โซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือข การแปล - โซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือข ไทย วิธีการพูด

โซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช สูตร

โซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิก มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น สามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในน้ำ มีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำ ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ พบในขี้เถ้าของพืชหลายชนิดและสาหร่ายทะเล (จึงได้ชื่อว่า โซดา แอช เนื่องจาก แอช ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ขี้เถ้า) เป็นสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น แก้ว เซรามิคส์ กระดาษ ผงซักฟอก สบู่ การแก้ไขน้ำกระด้าง

โซเดียมคาร์บอเนต พบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจากทะเลสาบที่ระเหยแห้งไป ในสมัยอียิปต์โบราณ มีการขุดแร่ที่เรียกว่า เนทรอน (natron) (ซึ่งเป็นเกลือที่ประกอบด้วยโซเดียมคาร์บอเนต (หรือ โซดา แอช) และโซเดียมไบคาร์บอเนต (เบกกิ้ง โซดา) และมีโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) และโซเดียมซัลเฟต ปนอยู่เล็กน้อย) จากก้นทะเลสาบที่แห้ง ใกล้แม่น้ำไนล์ และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ ใน ปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) พบแหล่งแร่โซเดียมคาร์บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น้ำกรีนริเวอร์ รัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริกา ทำให้สหรัฐขุดแร่มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมี

ในประเทศอื่น ๆ การผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกรรมวิธีทางเคมีที่เรียกว่า กระบวนการโซลเวย์ (Solvay process) ซึ่งค้นพบโดย เออร์เนส โซลเวย์ นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยี่ยม ในปี พ.ศ. 2404 (ค.ศ. 1861) โดยเปลี่ยน โซเดียมคลอไรด์ (น้ำเกลือ) เป็น โซเดียมคาร์บอเนต โดยใช้ แอมโมเนีย และ แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และสารที่เหลือจากกระบวนการมีเพียง แคลเซียมคลอไรด์ ซึ่งไม่เป็นพิษแม้ว่าอาจก่อให้เกิดความระคายเคืองได้ และ แอมโมเนียนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้อีก ทำให้กระบวนการโซลเวย์มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่ากรรมวิธีแบบเดิมมาก จึงถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตอย่างแพร่หลาย ในคริสต์ศตวรรษ 1900 โซเดียมคาร์บอเนต 90% ที่ผลิต ใช้วิธีการนี้ และยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน

เดิมนั้นการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกระบวนเคมีที่เรียกว่า กระบวนการเลอบลังก์ (Leblanc process) ซึ่งค้นพบโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส ชื่อ นิโคลาส เลอบลังก์ ในปี พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1791) โดยใช้ โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกำมะถัน) แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และถ่าน แต่กรดไฮโดรคลอริค (กรดเกลือ) ที่เกิดจากกระบวนการนี้ ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ และแคลเซียมซัลไฟด์ ที่เหลือจากกระบวนการทำให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม แต่เนื่องจากโซเดียมคาร์บอเนตเป็นสารเคมีพื้นฐานในอุตสาหกรรมหลายชนิด ทำให้มีการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตโดยกรรมวิธีนี้ และเป็นกรรมวิธีหลักมาจนถึงช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2433 (ช่วง ค.ศ. 1880 - 1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์ กว่า 20 ปี โรงงานผลิตแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้กระบวนการ เลอบรังค์แห่งสุดท้ายปิดลงในช่วงปี พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โซเดียมคาร์บอเนตหรือโซดาแอชสูตรเคมีคือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิกมีลักษณะเป็นผงสีขาวไม่มีกลิ่นสามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดีละลายได้ในน้ำมีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์พบในขี้เถ้าของพืชหลายชนิดและสาหร่ายทะเล (จึงได้ชื่อว่าโซดาแอชเนื่องจากแอชในภาษาอังกฤษหมายถึงขี้เถ้า) เป็นสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิดเช่นแก้วเซรามิคส์กระดาษผงซักฟอกสบู่การแก้ไขน้ำกระด้างโซเดียมคาร์บอเนตพบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจากทะเลสาบที่ระเหยแห้งไปในสมัยอียิปต์โบราณมีการขุดแร่ที่เรียกว่าเนทรอน (natron) (ซึ่งเป็นเกลือที่ประกอบด้วยโซเดียมคาร์บอเนต (หรือโซดาแอช) และโซเดียมไบคาร์บอเนต (เบกกิ้งโซดา) และมีโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) และโซเดียมซัลเฟตปนอยู่เล็กน้อย) จากก้นทะเลสาบที่แห้งใกล้แม่น้ำไนล์และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ในปีพ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) พบแหล่งแร่โซเดียมคาร์บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น้ำกรีนริเวอร์รัฐไวโอมิงสหรัฐอเมริกาทำให้สหรัฐขุดแร่มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมีในประเทศอื่นๆ การผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกรรมวิธีทางเคมีที่เรียกว่ากระบวนการโซลเวย์ (Solvay กระบวน) ซึ่งค้นพบโดยเออร์เนสโซลเวย์นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยี่ยมในปีพ.ศ. โดยเปลี่ยน 2404 (ค.ศ. 1861) โซเดียมคลอไรด์ (น้ำเกลือ) เป็นโซเดียมคาร์บอเนตโดยใช้แอมโมเนียและแคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และสารที่เหลือจากกระบวนการมีเพียงแคลเซียมคลอไรด์ซึ่งไม่เป็นพิษแม้ว่าอาจก่อให้เกิดความระคายเคืองได้และแอมโมเนียนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้อีกทำให้กระบวนการโซลเวย์มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่ากรรมวิธีแบบเดิมมาพบว่ามีจึงถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตอย่างแพร่หลายในคริสต์ศตวรรษ 1900 โซเดียมคาร์บอเนต 90% ที่ผลิตใช้วิธีการนี้และยังคงใช้อยู่ในปัจจุบันเดิมนั้นการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกระบวนเคมีที่เรียกว่ากระบวนการเลอบลังก์ (กระบวนการเลอบลังก์) ซึ่งค้นพบโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อนิโคลาสเลอบลังก์ในปีพ.ศ. 2334 (ค.ศ. ค.ศ. 1791) โดยใช้โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกำมะถัน) แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และถ่านแต่กรดไฮโดรคลอริค (กรดเกลือ) ที่เกิดจากกระบวนการนี้ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศและแคลเซียมซัลไฟด์ที่เหลือจากกระบวนการทำให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมแต่เนื่องจากโซเดียมคาร์บอเนตเป็นสารเคมีพื้นฐานในอุตสาหกรรมหลายชนิดทำให้มีการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตโดยกรรมวิธีนี้และเป็นกรรมวิธีหลักมาจนถึงช่วงปีพ.ศ. 2423-2433 (ช่วงค.ศ. 1880-1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์กว่า 20 ปีโรงงานผลิตแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้กระบวนการเลอบรังค์แห่งสุดท้ายปิดลงในช่วงปีพ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โซเดียมคาร์บอเนตหรือโซดาแอชสูตรเคมีคือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิกมีลักษณะเป็นผงสีขาวไม่มีกลิ่นสามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดีละลายได้ในน้ำมีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ (จึงได้ชื่อว่าโซดาแอชเนื่องจากแอชในภาษาอังกฤษหมายถึงขี้เถ้า) เช่นแก้วเซรามิคส์กระดาษผงซักฟอกสบู่ พบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้ง ในสมัยอียิปต์โบราณมีการขุดแร่ที่เรียกว่าเนทรอน (Natron) (หรือโซดาแอช) และโซเดียมไบคาร์บอเนต (เบกกิ้งโซดา) และมีโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) และโซเดียมซัลเฟตปนอยู่เล็กน้อย) จากก้นทะเลสาบที่แห้งใกล้แม่น้ำไนล์และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ใน ปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) รัฐไวโอมิงสหรัฐอเมริกา ๆ กระบวนการโซลเวย์ (กระบวนการโซลเวย์) ซึ่งค้นพบโดยเออร์เนสโซลเวย์นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยี่ยมในปี พ.ศ. 2404 (ค.ศ. 1861) โดยเปลี่ยนโซเดียมคลอไรด์ (น้ำเกลือ) เป็นโซเดียมคาร์บอเนตโดยใช้แอมโมเนียและแคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และสารที่เหลือจากกระบวนการมีเพียงแคลเซียมคลอไรด์ และ ในคริสต์ศตวรรษ 1900 โซเดียมคาร์บอเนต 90% ที่ผลิตใช้วิธีการนี้ กระบวนการเลอบลังก์ (กระบวนการเลอบลัง) ซึ่งค้นพบโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อนิโคลาสเลอบลังก์ในปี พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1791) โดยใช้โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกำมะถัน) แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และถ่าน แต่กรดไฮโดรคลอริค (กรดเกลือ) ที่เกิดจากกระบวนการนี้ทำให้เกิด มลพิษทางอากาศและแคลเซียมซัลไฟด์ และเป็นกรรมวิธีหลักมาจนถึงช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2433 (ช่วง ค.ศ. 1880-1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์กว่า 20 ปี เลอบรังค์แห่งสุดท้ายปิดลงในช่วงปี พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920)





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โซเดียมคาร์บอเนตค็อคโซดาแอชสูตรเคมีความ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิกมีลักษณะเป็นผงสีขาวไม่มีกลิ่นสามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดีละลายได้ในน้ำมีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำพบในขี้เถ้าของพืชหลายชนิดและสาหร่ายทะเล ( จึงได้ชื่อว่าโซดาแอชเนื่องจากแอชในภาษาอังกฤษหมายถึงขี้เถ้า ) เป็นสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิดเช่นแก้วเซรามิคส์กระดาษผงซักฟอกสบู่การแก้ไขน้ำกระด้าง

โซเดียมคาร์บอเนตพบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจากทะเลสาบที่ระเหยแห้งไปในสมัยอียิปต์โบราณมีการขุดแร่ที่เรียกว่าเนทรอน ( โซดา ) ( ซึ่งเป็นเกลือที่ประกอบด้วยโซเดียมคาร์บอเนตโซดาแอช ) และโซเดียมไบคาร์บอเนต ( เบกกิ้งโซดา ) และมีโซเดียมคลอไรด์ ( เกลือแกง ) และโซเดียมซัลเฟตปนอยู่เล็กน้อย ) จากก้นทะเลสาบที่แห้งใกล้แม่น้ำไนล์และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ the . พ .ศ . 2481 ( ค . ศ . 1938 ) พบแหล่งแร่โซเดียมคาร์บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น้ำกรีนริเวอร์รัฐไวโอมิงสหรัฐอเมริกาทำให้สหรัฐขุดแร่มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมี

ในประเทศอื่นจะการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกรรมวิธีทางเคมีที่เรียกว่ากระบวนการโซลเวย์ ( Solvay process ) ซึ่งค้นพบโดยเออร์เนสโซลเวย์นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยี่ยมสามารถพ . ศ . 2404 ( ค . ศ .1861 ) โดยเปลี่ยนโซเดียมคลอไรด์ ( น้ำเกลือ ) เป็นโซเดียมคาร์บอเนตโดยใช้แอมโมเนียและแคลเซียมคาร์บอเนต ( หินปูน ) และสารที่เหลือจากกระบวนการมีเพียงแคลเซียมคลอไรด์และแอมโมเนียนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้อีกทำให้กระบวนการโซลเวย์มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่ากรรมวิธีแบบเดิมมากจึงถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตอย่างแพร่หลายในคริสต์ศตวรรษ 190090% ที่ผลิตใช้วิธีการนี้และยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน

เดิมนั้นการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกระบวนเคมีที่เรียกว่ากระบวนการเลอบลังก์ ( เลอบกระบวนการ ) ซึ่งค้นพบโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อนิโคลาสเลอบลังก์สามารถพ . ศ . 2334 ( ค . ศ .1791 ) โดยใช้โซเดียมคลอไรด์ ( เกลือแกง ) กรดซัลฟูริก ( กรดกำมะถัน ) แคลเซียมคาร์บอเนต ( หินปูน ) และถ่านแต่กรดไฮโดรคลอริค ( กรดเกลือ ) ที่เกิดจากกระบวนการนี้ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศและแคลเซียมซัลไฟด์
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: