กับดักรายได้ปานกลาง1.อะไรคือกับดักรายได้ปานกลาง?คำว่า “กับดักรายได้ปาน การแปล - กับดักรายได้ปานกลาง1.อะไรคือกับดักรายได้ปานกลาง?คำว่า “กับดักรายได้ปาน ไทย วิธีการพูด

กับดักรายได้ปานกลาง1.อะไรคือกับดักร

กับดักรายได้ปานกลาง

1.อะไรคือกับดักรายได้ปานกลาง?

คำว่า “กับดักรายได้ปานกลาง” (middle-income trap) เริ่มปรากฏในงานวิจัยของธนาคารโลกในปี 2007 หลังจากนั้นมีบทความและการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏออกมาจำนวนมาก ในช่วงเวลา 3-4 ปี มานี้ จากการชะลอตัวของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการหดตัวของการส่งออก เรื่องกับดักรายได้ปานกลางนี้มีการพูดถึงในประเทศไทยมากขึ้น แท้จริงแล้วประเทศไทยได้ติดอยู่ในกับดักนี้เป็นเวลาหลายปีแล้ว ตามการจำแนกรายได้ของธนาคารโลก ได้มีประเทศไทยได้เข้าสู่สถานะมีระดับรายได้ปานกลาง (middle-income country) ตั้งแต่ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 หลายปีแล้ว ในปี 2011 ธนาคารโลกประกาศว่าประเทศไทยได้เลื่อนฐานะจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับต่ำ (lower- middle-income country) สู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูง (upper- middle-income country) แล้ว แต่จากการชะลอตัวลงอย่างมากของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยคงต้องอยู่ในสภาพประเทศที่รายได้ปานกลางต่อไปอีกหลายปี และมีผู้เห็นว่าประเทศของเรากำลังติดอยู่กับประเทศรายได้ปานกลางเช่นเดียวกับอีกหลายประเทศทั่วโลก

“กับดักรายได้ปานกลาง” คือ สภาพของประเทศสามารถพัฒนาจากประเทศยากจนที่มีรายได้ต่ำเข้าสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง แต่ก็ต้อง “ติดหล่ม” อยู่ในสภาพรายได้ปานกลาง โดยไม่มีแนวโน้มที่จะก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง

จากการศึกษาที่ผ่านมา ประเทศต่างๆในโลกมีเพียงไม่กี่ประเทศที่สามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ที่มีการกล่าวถึงกันมากก็อย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีและไต้หวัน ส่วนประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางนั้นมีจำนวนมาก เช่น ประเทศต่างๆในอเมริกาใต้และประเทศส่วนใหญ่ในเอเชีย อย่างไรก็ตามหากไม่ได้ระบุระยะเวลาที่ชัดเจนแล้ว ประเทศที่มีรายได้ต่ำทุกประเทศจะสามารถเลื่อนฐานะไปสู่ประเทศรายได้ปานกลางได้ ตราบใดที่มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าศูนย์ แต่ประเทศที่มีการเจริญเติบโตช้า อาจต้องใช้เวลานานหลายทศวรรษจึงสามารถก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้สูงได้ จึงมีผู้กล่าวว่า การที่ประเทศหนึ่งจะถูกจัดว่าประสบผลสำเร็จในการก้าวจากประเทศรายได้ระดับปานกลางสู่ประเทศรายได้สูงนั้น จะต้องเป็นประเทศที่สามารถเขยิบขึ้นจากรายได้ปานกลางไปสู่ระดับรายได้สูงได้ในระยะเวลาที่ไม่ยาวนานนัก เช่น จากประเทศรายได้ปานกลางระดับสูงสู่ประเทศมีรายได้สูงอาจใช้เวลาเพียง 10 – 15 ปี ส่วนประเทศอื่นๆที่มีการเจริญเติบโตแต่ไม่สามารถเขยิบขึ้นจากรายได้ปานกลางเป็นรายได้สูงเป็นเวลานานหลายทศวรรษนั้น ถือได้ว่าเป็นประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลาง

ในความเป็นจริงประเทศต่างๆในโลกไม่ว่าจะมีระดับรายได้มากน้อยเพียงใด ล้วนมีโอกาสติดหล่มหรือติดกับดักการเจริญเติบโตช้าหรือถึงกับมีการถดถอยในการพัฒนาเศรษฐกิจ เมื่อหลายสิบปีก่อนนักเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาการพัฒนาเศรษฐกิจมีการกล่าวถึง “วงจรชั่วร้ายของความยากจน” (Vicious cycle of poverty) ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศยากจนหลายประเทศ คือ ตกอยู่ในวงจรความยากจนโดยไม่สามารถหลุดพ้นได้ เนื่องจากสาเหตุหลายประการ คือ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำ แต่กลับมีประชากรเพิ่มขึ้นในอัตราสูง ทำให้รายได้เฉลี่ยของประชาชนตกต่ำ มีการบริโภค การออม การลงทุนในระดับต่ำ เมื่อเป็นเช่นนี้เศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้ก็ไม่มีทางที่จะหลุดพ้นจากความยากจนได้ นอกจากประเทศที่มีรายได้ต่ำแล้ว ถ้าหันมาพิจารณาประเทศที่มีรายได้สูง จะพบว่าประเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจต่ำและบางประเทศถึงกับมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ติดลบเป็นเวลาต่อเนื่องกันหลายปี จะเห็นได้ว่าประเทศที่มีรายได้สูงก็มี “กับดัก” การชะงักงันของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเช่นกัน ดังนั้น จึงไม่เป็นเพียงประเทศที่มีระดับรายได้ปานกลางเท่านั้นที่มี “กับดัก” ประเทศต่างๆในทุกระดับรายได้ล้วนมีปัญหาการชะงักงันหรือการถดถอยทางเศรษฐกิจได้ทั้งนั้น

อย่างไรก็ตามประเทศที่เป็นประเทศรายได้ระดับปานกลางอยู่แล้ว จำเป็นต้องมีการพิจารณาว่า เหตุใดประเทศของตนจึงติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลาง และเมื่อไรจึงจะหลุดพ้นกับดักนี้และก้าวมาเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีรายได้สูงสักที การศึกษาเรื่องกับดักรายได้ปานกลาง จึงไม่ใช่เรื่องที่ไม่มีสาระและสมควรแก่การให้ความสนใจ

ปัจจัยที่ทำให้ติดกับดักรายได้ปานกลาง
ทำไมประเทศที่สามารถพัฒนาขึ้นมาจากประเทศยากจนสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง จึงไม่สามารถพัฒนาต่อไปเป็นประเทศที่มีรายได้สูงได้ เรื่องนี้มีการศึกษาวิเคราะห์กันมาเป็นเวลานานและมีผลงานทางวิชาการผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก

การที่ประเทศต้องติดกับดักรายได้ปานกลาง สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากการสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศที่ต้องเพิ่งพาการส่งออกในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่สามารถขยายการส่งออกได้มาก หรือมีการหดตัวในปริมาณการส่งออก เนื่องจากสินค้าที่ผลิตได้ไม่สามารถแข่งขันกับสินค้าของประเทศอื่นในตลาดโลก การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต้องประสบกับข้อจำกัดหลายประการ การผลิตในภาคเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร และบริการมีคุณภาพต่ำ เทคโนโลยีการผลิตไม่เพียงแต่มีความล้าหลังกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว ยังต้องเผชิญกับการแข่งขันกับประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าซึ่งมีการไล่ตามได้ทันทางด้านเทคโนโลยีและคุณภาพของสินค้า ทั้งยังมีค่าจ้างแรงงานและต้นทุนทางด้านอื่นๆที่ต่ำกว่า ประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางเหล่านี้การจะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีระดับที่สูงต้องประสบกับอุปสรรคนานาประการ ทั้งข้อจำกัดทางด้านเทคโนโลยี คุณภาพของกกำลังคน การขาดแคลนสิ่งสาธารณูปโภคและการไร้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ในขณะที่ต้นทุนการผลิต เช่น ค้าจ้างแรงงานและต้นทุนอื่นเขยิบตัวสูงขึ้น แต่ประสิทธิภาพการผลิตไม่ได้เพิ่มขึ้นตามอัตราเพิ่มของต้นทุน

ปัญหาที่ทำให้ติดกับดักรายได้ปานกลางของแต่ละประเทศอาจมีความแตกต่างกันบ้าง แต่จากประสบการณ์ของประเทศต่างๆที่ต้องติดกับดักรายได้ปานกลาง ปัจจัยสำคัญสรุปได้ ดังนี้

ละเลยการพั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กับดักรายได้ปานกลาง1.อะไรคือกับดักรายได้ปานกลางคำว่า "กับดักรายได้ปานกลาง" (มีกับดัก) เริ่มปรากฏในงานวิจัยของธนาคารโลกในปี 2007 หลังจากนั้นมีบทความและการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏออกมาจำนวนมากในช่วงเวลา 3-4 ปีมานี้จากการชะลอตัวของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการหดตัวของการส่งออกเรื่องกับดักรายได้ปานกลางนี้มีการพูดถึงในประเทศไทยมากขึ้นแท้จริงแล้วประเทศไทยได้ติดอยู่ในกับดักนี้เป็นเวลาหลายปีแล้วตามการจำแนกรายได้ของธนาคารโลกได้มีประเทศไทยได้เข้าสู่สถานะมีระดับรายได้ปานกลาง (ประเทศที่มีรายได้) ตั้งแต่ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 หลายปีแล้วในปี 2011 และมีผู้เห็นว่าประเทศของเรากำลังติดอยู่กับประเทศรายได้ปานกลางเช่นเดียวกับอีกหลายประเทศทั่วโลกประเทศไทยคงต้องอยู่ในสภาพประเทศที่รายได้ปานกลางต่อไปอีกหลายปีแต่จากการชะลอตัวลงอย่างมากของการขยายตัวทางเศรษฐกิจธนาคารโลกประกาศว่าประเทศไทยได้เลื่อนฐานะจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับต่ำ (ล่างปานกลางรายได้ประเทศ) สู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูง (บนรายได้ระดับปานกลางประเทศ) แล้ว"กับดักรายได้ปานกลาง" คือสภาพของประเทศสามารถพัฒนาจากประเทศยากจนที่มีรายได้ต่ำเข้าสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางแต่ก็ต้อง "ติดหล่ม" อยู่ในสภาพรายได้ปานกลางโดยไม่มีแนวโน้มที่จะก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงจากการศึกษาที่ผ่านมา ประเทศต่างๆในโลกมีเพียงไม่กี่ประเทศที่สามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ที่มีการกล่าวถึงกันมากก็อย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลีและไต้หวัน ส่วนประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางนั้นมีจำนวนมาก เช่น ประเทศต่างๆในอเมริกาใต้และประเทศส่วนใหญ่ในเอเชีย อย่างไรก็ตามหากไม่ได้ระบุระยะเวลาที่ชัดเจนแล้ว ประเทศที่มีรายได้ต่ำทุกประเทศจะสามารถเลื่อนฐานะไปสู่ประเทศรายได้ปานกลางได้ ตราบใดที่มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าศูนย์ แต่ประเทศที่มีการเจริญเติบโตช้า อาจต้องใช้เวลานานหลายทศวรรษจึงสามารถก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้สูงได้ จึงมีผู้กล่าวว่า การที่ประเทศหนึ่งจะถูกจัดว่าประสบผลสำเร็จในการก้าวจากประเทศรายได้ระดับปานกลางสู่ประเทศรายได้สูงนั้น จะต้องเป็นประเทศที่สามารถเขยิบขึ้นจากรายได้ปานกลางไปสู่ระดับรายได้สูงได้ในระยะเวลาที่ไม่ยาวนานนัก เช่น จากประเทศรายได้ปานกลางระดับสูงสู่ประเทศมีรายได้สูงอาจใช้เวลาเพียง 10 – 15 ปี ส่วนประเทศอื่นๆที่มีการเจริญเติบโตแต่ไม่สามารถเขยิบขึ้นจากรายได้ปานกลางเป็นรายได้สูงเป็นเวลานานหลายทศวรรษนั้น ถือได้ว่าเป็นประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางในความเป็นจริงประเทศต่างๆในโลกไม่ว่าจะมีระดับรายได้มากน้อยเพียงใด ล้วนมีโอกาสติดหล่มหรือติดกับดักการเจริญเติบโตช้าหรือถึงกับมีการถดถอยในการพัฒนาเศรษฐกิจ เมื่อหลายสิบปีก่อนนักเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาการพัฒนาเศรษฐกิจมีการกล่าวถึง “วงจรชั่วร้ายของความยากจน” (Vicious cycle of poverty) ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศยากจนหลายประเทศ คือ ตกอยู่ในวงจรความยากจนโดยไม่สามารถหลุดพ้นได้ เนื่องจากสาเหตุหลายประการ คือ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำ แต่กลับมีประชากรเพิ่มขึ้นในอัตราสูง ทำให้รายได้เฉลี่ยของประชาชนตกต่ำ มีการบริโภค การออม การลงทุนในระดับต่ำ เมื่อเป็นเช่นนี้เศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้ก็ไม่มีทางที่จะหลุดพ้นจากความยากจนได้ นอกจากประเทศที่มีรายได้ต่ำแล้ว ถ้าหันมาพิจารณาประเทศที่มีรายได้สูง จะพบว่าประเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจต่ำและบางประเทศถึงกับมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ติดลบเป็นเวลาต่อเนื่องกันหลายปี จะเห็นได้ว่าประเทศที่มีรายได้สูงก็มี “กับดัก” การชะงักงันของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเช่นกัน ดังนั้น จึงไม่เป็นเพียงประเทศที่มีระดับรายได้ปานกลางเท่านั้นที่มี “กับดัก” ประเทศต่างๆในทุกระดับรายได้ล้วนมีปัญหาการชะงักงันหรือการถดถอยทางเศรษฐกิจได้ทั้งนั้นอย่างไรก็ตามประเทศที่เป็นประเทศรายได้ระดับปานกลางอยู่แล้วจำเป็นต้องมีการพิจารณาว่าเหตุใดประเทศของตนจึงติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางและเมื่อไรจึงจะหลุดพ้นกับดักนี้และก้าวมาเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีรายได้สูงสักทีการศึกษาเรื่องกับดักรายได้ปานกลางจึงไม่ใช่เรื่องที่ไม่มีสาระและสมควรแก่การให้ความสนใจปัจจัยที่ทำให้ติดกับดักรายได้ปานกลางทำไมประเทศที่สามารถพัฒนาขึ้นมาจากประเทศยากจนสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางจึงไม่สามารถพัฒนาต่อไปเป็นประเทศที่มีรายได้สูงได้เรื่องนี้มีการศึกษาวิเคราะห์กันมาเป็นเวลานานและมีผลงานทางวิชาการผลิตออกมาเป็นจำนวนมากการที่ประเทศต้องติดกับดักรายได้ปานกลาง สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากการสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศที่ต้องเพิ่งพาการส่งออกในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่สามารถขยายการส่งออกได้มาก หรือมีการหดตัวในปริมาณการส่งออก เนื่องจากสินค้าที่ผลิตได้ไม่สามารถแข่งขันกับสินค้าของประเทศอื่นในตลาดโลก การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต้องประสบกับข้อจำกัดหลายประการ การผลิตในภาคเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร และบริการมีคุณภาพต่ำ เทคโนโลยีการผลิตไม่เพียงแต่มีความล้าหลังกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว ยังต้องเผชิญกับการแข่งขันกับประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าซึ่งมีการไล่ตามได้ทันทางด้านเทคโนโลยีและคุณภาพของสินค้า ทั้งยังมีค่าจ้างแรงงานและต้นทุนทางด้านอื่นๆที่ต่ำกว่า ประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางเหล่านี้การจะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีระดับที่สูงต้องประสบกับอุปสรรคนานาประการ ทั้งข้อจำกัดทางด้านเทคโนโลยี คุณภาพของกกำลังคน การขาดแคลนสิ่งสาธารณูปโภคและการไร้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ในขณะที่ต้นทุนการผลิต เช่น ค้าจ้างแรงงานและต้นทุนอื่นเขยิบตัวสูงขึ้น แต่ประสิทธิภาพการผลิตไม่ได้เพิ่มขึ้นตามอัตราเพิ่มของต้นทุนปัญหาที่ทำให้ติดกับดักรายได้ปานกลางของแต่ละประเทศอาจมีความแตกต่างกันบ้างแต่จากประสบการณ์ของประเทศต่างๆที่ต้องติดกับดักรายได้ปานกลางปัจจัยสำคัญสรุปได้ดังนี้ละเลยการพั
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
"กับดักรายได้ปานกลาง" (กับดักรายได้ปานกลาง) 2007 ในช่วงเวลา 3-4 ปีมานี้ ตามการจำแนกรายได้ของธนาคารโลก (รายได้ปานกลางประเทศ) ตั้งแต่ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 หลายปีแล้วในปี 2011 (ล่างประเทศรายได้ปานกลาง) (พิมพ์ใหญ่ของประเทศมีรายได้ปานกลาง) แล้ว คือ แต่ก็ต้อง "ติดหล่ม" อยู่ในสภาพรายได้ปานกลาง ที่มีการกล่าวถึงกันมากก็ อย่างเช่นญี่ปุ่นเกาหลีและไต้หวัน เช่น แต่ประเทศที่มีการเจริญเติบโตช้า จึงมีผู้กล่าวว่า เช่น 10-15 ปี "วงจรชั่วร้ายของความยากจน" (วงจรของความยากจน) คือ เนื่องจากสาเหตุหลายประการคือมีอัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำ ทำให้รายได้เฉลี่ยของประชาชนตกต่ำมี การบริโภคการออมการลงทุนในระดับต่ำ นอกจากประเทศที่มีรายได้ต่ำแล้ว "กับดัก" ดังนั้น "กับดัก" จำเป็นต้องมีการพิจารณาว่า การศึกษาเรื่องกับดักรายได้ปานกลาง ไม่สามารถขยายการส่งออกได้มาก หรือมีการหดตัวในปริมาณการส่งออก การผลิตในภาคเศรษฐกิจต่างๆทั้งสินค้า อุตสาหกรรมสินค้าเกษตรและบริการมีคุณภาพต่ำ ทั้งข้อ จำกัด ทางด้านเทคโนโลยีคุณภาพของ กกำลังคน สังคมและการเมืองในขณะที่ต้นทุนการ ผลิตเช่น สำคัญสรุปปัจจัยได้ดังนี้ละเลยหัวเรื่อง: การพั




















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กับดักรายได้ปานกลาง1 . อะไรคือกับดักรายได้ปานกลาง ?คำว่า " กับดักรายได้ปานกลาง " กับดักรายได้ปานกลาง ) เริ่มปรากฏในงานวิจัยของธนาคารโลกในปี 2007 หลังจากนั้นมีบทความและการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏออกมาจำนวนมากในช่วงเวลา 3-4 มานี้จากการชะลอตัวของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการหดตัวของการส่งออกเรื่องกับดักรายได้ปานกลางนี้ . มีการพูดถึงในประเทศไทยมากขึ้นแท้จริงแล้วประเทศไทยได้ติดอยู่ในกับดักนี้เป็นเวลาหลายปีแล้วตามการจำแนกรายได้ของธนาคารโลกได้มีประเทศไทยได้เข้าสู่สถานะมีระดับรายได้ปานกลาง ( รายได้ปานกลางประเทศ ) ตั้งแต่ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 หลายปีแล้วสามารถธนาคารโลกประกาศว่าประเทศไทยไ 2011 ด้เลื่อนฐานะจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับต่ำ ( รายได้ต่ำกว่าประเทศ ) สู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูง ( Upper - ประเทศรายได้ปานกลาง ) แล้วแต่จากการชะลอตัวลงอย่างมากของการขยายตัวทางเศรษฐกิจประเทศไทยคงต้องอยู่ในสภาพประเทศที่รายได้ปานกลางต่อไปอีกหลายปีและมีผู้เห็นว่าประเทศของเรากำล ังติดอยู่กับประเทศรายได้ปานกลางเช่นเดียวกับอีกหลายประเทศทั่วโลก" กับดักรายได้ปานกลาง " ความสภาพของประเทศสามารถพัฒนาจากประเทศยากจนที่มีรายได้ต่ำเข้าสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางแต่ก็ต้อง " ติดหล่ม " อยู่ในสภาพรายได้ปานกลางโดยไม่มีแนวโน้มที่จะก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงจากการศึกษาที่ผ่านมาประเทศต่างๆในโลกมีเพียงไม่กี่ประเทศที่สามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางที่มีการกล่าวถึงกันมากก็อย่างเช่นญี่ปุ่นเกาหลีและไต้หวันส่วนประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางนั้นมีจำนวนมากเช่นประเทศต่างๆในอเมริกาใต้และประเทศส่วนใหญ ่ในเอเชียอย่างไรก็ตามหากไม่ได้ระบุระยะเวลาที่ชัดเจนแล้วประเทศที่มีรายได้ต่ำทุกประเทศจะสามารถเลื่อนฐานะไปสู่ประเทศรายได้ปานกลางได้ตราบใดที่มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าศูนย์แต่ประเทศที่มีการเจริญเติบโตช้าอาจต้องใช้เวลานานหลายทศวรรษจึงสามารถก้า วสู่ประเทศที่มีรายได้สูงได้จึงมีผู้กล่าวว่าการที่ประเทศหนึ่งจะถูกจัดว่าประสบผลสำเร็จในการก้าวจากประเทศรายได
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: