ณ ปัจจุบันนี้ ต้องยอมรับว่า นกกรงหัวจุก มีกลุ่มผู้นิยม เพิ่มมากขึ้น เป การแปล - ณ ปัจจุบันนี้ ต้องยอมรับว่า นกกรงหัวจุก มีกลุ่มผู้นิยม เพิ่มมากขึ้น เป ไทย วิธีการพูด

ณ ปัจจุบันนี้ ต้องยอมรับว่า นกกรงหั

ณ ปัจจุบันนี้ ต้องยอมรับว่า นกกรงหัวจุก มีกลุ่มผู้นิยม เพิ่มมากขึ้น เป็นจำนวนมาก ทำให้ ณ เวลานี้ ตลาดนกกรงหัวจุก มีมูลค่าเม็ดเงิน หลายสิบล้านบาท ยิ่งใครมีนกสวยและเก่ง แข่งชนะเลิศ เท่ากับมีเพชรเม็ดงาม เจิดจรัสแสงอยู่ในมือ ย่อมเป็นที่หมายปอง ของนักเลงนกและเซียนนก ด้วยเหตุนี้เอง ทำให้ นกกรงหัวจุก กลายเป็นแหล่งทำรายได้ และ หลายต่อหลายคน ต่างก็สนใจ ที่จะเข้ามาเล่น มาเลี้ยง และ หลงเสน่ห์ เสียงทอง อันไพเราะ และ สีสัน ที่สวยงาม ของ นกกรงหัวจุก นั้นเอง

ตามประวัติแล้ว นกกรงหัวจุก มีถิ่นอาศัย อยู่ในประเทศเขตร้อนชื้นสูง มักพบได้ตามประเทศในโซนเอเซีย คือ ประเทศอินเดียตอนใต้ ประเทศมาเลเซีย ประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศลาวตอนใต้ เขตติดกับไทย แถบจังหวัดเลย และจังหวัดหนองคาย ประเทศกัมพูชา และประเทศไทย สำหรับประเทศไทย มักพบนกชนิดนี้ ได้ทุกภาค ตั้งแต่ภาคเหนือ จนถึง ภาคใต้

นกกรงหัวจุก นี้จะเป็นนกที่มีชื่อเสียงดี ในการแข่งขัน การประกวด ประชันเสียง กว่านกอื่นๆ เนื่องจากเป็นนกที่มีเสียงอันไพเราะ และมีเพลงเสียงร้อง ที่หลากหลาย เสียงเพลง กว่านกอื่นๆ แต่ทั้งนี้ ก็ขึ้นอยู่กับการเลี้ยง ว่าผู้เลี้ยงจะดูแล เอาใจใส่ นกกรงหัวจุก ได้ดีมากน้อย เพียงใด หรือ ที่เรียกว่า มือน้ำเลี้ยงนั้นเอง

นกกรงหัวจุก ที่นำมาแข่งขันประชันเสียง กันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา และมีหนังสือบางเล่ม ได้เขียนเอาไว้ว่า ชนชาติแรก ที่นำนกกรงหัวจุก มาเลี้ยง คือ ชาวจีน เมื่อประมาณ พ.ศ.2410 คนจีน ได้นำ นกกรงหัวจุก มาเลี้ยงแทน นกโรบิ้น ที่คนจีนส่วนใหญ่ นิยมนำมาใส่กรง พาเดินไปตามถนน หรือ นั่งร้านกาแฟ หรือ ไปหาเพื่อนๆ ที่รู้ใจ และเลี้ยงนกเหมือนกัน และ เจ้านกโรบิ้น มักจะเป็นนกที่ตกใจง่าย และ ตื่นคน บางครั้ง ตกใจมาก จนถึงขั้นช๊อคตายคากรง ดังนั้น จึงเป็นเหตุให้ ชาวจีน หันมาเลี้ยงนกปรอทหัวจุก หรือ นกกรงหัวจุก


นกปรอทหัวจุก นี้ก็เป็นนกที่มีความสวยงามด้านสีสัน และ มีเสียงร้องที่ไพเราะ และ เป็นนกที่มีลีลาการร้อง หลากหลาย กว่านกชนิดอื่นๆ จนเป็นเหตุให้นกปรอทหัวจุก ได้รับความนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย

นกกรงหัวจุก มีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น ในทวีปเอเซีย พบได้ในประเทศจีน ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศเวียดนาม ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว เป็นส่วนใหญ่ และ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาค ของประเทศไทย

นกกรงหัวจุก เป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน โดยได้รับอิทธิพล มาจากประเทศเพื่อนบ้าน อย่างประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย นั่นคือ การแข่งขันประชันเสียงเพลง ที่มีลีลาการร้อง ของสำนวนเสียง ในนกแต่ละตัว ว่าใครจะเหนือกว่ากัน แต่ในสมัยก่อน ของภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดนครศรีธรรมราช นิยมนำ นกกรงหัวจุก มาชนกัน หรือ ตีกัน เหมือนกับการชนไก่ คือ เอานกมาเปรียบขนาด ให้ใกล้เคียงกัน แล้วจับใส่กรงกลาง ที่มีขนาดใหญ่ ปล่อยให้นกทั้งสองตัว ไล่จีกตีกัน ภายในกรง จนกว่าจะรู้แพ้ รู้ชนะ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะว่า นกกรงหัวจุก มีนิสัยดุร้าย และชอบไล่จิก ตีกัน เป็นไปตามธรรมชาติอยู่แล้ว

เมื่อมีการนำ นกกรงหัวจุก มาเล่นนี้ จึงเกิดการพนันขันต่อในเวลาต่อมา บางครั้ง ก็มีการนำนก ไปแข่งกับประเทศเพื่อนบ้าน อย่างเช่น มาเำลเซีย เป็นต้น การแข่งขันนกกรงหัวจุก ได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปี พ.ศ.2515 เพราะว่าชาวจังหวัดสงขลา มีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนจากการตีกัน มาเป็นแบบแข่งขัน ประชันเสียง โดยเอาแบบมาจาก การแข่งขันของ นกเขาชวา คือ นกป่า ที่ต่อมาได้ นำมาเลี้ยงและฝึกให้เกิดความเชื่อง กับคนเลี้ยง หรือ เชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของ พร้อมกับฝึกให้นก มีความสามารถในการร้อง ในลีลาต่างๆ ตามแต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้ และผู้เล่น นกกรงหัวจุก ก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่น ที่นำนกมาตีกัน มาเป็นอย่างเดียวกันกับ นกเขาชวา คือ การเล่นฟังเสียง อันไพเราะของนก จากนั้น การแข่งขันประชันเสียง ของ นกกรงหัวจุก ก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขัน ขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ.2519 ที่สนามบริเวณ หลังสถานีรถไฟ เมืองหาดใหญ่ จังหวัดดสงขลา ซึ่งในการจัดครั้งนั้น ถือว่าเป็นรายกา่รใหญ่ที่สุดในยุคนั้น และได้ยกเลิก การแข่งขัน นกกรงหัวจุก ในแบบตีกัน ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2520 ทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการรวมกลุ่ม ผู้เลี้ยง นกกรงหัวจุก โดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรม ซึ่งทำให้ทุกวันนี้ มีชมรมต่างๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย

กรุงเทพมหานคร ได้มีการเล่นนกกรงหัวจุก เมื่อประมาณ พ.ศ.2524 โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้ ได้นำเอากีฬาชนิดนี้ เข้ามาเผยแพร่ ให้เป็นที่รู้จัก และได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นเป็นครั้งแรก ที่ตลาดนัดสวนจตุจักร และนับแต่นั้นมา กระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียง ของ นกกรงหัวจุก ก็ได้รับความนิยม สืบมาจนถึงปัจจุบัน

เมื่อเริ่มมีการละเล่น นกกรงหัวจุก กันมากขึ้นในเขตภาคกลาง ก็มีการจัดตั้งเป็นชมรมหลายชมรมด้วยกัน ตั้งแต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดนครปฐม กรุงเทพฯ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดสมุทรปราการ เป็นต้น ภาคอีสานนั้น ยังไม่มีปรากฏ ว่ามีการละเล่น นกกรงหัวจุก อย่างจริงจัง ส่วนภาคเหนือ ก็มีกลุ่มผู้เลี้ยง ผู้อนุรักษ์ และผู้ขาย นกกรงหัวจุก คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดเพชรบูรณ์ตอนบน เป็นต้น แต่ที่นิยมกันกว่าภาคอื่นๆ คือ ภาคใต้ เรียกว่า 14 จังหวัด มีการละเล่น นกกรงหัวจุก ทุกจังหวัด มีมากเป็นพิเศษคือ จังหวัดสงขลา อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงนกกรงหัวจุก มีประวัติ อันยาวนาน เป็นที่นิยมเลี้ยงกันในหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศไทย มีประวัติการเลี้ยงกันมานาน เรียกว่า ปัจจุบัน มีการเลี้ยงอย่างแพร่หลาย ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งเขตภาคกลาง และ ภาคใต้ จะมีการเลี้ยงค่อนข้างเป็นจำนวนมากกว่าทุกภาค นอกจากนั้น ในเขตภาคเหนือ ก็มีกลุ่ม หรือ ชมรม ผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก เพิ่มขึ้นเช่นกัน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ณปัจจุบันนี้ต้องยอมรับว่านกกรงหัวจุกมีกลุ่มผู้นิยมเพิ่มมากขึ้นเป็นจำนวนมากทำให้ณเวลานี้ตลาดนกกรงหัวจุกมีมูลค่าเม็ดเงินหลายสิบล้านบาทยิ่งใครมีนกสวยและเก่งแข่งชนะเลิศเท่ากับมีเพชรเม็ดงามเจิดจรัสแสงอยู่ในมือย่อมเป็นที่หมายปองของนักเลงนกและเซียนนกด้วยเหตุนี้เองทำให้นกกรงหัวจุกกลายเป็นแหล่งทำรายได้และหลายต่อหลายคนต่างก็สนใจที่จะเข้ามาเล่นมาเลี้ยงและหลงเสน่ห์เสียงทองอันไพเราะและสีสันที่สวยงามนั้น ๆ นกกรงหัวจุกนั้นเองตามประวัติแล้วนกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศเขตร้อนชื้นสูงมักพบได้ตามประเทศในโซนเอเซียคือประเทศอินเดียตอนใต้ประเทศมาเลเซียประเทศจีนประเทศอินโดนีเซียประเทศเวียดนามประเทศลาวตอนใต้เขตติดกับไทยแถบจังหวัดเลยและจังหวัดหนองคายประเทศกัมพูชาและประเทศไทยสำหรับประเทศไทยมักพบนกชนิดนี้ได้ทุกภาคตั้งแต่ภาคเหนือจนถึงภาคใต้นกกรงหัวจุกนี้จะเป็นนกที่มีชื่อเสียงดีในการแข่งขันการประกวดประชันเสียงกว่านกอื่น ๆ เนื่องจากเป็นนกที่มีเสียงอันไพเราะและมีเพลงเสียงร้องที่หลากหลายเสียงเพลงกว่านกอื่น ๆ แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงว่าผู้เลี้ยงจะดูแลเอาใจใส่นกกรงหัวจุกได้ดีมากน้อยเพียงใดหรือที่เรียกว่ามือน้ำเลี้ยงนั้นเองนกกรงหัวจุกที่นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้นมีตำนานเล่าสืบต่อกันมาและมีหนังสือบางเล่มได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกกรงหัวจุกมาเลี้ยงคือชาวจีนเมื่อประมาณ พ.ศ.2410 คนจีนได้นำนกกรงหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้นที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนนหรือนั่งร้านกาแฟหรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกันและเจ้านกโรบิ้นมักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและตื่นคนบางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช๊อคตายคากรงดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอทหัวจุกหรือนกกรงหัวจุกนกปรอทหัวจุกนี้ก็เป็นนกที่มีความสวยงามด้านสีสันและมีเสียงร้องที่ไพเราะและเป็นนกที่มีลีลาการร้องหลากหลายกว่านกชนิดอื่น ๆ จนเป็นเหตุให้นกปรอทหัวจุกได้รับความนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายนกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้นในทวีปเอเซียพบได้ในประเทศจีนประเทศมาเลเซียประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาประเทศลาวเป็นส่วนใหญ่และเราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทยนกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนานโดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศอินโดนีเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศมาเลเซียนั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากันแต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูลจังหวัดสงขลาจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราชนิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่คือเอานกมาเปรียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่ปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จีกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะสาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่านกกรงหัวจุกมีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกตีกันเป็นไปตามธรรมชาติอยู่แล้วเมื่อมีการนำนกกรงหัวจุกมาเล่นนี้จึงเกิดการพนันขันต่อในเวลาต่อมาบางครั้งก็มีการนำนกไปแข่งกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเช่นมาเำลเซียเป็นต้นการแข่งขันนกกรงหัวจุกได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปี พ.ศ.2515 เพราะว่าชาวจังหวัดสงขลามีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนจากการตีกันมาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียงโดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวาคือนกป่าที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยงและฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยงหรือเชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของพร้อมกับฝึกให้นกมีความสามารถในการร้องในลีลาต่าง ๆ ตามแต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้และผู้เล่นนกกรงหัวจุกก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่นที่นำนกมาตีกันมาเป็นอย่างเดียวกันกับนกเขาชวาคือการเล่นฟังเสียงอันไพเราะของนกจากนั้นการแข่งขันประชันเสียงนั้น ๆ นกกรงหัวจุกก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ.2519 ที่สนามบริเวณหลังสถานีรถไฟเมืองหาดใหญ่จังหวัดดสงขลาซึ่งในการจัดครั้งนั้นถือว่าเป็นรายกา่รใหญ่ที่สุดในยุคนั้นและได้ยกเลิกการแข่งขันนกกรงหัวจุกในแบบตีกันต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2520 ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้จัดให้มีการรวมกลุ่มผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุกโดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรมซึ่งทำให้ทุกวันนี้มีชมรมต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมายกรุงเทพมหานครได้มีการเล่นนกกรงหัวจุกเมื่อประมาณ พ.ศ.2524 โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้ได้นำเอากีฬาชนิดนี้เข้ามาเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักและได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นเป็นครั้งแรกที่ตลาดนัดสวนจตุจักรและนับแต่นั้นมากระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียงนั้น ๆ นกกรงหัวจุกก็ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบันเมื่อเริ่มมีการละเล่น นกกรงหัวจุก กันมากขึ้นในเขตภาคกลาง ก็มีการจัดตั้งเป็นชมรมหลายชมรมด้วยกัน ตั้งแต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดนครปฐม กรุงเทพฯ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดสมุทรปราการ เป็นต้น ภาคอีสานนั้น ยังไม่มีปรากฏ ว่ามีการละเล่น นกกรงหัวจุก อย่างจริงจัง ส่วนภาคเหนือ ก็มีกลุ่มผู้เลี้ยง ผู้อนุรักษ์ และผู้ขาย นกกรงหัวจุก คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดเพชรบูรณ์ตอนบน เป็นต้น แต่ที่นิยมกันกว่าภาคอื่นๆ คือ ภาคใต้ เรียกว่า 14 จังหวัด มีการละเล่น นกกรงหัวจุก ทุกจังหวัด มีมากเป็นพิเศษคือ จังหวัดสงขลา อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงนกกรงหัวจุก มีประวัติ อันยาวนาน เป็นที่นิยมเลี้ยงกันในหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศไทย มีประวัติการเลี้ยงกันมานาน เรียกว่า ปัจจุบัน มีการเลี้ยงอย่างแพร่หลาย ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งเขตภาคกลาง และ ภาคใต้ จะมีการเลี้ยงค่อนข้างเป็นจำนวนมากกว่าทุกภาค นอกจากนั้น ในเขตภาคเหนือ ก็มีกลุ่ม หรือ ชมรม ผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก เพิ่มขึ้นเช่นกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ณ ปัจจุบันนี้ต้องยอมรับว่านกกรงหัวจุกมีกลุ่มผู้นิยมเพิ่มมากขึ้นเป็นจำนวนมากทำให้ ณ เวลานี้ตลาดนกกรงหัวจุกมีมูลค่าเม็ดเงินหลายสิบล้านบาทยิ่งใครมีนกสวยและเก่งแข่งชนะเลิศเท่ากับมีเพชร เม็ดงามเจิดจรัสแสงอยู่ในมือย่อมเป็นที่หมายปองของนักเลงนกและเซียนนกด้วยเหตุนี้เองทำให้นกกรงหัวจุกกลายเป็นแหล่งทำรายได้และหลายต่อหลายคนต่างก็สนใจที่จะเข้ามาเล่นมาเลี้ยงและ หลงเสน่ห์เสียงทองอันไพเราะและสีสันที่สวยงามของนกกรงหัวจุกนั้นเองตามประวัติแล้วนกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศเขตร้อนชื้นสูงมักพบได้ตามประเทศในโซนเอเซียคือประเทศอินเดียตอนใต้ประเทศมาเลเซียประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซียประเทศเวียดนามประเทศลาวตอนใต้เขตติดกับไทยแถบจังหวัดเลยและจังหวัดหนองคายประเทศกัมพูชาและประเทศไทยสำหรับประเทศไทยมักพบนกชนิดนี้ได้ทุกภาคตั้งแต่ภาคเหนือจนถึงภาคใต้นกกรงหัวจุกนี้จะเป็นนกที่มีชื่อเสียงดี ในการแข่งขันการประกวดประชันเสียงกว่านกอื่น ๆ และมีเพลงเสียงร้องที่หลากหลายเสียงเพลงกว่านกอื่น ๆ แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงว่าผู้เลี้ยงจะดูแลเอาใจใส่นกกรงหัวจุกได้ดีมากน้อยเพียงใดหรือที่เรียกว่ามือน้ำเลี้ยงนั้นเองนกกรงหัวจุกที่ นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้นมีตำนานเล่าสืบต่อกันมาและมีหนังสือบางเล่มได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกกรงหัวจุกมาเลี้ยงคือชาวจีนเมื่อประมาณ พ.ศ. 2410 คนจีนได้นำนกกรง หัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้นที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนนหรือนั่งร้านกาแฟหรือไปหาเพื่อน ๆ ที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกันและเจ้านกโรบิ้นมักจะเป็นนก ที่ตกใจง่ายและตื่นคนบางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช๊อคตายคากรงดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอทหัวจุกหรือนกกรงหัวจุกนกปรอทหัวจุก และมีเสียงร้องที่ไพเราะและเป็นนกที่มีลีลาการร้องหลากหลายกว่านกชนิดอื่น ๆ จนเป็นเหตุให้นกปรอทหัวจุก ในทวีปเอเซียพบได้ในประเทศจีนประเทศมาเลเซียประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศเวียดนามประเทศลาวประเทศกัมพูชาเป็นส่วนใหญ่และเราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทยนกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนานโดย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศอินโดนีเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศมาเลเซียนั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูลจังหวัด สงขลาจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราชนิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันหรือตีกันเหมือนกับการชนไก่คือเอานกมาเปรียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่ปล่อยให้นก ทั้งสองตัวไล่จีกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะสาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่านกกรงหัวจุกมีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกตีกัน นกกรงหัวจุกมาเล่นนี้จึงเกิดการพนันขันต่อในเวลาต่อมาบางครั้งก็มีการนำนกไปแข่งกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเช่นมาเำลเซียเป็นต้นการแข่งขันนกกรงหัวจุกได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปีพ . ศ. 2515 เพราะว่าชาวจังหวัดสงขลา มาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียงโดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวาคือนกป่าที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยงและฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยงหรือเชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของพร้อมกับฝึกให้นกมี ความสามารถในการร้องในลีลาต่างๆตาม แต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้และผู้เล่นนกกรงหัวจุกก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่นที่นำนกมาตีกันมาเป็นอย่างเดียวกันกับนกเขาชวาคือการเล่นฟังเสียงอันไพเราะของนกจาก นั้นการแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2519 ที่สนามบริเวณหลังสถานีรถไฟเมืองหาดใหญ่จังหวัดดสงขลาซึ่งใน การจัดครั้งนั้น และได้ยกเลิกการแข่งขันนกกรงหัวจุกในแบบตีกันต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2520 ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้จัดให้มีการรวมกลุ่มผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุกโดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรมซึ่งทำให้ทุกวันนี้มีชมรมต่างๆเกิด ขึ้นอย่างมากมายกรุงเทพมหานครได้มีการเล่นนกกรงหัวจุกเมื่อประมาณ พ.ศ. 2524 โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้ได้นำเอากีฬาชนิดนี้เข้ามาเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จัก ที่ตลาดนัดสวนจตุจักรและนับ แต่นั้นมากระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็ได้รับความนิยม นกกรงหัวจุกกันมากขึ้นในเขตภาคกลาง ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดนครปฐมกรุงเทพฯจังหวัดนนทบุรีจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสมุทรปราการเป็นต้นภาคอีสานนั้นยังไม่มีปรากฏว่ามีการละเล่นนกกรงหัวจุกอย่างจริงจังส่วนภาคเหนือก็มีกลุ่มผู้เลี้ยงผู้อนุรักษ์ และผู้ขายนกกรงหัวจุกคือจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดเพชรบูรณ์ตอนบนเป็นต้น แต่ที่นิยมกันกว่าภาคอื่น ๆ คือภาคใต้เรียกว่า 14 จังหวัดมีการละเล่นนกกรงหัวจุกทุกจังหวัดมีมากเป็นพิเศษคือจังหวัดสงขลา อย่างไรก็ตามการเลี้ยงนกกรงหัวจุกมีประวัติอันยาวนานเป็นที่นิยมเลี้ยงกันในหลาย ๆ ประเทศโดยเฉพาะประเทศไทยมีประวัติการเลี้ยงกันมานานเรียกว่าปัจจุบันมีการเลี้ยงอย่างแพร่หลายทั่วทุกภาคของประเทศไทยซึ่งเขตภาคกลางและภาคใต้ นอกจากนั้นในเขตภาคเหนือก็มีกลุ่มหรือชมรมผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุกเพิ่มขึ้นเช่นกัน




















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ณปัจจุบันนี้ต้องยอมรับว่านกกรงหัวจุกมีกลุ่มผู้นิยมเพิ่มมากขึ้นเป็นจำนวนมากทำให้ณเวลานี้ตลาดนกกรงหัวจุกมีมูลค่าเม็ดเงินหลายสิบล้านบาทยิ่งใครมีนกสวยและเก่งแข่งชนะเลิศเท่ากับมีเพชรเม็ดงามย่อมเป็นที่หมายปองของนักเลงนกและเซียนนกด้วยเหตุนี้เองทำให้นกกรงหัวจุกกลายเป็นแหล่งทำรายได้และหลายต่อหลายคนต่างก็สนใจที่จะเข้ามาเล่นมาเลี้ยงและหลงเสน่ห์เสียงทองอันไพเราะและสีสันที่สวยงามของนั้นเอง

ตามประวัติแล้วนกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศเขตร้อนชื้นสูงมักพบได้ตามประเทศในโซนเอเซียความประเทศอินเดียตอนใต้ประเทศมาเลเซียประเทศจีนประเทศอินโดนีเซียประเทศเวียดนามประเทศลาวตอนใต้เขตติดกับไทยและจังหวัดหนองคายประเทศกัมพูชาและประเทศไทยสำหรับประเทศไทยมักพบนกชนิดนี้ได้ทุกภาคตั้งแต่ภาคเหนือจนถึงภาคใต้

นกกรงหัวจุกนี้จะเป็นนกที่มีชื่อเสียงดีในการแข่งขันการประกวดประชันเสียงกว่านกอื่นๆเนื่องจากเป็นนกที่มีเสียงอันไพเราะและมีเพลงเสียงร้องที่หลากหลายเสียงเพลงกว่านกอื่นๆแต่ทั้งนี้ว่าผู้เลี้ยงจะดูแลเอาใจใส่นกกรงหัวจุกได้ดีมากน้อยเพียงใดค็อคที่เรียกว่ามือน้ำเลี้ยงนั้นเอง

นกกรงหัวจุกที่นำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้นมีตำนานเล่าสืบต่อกันมาและมีหนังสือบางเล่มได้เขียนเอาไว้ว่าชนชาติแรกที่นำนกกรงหัวจุกมาเลี้ยงความชาวจีนเมื่อประมาณพ . ศ .2410 คนจีนได้นำนกกรงหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้นที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนนค็อคนั่งร้านกาแฟค็อคไปหาเพื่อนๆที่รู้ใจและเลี้ยงนกเหมือนกันและเจ้านกโรบิ้นมักจะเป็นนกที่ตกใจง่ายและบางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช๊อคตายคากรงดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนหันมาเลี้ยงนกปรอทหัวจุกค็อคนกกรงหัวจุก


นกปรอทหัวจุกนี้ก็เป็นนกที่มีความสวยงามด้านสีสันและมีเสียงร้องที่ไพเราะและเป็นนกที่มีลีลาการร้องหลากหลายกว่านกชนิดอื่นๆจนเป็นเหตุให้นกปรอทหัวจุกได้รับความนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย

นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้นในทวีปเอเซียพบได้ในประเทศจีนประเทศมาเลเซียประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาประเทศลาวเป็นส่วนใหญ่และของประเทศไทย

นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนานโดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศอินโดนีเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศมาเลเซียนั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียงว่าใครจะเหนือกว่ากันแต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูลจังหวัดสงขลาจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราชนิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกันค็อคตีกันความเอานกมาเปรียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่ปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จีกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะสาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่านกกรงหัวจุกมีนิสัยดุร้ายและชอบไล่จิกเป็นไปตามธรรมชาติอยู่แล้ว

เมื่อมีการนำนกกรงหัวจุกมาเล่นนี้จึงเกิดการพนันขันต่อในเวลาต่อมาบางครั้งก็มีการนำนกไปแข่งกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเช่นมาเำลเซียเป็นต้นการแข่งขันนกกรงหัวจุกได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปีพ . ศ .2515 เพราะว่าชาวจังหวัดสงขลามีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนจากการตีกันมาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียงโดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวาความนกป่าที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยงและฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยงค็อค
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: