ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย “วิกฤตซับไพรม์” หรือ “ การแปล - ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย “วิกฤตซับไพรม์” หรือ “ ไทย วิธีการพูด

ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่

ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย
“วิกฤตซับไพรม์” หรือ “วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์” ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเกิดขึ้นในประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ จึงแพร่ขยายไปยังประเทศอื่นทั้งประเทศในยุโรป เอเชีย
ละตินอเมริกา และรวมถึงประเทศไทยด้วยที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้ เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหา สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหาในการบริหารจัดการสินเชื่อสำหรับภาคธุรกิจและเอกชน ส่งผลให้ปัญหาขยายตัวและลุกลามไปถึงภาคธุรกิจอื่นๆ รวมถึงภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน จึงเป็นไปได้ยากที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจะหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่นี้ได้
ผลกระทบของวิกฤตชับไพรม์ ที่มีต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยผ่านทาง 3 ช่องทาง อันได้แก่ ภาคการเงิน ตลาดทุน และการค้าระหว่างประเทศ
ช่องทางที่ 1 : ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ในปัจจุบัน แม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมด ในระดับมหภาค เมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนัก และความปั่นป่วนในภาคการเงินของประเทศหนึ่ง สภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วย ในขณะเดียวกัน ถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาค เนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือน หากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุน เรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ในกรณีของประเทศไทยแล้ว หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปี พ.ศ.2540 แล้ว สถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูง อีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงิน และการที่สถาบันการเงินและนักลงทุนในประเทศไทยยังไม่คุ้นเคยกับตราสารอนุพันธ์มากนัก ปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนัก ซึ่งขณะปี พ.ศ.2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มาก มีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวัง
ดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติ ที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำ นับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำ เมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน และสัดส่วนของหนี้ที่คาดว่าจะสูญต่อสินทรัพย์ก็อยู่ในระดับที่ต่ำมาก ดังนั้น ปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้น คือ สภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้น และต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความตึงตัวของสภาพคล่องในตลาดการเงินโลกที่ทวีตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้น ยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง จึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่รัดกุม และยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทย จึงสรุปได้ว่า วิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย "วิกฤตซับไพรม์" หรือ "วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์" ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเกิดขึ้นในประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจจึงแพร่ขยายไปยังประเทศอื่นทั้งประเทศในยุโรปเอเชียละตินอเมริกาและรวมถึงประเทศไทยด้วยที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหาสิ่งที่ตามมาคือปัญหาในการบริหารจัดการสินเชื่อสำหรับภาคธุรกิจและเอกชนส่งผลให้ปัญหาขยายตัวและลุกลามไปถึงภาคธุรกิจอื่น ๆ รวมถึงภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันจึงเป็นไปได้ยากที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจะหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่นี้ได้ ผลกระทบของวิกฤตชับไพรม์ที่มีต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยผ่านทาง 3 ช่องทางอันได้แก่ภาคการเงินตลาดทุนและการค้าระหว่างประเทศ ช่องทางที่ 1: ผลกระทบผ่านภาคการเงิน ในปัจจุบันแม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตามแต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมดในระดับมหภาคเมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนักและความปั่นป่วนในภาคการเงินของประเทศหนึ่งสภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วยในขณะเดียวกันถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาคเนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือนหากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้วปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุนเรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกรณีของประเทศไทยแล้วหลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปี พ.ศ.2540 แล้วสถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูงอีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงินและการที่สถาบันการเงินและนักลงทุนในประเทศไทยยังไม่คุ้นเคยกับตราสารอนุพันธ์มากนักปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนักซึ่งขณะปี พ.ศ.2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มากมีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวังดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำนับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำเมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินและสัดส่วนของหนี้ที่คาดว่าจะสูญต่อสินทรัพย์ก็อยู่ในระดับที่ต่ำมากดังนั้นปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้นคือสภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้นและต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้นซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความตึงตัวของสภาพคล่องในตลาดการเงินโลกที่ทวีตัวสูงขึ้นทั้งนี้ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้นยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งจึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่รัดกุมและยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทยจึงสรุปได้ว่าวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

หรือ "วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์" ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เอเชีย
ละตินอเมริกา เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหาสิ่งที่ตามมาคือ
3 ช่องทางอัน ได้แก่ ภาคการเงินตลาดทุนและการค้าระหว่างประเทศ
ช่องทางที่ 1: ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ในปัจจุบัน ในระดับมหภาค ในขณะเดียวกัน หากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ในกรณีของประเทศไทยแล้ว พ.ศ. 2540 แล้ว ซึ่งขณะปี พ.ศ. 2551
ที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำนับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 ดังนั้น คือสภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้น ทั้งนี้ จึงสรุปได้ว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย
" วิกฤตซับไพรม์ " ค็อค " วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ " ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเกิดขึ้นในประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจจึงแพร่ขยายไปยังประเทศอื่นทั้งประเทศในยุโรปเอเชีย
ละตินอเมริกาและรวมถึงประเทศไทยด้วยที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหาสิ่งที่ตามมาคือปัญหาในการบริหารจัดการสินเชื่อสำหรับภาคธุรกิจและเอกชนรวมถึงภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันจึงเป็นไปได้ยากที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจะหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่นี้ได้
ผลกระทบของวิกฤตชับไพรม์ที่มีต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยผ่านทาง 3 ช่องทางอันได้แก่ภาคการเงินตลาดทุนและการค้าระหว่างประเทศ

ผลกระทบผ่านภาคการเงินช่องทางที่ 1ในปัจจุบันแม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตามแต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมดในระดับมหภาคเมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนักสภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วยในขณะเดียวกันถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาคเนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือนปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุนเรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกรณีของประเทศไทยแล้วหลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปีพ .ศ .2540 แล้วสถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูงอีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงินปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนักซึ่งขณะปีพ .ศ 2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มากมีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวัง
.ดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำนับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำเมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินดังนั้นปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้นความสภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้นและต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งนี้ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้นยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งและยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทยจึงสรุปได้ว่าวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: