ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมือง การแปล - ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมือง ไทย วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยย

ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมืองสะเดา ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ผู้วิจัย นางสาวจิราภรณ์ เจริญผลและคณะผู้วิจัย
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์กมลพร วรรณชาติ และอาจารย์ปรัศนีย์ กายพันธ์
ระดับปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา
ปีการศึกษา 2557
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมืองสะเดา ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีจำนวน 400 คน ซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสะเดา ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percent)
ผลจากการศึกษาพบว่า
1. ผลจากการศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุอยู่ที่ 60-69 ปี มีสถานภาพสมรสมากกว่าโสด มีผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพโครงการอื่นจำนวน 11 คน เบี้ยยังชีพโครงการอื่นที่ผู้สูงอายุได้รับเป็นเบี้ยยังชีพผู้พิการโดยจะได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มคนละ 800 บาท จำนวนเบี้ยยังชีพที่ได้รับส่วนใหญ่ 600 บาท โดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังมีการประกอบอาชีพ อาชีพส่วนใหญ่ที่ประกอบคืออาชีพทำสวน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีเงินออม ไม่มีหนี้สิน แต่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เบาหวาน ความดัน หูตึง ต้อกระจก เป็นต้น และส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะอาศัยอยู่กับคู่สมรส รองลงมาอาศัยอยู่กับบุตรหลาน
2. ผลจากการศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญในการใช้จ่ายในเรื่องของอาหารมากที่สุด รองลงมาเป็นการใช้จ่ายในด้านยารักษาโรค ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ,ค่าไฟ,ค่าโทรศัพท์) ค่าที่พักอาศัยและค่าเครื่องนุ่งห่ม ตามลำดับ วิธีการรับเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะรับเบี้ยยังชีพด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร รองลงมาคือรับด้วยตนเองและมอบอำนาจ เบี้ยยังชีพที่ได้มาส่วนใหญ่จะใช้จ่ายเต็มจำนวน และมีบางส่วนที่จ่ายไม่หมด โดยในส่วนที่จ่ายไม่หมดจะจัดการโดยการเก็บไว้กับตัวและฝากธนาคาร มีบางกลุ่มที่เก็บโดยการฝากสัจจะหมู่บ้าน ส่วนใหญ่คิดว่าเบี้ยยังชีพที่ได้รับไม่เหมาะสม และคิดว่าโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมีประโยชน์มาก เป็นส่วนใหญ่ กลุ่มตัวอย่างมีการแสดงความเห็นในเรื่องของความต้องการให้เพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพอีก เนื่องจากมีรายได้น้อยแต่ค่าครองชีพสูง รองลงมาคือต้องการให้เทศบาลเมืองสะเดาแจกเครื่องอุปโภค/บริโภคเหมือนที่ผ่านมาและต้องการให้มีการตรวจสุขภาพตาม ณ ที่ทำการชุมชนเพื่อความสะดวกในการใช้บริการด้านสุขภาพ


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาผู้วิจัยนางสาวจิราภรณ์เจริญผลและคณะผู้วิจัยอาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์กมลพรวรรณชาติและอาจารย์ปรัศนีย์กายพันธ์ระดับปริญญาตรีบัญชีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยวิทยาเขตสงขลาปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (อธิบายการวิจัยโดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีจำนวน 400 คนซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามที่วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ (ความถี่) และค่าร้อยละ (ร้อยละ)ผลจากการศึกษาพบว่า1. ผลจากการศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุอยู่ที่ 60-69 ปี มีสถานภาพสมรสมากกว่าโสด มีผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพโครงการอื่นจำนวน 11 คน เบี้ยยังชีพโครงการอื่นที่ผู้สูงอายุได้รับเป็นเบี้ยยังชีพผู้พิการโดยจะได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มคนละ 800 บาท จำนวนเบี้ยยังชีพที่ได้รับส่วนใหญ่ 600 บาท โดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังมีการประกอบอาชีพ อาชีพส่วนใหญ่ที่ประกอบคืออาชีพทำสวน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีเงินออม ไม่มีหนี้สิน แต่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เบาหวาน ความดัน หูตึง ต้อกระจก เป็นต้น และส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะอาศัยอยู่กับคู่สมรส รองลงมาอาศัยอยู่กับบุตรหลาน 2. ผลจากการศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญในการใช้จ่ายในเรื่องของอาหารมากที่สุด รองลงมาเป็นการใช้จ่ายในด้านยารักษาโรค ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ,ค่าไฟ,ค่าโทรศัพท์) ค่าที่พักอาศัยและค่าเครื่องนุ่งห่ม ตามลำดับ วิธีการรับเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะรับเบี้ยยังชีพด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร รองลงมาคือรับด้วยตนเองและมอบอำนาจ เบี้ยยังชีพที่ได้มาส่วนใหญ่จะใช้จ่ายเต็มจำนวน และมีบางส่วนที่จ่ายไม่หมด โดยในส่วนที่จ่ายไม่หมดจะจัดการโดยการเก็บไว้กับตัวและฝากธนาคาร มีบางกลุ่มที่เก็บโดยการฝากสัจจะหมู่บ้าน ส่วนใหญ่คิดว่าเบี้ยยังชีพที่ได้รับไม่เหมาะสม และคิดว่าโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมีประโยชน์มาก เป็นส่วนใหญ่ กลุ่มตัวอย่างมีการแสดงความเห็นในเรื่องของความต้องการให้เพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพอีก เนื่องจากมีรายได้น้อยแต่ค่าครองชีพสูง รองลงมาคือต้องการให้เทศบาลเมืองสะเดาแจกเครื่องอุปโภค/บริโภคเหมือนที่ผ่านมาและต้องการให้มีการตรวจสุขภาพตาม ณ ที่ทำการชุมชนเพื่อความสะดวกในการใช้บริการด้านสุขภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่อง ในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลา
ผู้วิจัยนางสาวจิราภรณ์
อาจารย์กมลพรวรรณชาติและอาจารย์ปรัศนีย์กายพันธ์
ระดับปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต
มหาวิทยาลัย วิทยาเขตสงขลา
ปีการศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (การวิจัยเชิงพรรณนา) 400 คน ตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลา คือ (ความถี่) และค่าร้อยละ (ร้อยละ) ผลจากการศึกษาพบว่า1 พบว่า มีช่วงอายุอยู่ที่ 60-69 ปีมีสถานภาพสมรสมากกว่าโสด 11 คน 800 บาทจำนวนเบี้ยยังชีพที่ได้รับส่วนใหญ่ 600 บาท ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีเงินออมไม่มีหนี้สิน แต่มีปัญหาสุขภาพเช่นเบาหวานความดันหูตึงต้อกระจกเป็นต้น รองลงมาอาศัยอยู่กับบุตรหลาน2 พบว่า ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ, ค่าไฟ, ค่าโทรศัพท์) ตามลำดับ รองลงมาคือรับด้วยตนเองและมอบอำนาจ และมีบางส่วนที่จ่ายไม่หมด เป็นส่วนใหญ่ ณ







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลานางสาวจิราภรณ์เจริญผลและคณะผู้วิจัย

ผู้วิจัยอาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์กมลพรวรรณชาติและอาจารย์ปรัศนีย์กายพันธ์

ระดับปริญญาตรีบัญชีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยวิทยาเขตสงขลา


บทคัดย่อปีการศึกษา 2557การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ( วิจัย )400 คนซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสะเดาตำบลสะเดาอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลความแบบสอบถามที่วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ( ความถี่ ) ( ร้อยละ )
และค่าร้อยละผลจากการศึกษาพบว่า
1ผลจากการศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีช่วงอายุอยู่ที่ 69 มีสถานภาพสมรสมากกว่าโสดมีผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพโครงการอื่นจำนวน 11 .เบี้ยยังชีพโครงการอื่นที่ผู้สูงอายุได้รับเป็นเบี้ยยังชีพผู้พิการโดยจะได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มคนละ 800 บาทจำนวนเบี้ยยังชีพที่ได้รับส่วนใหญ่ 600 บาทโดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังมีการประกอบอาชีพผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีเงินออมไม่มีหนี้สินแต่มีปัญหาสุขภาพเช่นเบาหวานความดันหูตึงต้อกระจกเป็นต้นและส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะอาศัยอยู่กับคู่สมรสรองลงมาอาศัยอยู่กับบุตรหลาน
2 .ผลจากการศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญในการใช้จ่ายในเรื่องของอาหารมากที่สุดรองลงมาเป็นการใช้จ่ายในด้านยารักษาโรคค่าใช้จ่ายอื่นๆค่าสาธารณูปโภค
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: