว่าคำว่าอีสเตอร์ ( อีสเตอร์ ) อาจจะมาจากชื่อของเทพีเอสตราเทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์นี่นำเรามาสู่ไข่อีสเตอร์ ( อีสเตอร์ )

ไข่เป็นสัญลักษณ์แห่งการเกิดตามความเชื่อในตำนานมาเป็นพันๆปีคาดว่าชาวคริสต์รับเอาไข่มาเป็นส่วนหนึ่งในธรรมเนียมเทศกาลอีสเตอร์ในช่วงศตวรรษที่ 13และย้อมเปลือกไข่เป็นสีแดงเพื่อแทนพระโลหิตที่พระคริสต์ต้องสูญเสียไปบนไม้กางเขน

ไม่นานไข่อีสเตอร์หลากสีก็ได้มีประเพณีเป็นของมันเองและประเพณีที่เป็นที่ชื่นชอบมากคือประเพณีการกลิ้งไข่อีอีสเตอร์ ( กลิ้งไข่ ) สามารถค . ศ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: