1. วิจัยเราเกี่ยวกับอะไร หากกล่าวถึงในทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ประเทศไทย  การแปล - 1. วิจัยเราเกี่ยวกับอะไร หากกล่าวถึงในทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ประเทศไทย  ไทย วิธีการพูด

1. วิจัยเราเกี่ยวกับอะไร หากกล่าวถึ

1. วิจัยเราเกี่ยวกับอะไร
หากกล่าวถึงในทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ประเทศไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีนและมลายู โดยมีพื้นที่ ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา และมาเลเซีย อีกทั้ง ประเทศไทยยังมีพื้นที่ ที่มีทางออกสู่ทะเล จะเห็นได้ว่าเส้นทางการคมนาคมของประเทศไทยจะมีความได้เปรียบประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะเป็นการคมนาคมทางบก ทางอากาศ และทางน้ำ ซึ่งส่งผลดีในเชิงเศรษฐกิจให้กับประเทศไทย
เพื่อต้อนรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงมีโครงการพัฒนาเส้นทางคมนาคมระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridor) โดยหนึ่งในเส้นทางที่มีการพัฒนานั้นก็คือ เส้นทาง เสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใตหรือเสนทาง North-South Economic Corridor (NSEC) R3E หรือ R3A
เปนเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงการขนสงทางบกระหว่างนครคุนหมิงกับกรุงเทพฯ มีระยะทางประมาณ 1,800 กิโลเมตร โดยผาน 3 ประเทศ คือจีนตอนใต (700 กิโลเมตร) สปป.ลาว (250 กิโลเมตร) และ ไทย (850 กิโลเมตร) และขณะนี้เสนทาง R3E ได้กอสรางเสรร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
โดยในประเทศไทย จังหวัดที่มีเส้นทาง R3A ผ่านคือ เชียงราย ตาก นครสวรรค์ กรุงเทพ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฏร์ธานี อ.หาดใหญ่ สงขลา และนราธิวาส เส้นทาง R3E จะชวยลดเวลาการเดินทางระหวางนครคุนหมิง-กรุงเทพฯจาก 48 ชั่วโมง เหลือเพียง 20 ชั่วโมง ทั้ง 3 ประเทศได้กําหนดนโยบายการพัฒนาเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจจากเส้นทางดังกล่าว โดยไทยได้กําหนดการจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงรายและการพัฒนาท่าเรือเชียงแสน (กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ,2552 ) จึงทำให้ข้าพเจ้ามีความสนใจที่จะศึกษาการตั้งศูนย์กระจายสินค้าบนเส้นทางนี้ เนื่องจากเส้นทาง R2A เป็นเส้นทางที่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจมาก โดยจะส่งผลให้หลายจังหวัดของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และยังส่งผลกระทบทางการค้าที่จะช่วยให้การค้าระหว่างภูมิภาคตามเส้นทาง R3A ขยายตัวขึ้น
หน้าที่สำคัญของศูนย์กระจายสินค้า คือ เป็นแหล่งในการรวบรวม แบ่ง บรรจุ คัดเลือก ให้เหมาะสม กับประเภทยานพาหนะที่จะใช้ในการขนส่งให้กับลูกค้า ซึ่งจะมีความแตกต่างไปตามสภาพแวดล้อมโดยพันธกิจที่สำคัญของศูนย์กระจายสินค้าจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความสัมพันธ์ของข้อมูลข่าวสาร , การจัดเก็บสินค้า (Storage) และบรรจุภัณฑ์ (Packaging) รวมทั้งการจัดการประเภทของการขนส่ง (Mode of Transport) โดยมีหน้าที่หลักคือ การวางแผนการส่งมอบสินค้า (Delivery Load Planning) เพื่อให้ส่งสินค้าที่ถูกต้องในเวลาที่เหมะสมไปสู่ลูกค้าตามเวลาที่ลูกค้าต้องการ
การพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าที่เหมาะสมที่สุดสำหรับองค์การเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะเมื่อสร้างแล้วไม่สามารถย้ายได้หรือจะหาผู้เช่าคลังสินค้าก็ไม่ง่าย เนื่องจากคลังสินค้าแต่ละแห่งก็จะเหมาะสมกับสินค้าเฉพาะอย่าง ดังนั้น จะต้องวางแผนเป็นอย่างดีเนื่องจากการก่อสร้างคลังสินค้าใหม่ต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมากและยิ่งไปกว่านั้นทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมยังมีผลโดยตรงในระยะยาวต่อต้นทุนด้านต่างๆ เช่น ค่าขนส่ง ค่าแรงงานค่าสาธารณูปโภค และค่าการติดต่อสื่อสาร
จะเห็นได้ว่าสินค้าของแต่ละประเทศบนเส้นทางเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ (R2) นั้น ประกอบไปด้วยสินค้าที่เป็นผลผลิตทางด้านเกษตรกรรม อาทิ เช่น ผลไม้ ข้าว กาแฟ ยางพารา มันสำปะหลัง และก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น
โดยมันสำปะหลังเป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง เป็นพืชอาหารสำคัญของประเทศในเขตร้อน โดยเฉพาะประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ ส่วนในทวีปเอเชีย ประเทศอินโดนีเซีย และอินเดีย มีการบริโภคมันสำปะหลังเป็นจำนวนมาก
มันสำปะหลังเป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน สามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ ที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นที่นิยมของเกษตรกรที่ยากจน
โดยประเทศไทยสามารถส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังได้หลายรูปแบบ เช่น มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง ทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งแปรรูป เป็นต้น ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก โดยมีส่วนแบ่งตลาดสูงถึงร้อยละ 70 ส่วนในตลาด ASEAN นั้นประเทศไทยสามารถครองอันดับ 1 ในการส่งออกมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี รองลงมาคือ กัมพูชา และเวียดนาม
การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะส่งผลทางด้านบวกกับสินค้าเกษตรอย่างมันสำปะหลังเพียงรายการเดียว เนื่องจากไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังได้มากที่สุดในอาเซียน โดยครองส่วนแบ่งตลาดมากกว่าประเทศ คู่แข่งอย่าง เวียดนามและอินโดนีเซียค่อนข้างมาก ประกอบกับไทยมีต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังต่อไร่ต่ำกว่า รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการแปรรูปมันสำปะหลังในรูปแบบต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นโรงงานแป้งมัน โรงงานแป้งแปรรูป
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการตั้งศูนย์กระจายสินค้าของมันสำปะหลัง เพื่อพัฒนาศักยภาพของการผลิต การจัดเก็บ และการกระจายสินค้าประเภทมันสำปะหลัง เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบการกระจายสินค้าประเภทมันสำปะหลังที่มีมาตรฐานสามารถครอบคลุมทั่วโลก และสามารถครองตลาดมันสำปะหลังของโลกสืบต่อไปในอนาคต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. วิจัยเราเกี่ยวกับอะไร หากกล่าวถึงในทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีนและมลายูโดยมีพื้นที่ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือพม่าลาวเวียดนามกัมพูชาและมาเลเซียอีกทั้งประเทศไทยยังมีพื้นที่ที่มีทางออกสู่ทะเลจะเห็นได้ว่าเส้นทางการคมนาคมของประเทศไทยจะมีความได้เปรียบประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะเป็นการคมนาคมทางบกทางอากาศและทางน้ำซึ่งส่งผลดีในเชิงเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยเพื่อต้อนรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจึงมีโครงการพัฒนาเส้นทางคมนาคมระเบียงเศรษฐกิจ (ทางเศรษฐกิจ) โดยหนึ่งในเส้นทางที่มีการพัฒนานั้นก็คือเส้นทางเสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือใตหรือเสนทางระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (NSEC) R3E หรือ R3Aเปนเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงการขนสงทางบกระหว่างนครคุนหมิงกับกรุงเทพฯ มีระยะทางประมาณ 1,800 กิโลเมตรโดยผาน 3 ประเทศคือจีนตอนใต (700 กิโลเมตร) สปป.ลาว (250 กิโลเมตร) และนะ (850 กิโลเมตร) และขณะนี้เสนทาง R3E ได้กอสรางเสรร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้วโดยในประเทศไทย จังหวัดที่มีเส้นทาง R3A ผ่านคือ เชียงราย ตาก นครสวรรค์ กรุงเทพ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฏร์ธานี อ.หาดใหญ่ สงขลา และนราธิวาส เส้นทาง R3E จะชวยลดเวลาการเดินทางระหวางนครคุนหมิง-กรุงเทพฯจาก 48 ชั่วโมง เหลือเพียง 20 ชั่วโมง ทั้ง 3 ประเทศได้กําหนดนโยบายการพัฒนาเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจจากเส้นทางดังกล่าว โดยไทยได้กําหนดการจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงรายและการพัฒนาท่าเรือเชียงแสน (กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ,2552 ) จึงทำให้ข้าพเจ้ามีความสนใจที่จะศึกษาการตั้งศูนย์กระจายสินค้าบนเส้นทางนี้ เนื่องจากเส้นทาง R2A เป็นเส้นทางที่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจมาก โดยจะส่งผลให้หลายจังหวัดของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และยังส่งผลกระทบทางการค้าที่จะช่วยให้การค้าระหว่างภูมิภาคตามเส้นทาง R3A ขยายตัวขึ้น หน้าที่สำคัญของศูนย์กระจายสินค้า คือ เป็นแหล่งในการรวบรวม แบ่ง บรรจุ คัดเลือก ให้เหมาะสม กับประเภทยานพาหนะที่จะใช้ในการขนส่งให้กับลูกค้า ซึ่งจะมีความแตกต่างไปตามสภาพแวดล้อมโดยพันธกิจที่สำคัญของศูนย์กระจายสินค้าจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความสัมพันธ์ของข้อมูลข่าวสาร , การจัดเก็บสินค้า (Storage) และบรรจุภัณฑ์ (Packaging) รวมทั้งการจัดการประเภทของการขนส่ง (Mode of Transport) โดยมีหน้าที่หลักคือ การวางแผนการส่งมอบสินค้า (Delivery Load Planning) เพื่อให้ส่งสินค้าที่ถูกต้องในเวลาที่เหมะสมไปสู่ลูกค้าตามเวลาที่ลูกค้าต้องการการพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าที่เหมาะสมที่สุดสำหรับองค์การเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะเมื่อสร้างแล้วไม่สามารถย้ายได้หรือจะหาผู้เช่าคลังสินค้าก็ไม่ง่าย เนื่องจากคลังสินค้าแต่ละแห่งก็จะเหมาะสมกับสินค้าเฉพาะอย่าง ดังนั้น จะต้องวางแผนเป็นอย่างดีเนื่องจากการก่อสร้างคลังสินค้าใหม่ต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมากและยิ่งไปกว่านั้นทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมยังมีผลโดยตรงในระยะยาวต่อต้นทุนด้านต่างๆ เช่น ค่าขนส่ง ค่าแรงงานค่าสาธารณูปโภค และค่าการติดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ว่าสินค้าของแต่ละประเทศบนเส้นทางเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ (R2) นั้น ประกอบไปด้วยสินค้าที่เป็นผลผลิตทางด้านเกษตรกรรม อาทิ เช่น ผลไม้ ข้าว กาแฟ ยางพารา มันสำปะหลัง และก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น โดยมันสำปะหลังเป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง เป็นพืชอาหารสำคัญของประเทศในเขตร้อน โดยเฉพาะประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ ส่วนในทวีปเอเชีย ประเทศอินโดนีเซีย และอินเดีย มีการบริโภคมันสำปะหลังเป็นจำนวนมาก
มันสำปะหลังเป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน สามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ ที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นที่นิยมของเกษตรกรที่ยากจน
โดยประเทศไทยสามารถส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังได้หลายรูปแบบ เช่น มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง ทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งแปรรูป เป็นต้น ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก โดยมีส่วนแบ่งตลาดสูงถึงร้อยละ 70 ส่วนในตลาด ASEAN นั้นประเทศไทยสามารถครองอันดับ 1 ในการส่งออกมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี รองลงมาคือ กัมพูชา และเวียดนาม
การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะส่งผลทางด้านบวกกับสินค้าเกษตรอย่างมันสำปะหลังเพียงรายการเดียว เนื่องจากไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังได้มากที่สุดในอาเซียน โดยครองส่วนแบ่งตลาดมากกว่าประเทศ คู่แข่งอย่าง เวียดนามและอินโดนีเซียค่อนข้างมาก ประกอบกับไทยมีต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังต่อไร่ต่ำกว่า รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการแปรรูปมันสำปะหลังในรูปแบบต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นโรงงานแป้งมัน โรงงานแป้งแปรรูป
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการตั้งศูนย์กระจายสินค้าของมันสำปะหลัง เพื่อพัฒนาศักยภาพของการผลิต การจัดเก็บ และการกระจายสินค้าประเภทมันสำปะหลัง เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบการกระจายสินค้าประเภทมันสำปะหลังที่มีมาตรฐานสามารถครอบคลุมทั่วโลก และสามารถครองตลาดมันสำปะหลังของโลกสืบต่อไปในอนาคต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1
โดยมีพื้นที่ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน คือพม่าลาวเวียดนามกัมพูชาและมาเลเซียอีกทั้งประเทศไทยยังมีพื้นที่ที่มีทางออกสู่ทะเล ทางอากาศและทางน้ำ
(ระเบียงเศรษฐกิจ) เส้นทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ระเบียงเศรษฐกิจ (NSEC) R3E หรือ
มีระยะทางประมาณ 1,800 กิโลเมตรโดยผาน 3 ประเทศคือจีนตอนใต (700 กิโลเมตร) สปป. ลาว (250 กิโลเมตร) และไทย (850 กิโลเมตร) และขณะนี้เสนทาง R3E
จังหวัดที่มีเส้นทาง R3A ผ่านคือเชียงรายตากนครสวรรค์กรุงเทพประจวบคีรีขันธ์ชุมพร สุราษฏร์ธานีอ . หาดใหญ่สงขลาและนราธิวาสเส้นทาง R3E 48 ชั่วโมงเหลือเพียง 20 ชั่วโมงทั้ง 3 (กรมเจรจาการคาระห วางประเทศ 2552) เนื่องจากเส้นทาง R2A ให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ R3A
คือเป็นแหล่งในการรวบรวมแบ่งบรรจุ คัดเลือกให้เหมาะสม , การจัดเก็บสินค้า (Storage) และบรรจุภัณฑ์ (บรรจุภัณฑ์) รวมทั้งการจัดการประเภทของการขนส่ง (โหมดการขนส่ง) โดยมีหน้าที่หลักคือการวางแผนการ ส่งมอบสินค้า (ส่งโหลด Planning)
ดังนั้น เช่นค่าขนส่งค่าแรงงานค่าสาธารณูปโภค
(R2) นั้น อาทิเช่นผลไม้ข้าวกาแฟยางพารามัน สำปะหลังและก๊าซธรรมชาติ
5 รองจากข้าวสาลีข้าวโพดข้าวและมันฝรั่ง โดยเฉพาะประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกาและ ทวีปอเมริกาใต้ส่วนในทวีปเอเชียประเทศอินโดนีเซียและอินเดีย
เป็นพืชที่ปลูกง่ายทนทานต่อสภาพ ดินฟ้าอากาศที่แปรปรวนสามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
เช่นมันเส้นมันอัดเม็ดแป้งมันสำปะหลัง ทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งแปรรูปเป็นต้น โดยมีส่วนแบ่งตลาดสูงถึงร้อย ละ 70 ส่วนในตลาดอาเซียนนั้นประเทศไทยสามารถครองอันดับ 1 ในการส่งออกมาเป็นเวลานาน กว่า 10 ปีรองลงมาคือกัมพูชา
(AEC) โดยครองส่วนแบ่งตลาดมากกว่าประเทศคู่แข่ง อย่างเวียดนามและอินโดนีเซียค่อนข้างมาก ๆ แป้งแปรรูปโรงงานความ
ดังนั้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของการผลิตการจัด เก็บ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: