แนวทางการป้องกันภัย3. แนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ แม้ การแปล - แนวทางการป้องกันภัย3. แนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ แม้ ไทย วิธีการพูด

แนวทางการป้องกันภัย3. แนวทางปฏิบัติ

แนวทางการป้องกันภัย
3. แนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ

แม้ว่าอุบัติภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามินั้นจะเป็นอุบัติภัยที่ไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้อย่างแน่นอนว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่เราก็สามารถป้องกันให้ตนเองมีความปลอดภัยจากปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ โดยมีแนวทางปฏิบัติโดยทั่วไปดังนี้



1. ข้อสังเกตก่อนการเกิดคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้



1) สังเกตดูปฏิกิริยาของสัตว์ ซึ่งจะตอบสนองต่อการเกิดแผ่นดินไหวได้เร็วกว่ามนุษย์ เช่น นกจะแตกตื่นบินไปมาโกลาหล งู หนู หรือสัตว์ที่อยู่ใต้ดินจะโผล่ออกมา สัตว์เลี้ยงพวกเป็ด ไก่ วัว ควายจะแตกตื่น สัตว์น้ำ เช่น ปลาจะกระโดดขึ้นสู่ผิวน้ำ สัตว์น้ำลึก เช่น ปลิงทะเลจะขึ้นมาอยู่บริเวณน้ำตื้น เหตุการณ์เหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนภัยที่อาจเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรขึ้นได้ จึงควรเตรียมตัวให้พร้อมอยู่เสมอ



2) เมื่อได้ยินข่าวการเกิดแผ่นดินไหวหรือเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรหรือทะเลที่มีขนาดความรุนแรงตั้งแต่ 6.75 ตามมาตราริกเตอร์หรือมากกว่านั้น ผู้ที่อาศัยอยู่ตามชายทะเลหรือประชาชนในแถบชายฝั่งทะเลต้องระลึกไว้เสมอว่าอาจจะเกิดคลื่นสึนามิตามมา



3) สังเกตบริเวณชายฝั่ง หากน้ำทะเลลดระดับลงมากหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ให้รีบอพยพคนในครอบครัว สัตว์เลี้ยง ให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมากๆ หรือควรขึ้นไปอยู่บนที่สูง



2. ข้อปฏิบัติขณะประสบภัยจากคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้



1) ในกรณีที่ได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคลื่นสึนามิ ให้ตั้งสติให้ดี และปฏิบัติตามขั้นตอนที่ได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้ำดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ เอกสารสำคัญ และเงินสดจำนวนหนึ่งติดตัวไปด้วย ให้อพยพขึ้นไปยังที่เนินสูงน้ำท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางที่ทางราชการกำหนดไว้ให้



2) เมื่อเห็นน้ำทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคลื่นเคลื่อนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคลื่นได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝั่งชายทะเลให้มากที่สุด



3) ผู้ที่เดินเรืออยู่ในทะเล เมื่อได้ยินการเตือนภัยห้ามนำเรือเข้ามาบริเวณชายฝั่งเป็นอันขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนำเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่ง เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่งมากๆ จะมีขนาดเล็ก



4) คลื่นสึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝั่งได้หลายระลอก แต่ละระลอกอาจทิ้งช่วงประมาณ 20 นาที ควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภัยแล้ว ผู้ที่อพยพขึ้นสู่ที่สูงจึงลงมาจากที่หลบภัยหรือเรือที่ลอยลำอยู่กลางทะเลจึงกลับเข้าฝั่ง



3. ข้อปฏิบัติภายหลังจากการเกิดคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้



1) สำรวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่ ถ้ามีควรรีบปฐมพยาบาลและนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน



2) หลังจากคลื่นสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝั่ง เมื่อเหตุการณ์จะสงบลง สิ่งที่ควรระวัง คือ การเกิดแผ่นดินไหวเบาๆ หรือที่เรียกว่า อาฟเตอร์ช็อก (after shock) ตามมา ซึ่งมักจะเกิดตามมาหลังจากเกิดแผ่นดินไหวประมาณครึ่งชั่วโมงถึง 2 วัน และหากเกิดอาฟเตอร์ช็อกขึ้นไม่ควรออกจากตัวอาคารบ้านเรือน ไม่ควรยืนใกล้หน้าต่าง ประตู เพราะกระจกอาจจะแตก ทำให้ได้รับอันตรายได้



3) สำรวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างต่างๆ แจ้งให้ทางราชการทราบ 4) คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพื้นที่ ควรหยิบเอกสารสำคัญและทรัพย์สินมีค่า แล้วออกจากบริเวณดังกล่าวไปอยู่ในเขตปลอดภัยต่อไป



4. แนวทางการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิการเกิดคลื่นสึนามิไม่ใช่เรื่องไกลตัวสำหรับประเทศไทยอีกต่อไป ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญและเฝ้าระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐบาลและภาคประชาชน



1. ภาครัฐบาล มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ 1) รัฐควรมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เแก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิและแผ่นดินไหว



2) รัฐควรศึกษาและพัฒนาการสร้างระบบเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านเครื่องมือ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถแจ้งข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ รวมไปถึงความร่วมมือกับนานาประเทศในเรื่องการพัฒนาระบบเตือนภัยคลื่นสินามิอีกด้วย



3) ควรมีการจัดวางผังเมืองให้เหมาะสม ชุมชนที่พักอาศัยบริเวณชายฝั่งควรก่อสร้างบ้านเรือนให้อยู่ห่างชายฝั่งในระยะที่ปลอดภัย กำหนดโครงสร้างอาคารที่เหมาะสมในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยจากคลื่นสึนามิ หรือกำหนดเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมถูกต้อง



4) ควรมีการวางแผนในการฝึกซ้อมเพื่อหนีภัยจากคลื่นสึนามิ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง



5) ควรมีการวางแผนล่วงหน้าหากเกิดเหตุการณ์จริง ต้องมีระบบการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดขั้นตอนการช่วยเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แนวทางการป้องกันภัย3. แนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ แม้ว่าอุบัติภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามินั้นจะเป็นอุบัติภัยที่ไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้อย่างแน่นอนว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่เราก็สามารถป้องกันให้ตนเองมีความปลอดภัยจากปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ โดยมีแนวทางปฏิบัติโดยทั่วไปดังนี้ 1. ข้อสังเกตก่อนการเกิดคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ 1) สังเกตดูปฏิกิริยาของสัตว์ ซึ่งจะตอบสนองต่อการเกิดแผ่นดินไหวได้เร็วกว่ามนุษย์ เช่น นกจะแตกตื่นบินไปมาโกลาหล งู หนู หรือสัตว์ที่อยู่ใต้ดินจะโผล่ออกมา สัตว์เลี้ยงพวกเป็ด ไก่ วัว ควายจะแตกตื่น สัตว์น้ำ เช่น ปลาจะกระโดดขึ้นสู่ผิวน้ำ สัตว์น้ำลึก เช่น ปลิงทะเลจะขึ้นมาอยู่บริเวณน้ำตื้น เหตุการณ์เหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนภัยที่อาจเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรขึ้นได้ จึงควรเตรียมตัวให้พร้อมอยู่เสมอ 2) เมื่อได้ยินข่าวการเกิดแผ่นดินไหวหรือเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรหรือทะเลที่มีขนาดความรุนแรงตั้งแต่ 6.75 ตามมาตราริกเตอร์หรือมากกว่านั้น ผู้ที่อาศัยอยู่ตามชายทะเลหรือประชาชนในแถบชายฝั่งทะเลต้องระลึกไว้เสมอว่าอาจจะเกิดคลื่นสึนามิตามมา 3) สังเกตบริเวณชายฝั่ง หากน้ำทะเลลดระดับลงมากหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ให้รีบอพยพคนในครอบครัว สัตว์เลี้ยง ให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมากๆ หรือควรขึ้นไปอยู่บนที่สูง 2. ข้อปฏิบัติขณะประสบภัยจากคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ 1) ในกรณีที่ได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคลื่นสึนามิ ให้ตั้งสติให้ดี และปฏิบัติตามขั้นตอนที่ได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้ำดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ เอกสารสำคัญ และเงินสดจำนวนหนึ่งติดตัวไปด้วย ให้อพยพขึ้นไปยังที่เนินสูงน้ำท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางที่ทางราชการกำหนดไว้ให้


2) เมื่อเห็นน้ำทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคลื่นเคลื่อนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคลื่นได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝั่งชายทะเลให้มากที่สุด



3) ผู้ที่เดินเรืออยู่ในทะเล เมื่อได้ยินการเตือนภัยห้ามนำเรือเข้ามาบริเวณชายฝั่งเป็นอันขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนำเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่ง เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่งมากๆ จะมีขนาดเล็ก



4) คลื่นสึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝั่งได้หลายระลอก แต่ละระลอกอาจทิ้งช่วงประมาณ 20 นาที ควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภัยแล้ว ผู้ที่อพยพขึ้นสู่ที่สูงจึงลงมาจากที่หลบภัยหรือเรือที่ลอยลำอยู่กลางทะเลจึงกลับเข้าฝั่ง



3. ข้อปฏิบัติภายหลังจากการเกิดคลื่นสึนามิ มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้



1) สำรวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่ ถ้ามีควรรีบปฐมพยาบาลและนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน



2) หลังจากคลื่นสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝั่ง เมื่อเหตุการณ์จะสงบลง สิ่งที่ควรระวัง คือ การเกิดแผ่นดินไหวเบาๆ หรือที่เรียกว่า อาฟเตอร์ช็อก (after shock) ตามมา ซึ่งมักจะเกิดตามมาหลังจากเกิดแผ่นดินไหวประมาณครึ่งชั่วโมงถึง 2 วัน และหากเกิดอาฟเตอร์ช็อกขึ้นไม่ควรออกจากตัวอาคารบ้านเรือน ไม่ควรยืนใกล้หน้าต่าง ประตู เพราะกระจกอาจจะแตก ทำให้ได้รับอันตรายได้



3) สำรวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างต่างๆ แจ้งให้ทางราชการทราบ 4) คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพื้นที่ ควรหยิบเอกสารสำคัญและทรัพย์สินมีค่า แล้วออกจากบริเวณดังกล่าวไปอยู่ในเขตปลอดภัยต่อไป



4. แนวทางการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิการเกิดคลื่นสึนามิไม่ใช่เรื่องไกลตัวสำหรับประเทศไทยอีกต่อไป ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญและเฝ้าระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐบาลและภาคประชาชน



1. ภาครัฐบาล มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ 1) รัฐควรมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เแก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิและแผ่นดินไหว



2) รัฐควรศึกษาและพัฒนาการสร้างระบบเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านเครื่องมือ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถแจ้งข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ รวมไปถึงความร่วมมือกับนานาประเทศในเรื่องการพัฒนาระบบเตือนภัยคลื่นสินามิอีกด้วย



3) ควรมีการจัดวางผังเมืองให้เหมาะสม ชุมชนที่พักอาศัยบริเวณชายฝั่งควรก่อสร้างบ้านเรือนให้อยู่ห่างชายฝั่งในระยะที่ปลอดภัย กำหนดโครงสร้างอาคารที่เหมาะสมในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยจากคลื่นสึนามิ หรือกำหนดเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมถูกต้อง



4) ควรมีการวางแผนในการฝึกซ้อมเพื่อหนีภัยจากคลื่นสึนามิ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง



5) ควรมีการวางแผนล่วงหน้าหากเกิดเหตุการณ์จริง ต้องมีระบบการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดขั้นตอนการช่วยเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
แนวทางการป้องกันภัย
3 แนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ

แม้ว่าอุบัติภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามินั้นจะเป็นอุบัติภัยที่ไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้อย่างแน่นอนว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใดโดยมีแนวทางปฏิบัติโดยทั่วไปดังนี้



1 ข้อสังเกตก่อนการเกิดคลื่นสึนามิมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้



1 ) สังเกตดูปฏิกิริยาของสัตว์ซึ่งจะตอบสนองต่อการเกิดแผ่นดินไหวได้เร็วกว่ามนุษย์เช่นนกจะแตกตื่นบินไปมาโกลาหลงูหนูหรือสัตว์ที่อยู่ใต้ดินจะโผล่ออกมาสัตว์เลี้ยงพวกเป็ดไก่วัวควายจะแตกตื่นสัตว์น้ำเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: