ประวัติความเป็นมา ประเพณีปอยหลวง  งานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็ การแปล - ประวัติความเป็นมา ประเพณีปอยหลวง  งานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็ ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมา ประเพณีปอยหลวง ง

ประวัติความเป็นมา ประเพณีปอยหลวง

งานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็นงานน้อยงานใหญ่ ก็ล้วนแล้วมาจากพลังศรัทธา ของชาวบ้านทั้งสิ้น เช่นเดียวกับงานบุญปอยหลวง วิถีการดำรงชีวิตของผู้คนแต่ละท้องถิ่นบ่งบอกถึงวัฒนธรรม ประเพณีที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมา จนกลายเป็นแบบแผนที่คนรุ่นหลังจำต้องยึดถือปฏิบัติ และดำรงรักษาไว้ ความเชื่อของคนล้านนาส่วนใหญ่มักจะสอดคล้องกับหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา อาจเป็นเพราะว่าศาสนา ได้เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญต่อวิถีชีวิตของคนล้านนามา ช้านานจะเห็นได้จากการร่วมแรงร่วมใจในการจัดงานบุญประเพณีนั้น สร้างความสามัคคี และพลังศรัทธาอันมหาศาลต่อพระพุทธศาสนา ดังความเชื่อที่ว่า อานิสงส์ของการสร้างกุศลผลบุญ จะส่งผลให้ดวงวิญญาณของผู้ทำบุญได้ขึ้นไปสู่สรวงสวรรค์ ดังนั้น ในงานบุญประเพณีของชาวล้านนา ไม่ว่าจะเป็นงานน้อย งานใหญ่ ก็ล้วนแล้วมาจากพลังศรัทธาของชาวบ้านทั้งสิ้น เช่นเดียวกับงานบุญปอยหลวง




ที่มาของภาพ http://student.nu.ac.th/chollathit/images/His_2.jpg


คำว่า "ปอยหลวง" ในภาษาล้านนา หมายถึง การจัดงานเฉลิมฉลองศาสนสถาน ที่สร้างขึ้นจากศรัทธาของชาวบ้าน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลา กุฏิ หรือ กำแพงวัด การที่เรียกว่า "ปอยหลวง" เพราะเป็นงานใหญ่ที่ต้องอาศัยความร่วมมือ จากชาวบ้านเป็นจำนวนมาก ในงานจะมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งพิธีทางศาสนา และมหรสพบันเทิงก่อนที่จะถึงวันงานประมาณ 2-3 วัน ชาวบ้าน จะมีการทานตุง ซึ่งทอด้วยฝ้ายหลากสีสันประดับด้วยดิ้น สีเงิน สีทอง บางผืนทอขึ้นเป็นสีธงชาติไทย หรือปักเป็นรูปนักษัตร 12 ราศี ยาวประมาณ 2 เมตร นำไปติดไว้กับปลายไม้ไผ่ ศรัทธาชาวบ้านจะนำตุงของแต่ละบ้านไปปักไว้ตามถนนระหว่างหมู่บ้าน ตุงหลากสีสันที่เรียงรายอย่างสวยงาม ตลอดสองข้างทางของหมู่บ้านนั้น จะเป็นสัญลักษณ์ให้ผู้คนที่ผ่านไปมาได้ทราบว่า วัดแห่งนั้นกำลังจะมีงานปอยหลวง


งานประเพณีปอยหลวงของชาวล้านนา นิยมจัดขึ้น 2-3 วัน วันแรก เรียกว่า "วันแต่งดา" หรือ "วันห้างดา" วันที่ 2 เรียกว่า "วันกิน" ส่วนวันสุดท้าย เรียกว่า "วันตาน" หรือ "วันครัวตานเข้า" วันแต่งดา คือ วันที่มีการเตรียมอาหารคาวหวาน ผลไม้ รวมทั้งข้าวของ เครื่องใช้ที่จะนำไปถวายวัด ใส่ใน "ครัวตาน" ซึ่งสร้างขึ้นจากไม้ เป็นรูปสี่เหลี่ยมสำหรับใช้คนหาม ด้านบนมียอดแหลม ทำมาจากใบคา สำหรับปักเงิน หรือสิ่งของเครื่องใช้ไม้สอยสำหรับพระภิกษุ สามเณร เช่น แป้ง สบู่ ผงซักฟอก แปรงสีฟัน สมุด ดินสอ ปากกา เพื่อนำไปถวายให้กับวัด ส่วนยอดของครัวตานแต่ละบ้านจะไม่เหมือนกัน บางบ้านทำเป็นรูปใบโพธิ์ นำถ้วย ช้อน จาน ชามมาประดับ บางบ้านนำโต๊ะ เก้าอี้ สำหรับถวายให้กับวัด ซึ่งแล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบ้าน ถ้าต้นครัวตานของใครสวยงาม ก็จะเป็นที่ชื่นชอบของบรรดาผู้มาร่วมงาน สิ่งสำคัญของครัวตาน คือ ยอด มักนิยมนำธนบัตรมาหนีบไว้กับไม้ไผ่ แล้วนำมาปักประดับตามยอดเป็นช่อชั้นอย่างสวยงาม


เมื่อถึงวันกิน จะมีบรรดาญาติสนิท มิตรสหาย แขกผู้มีเกียรติ ซึ่งเจ้าของบ้านได้บอกกล่าวให้มาร่วมงานก็จะมีการยกสำรับกับข้าว เหล้ายาปลาปิ้งมาเลี้ยง ซึ่งวันนี้ถือว่าเป็นวันที่สนุกสนาน รุ่งขึ้นอีกวันถือเป็นวันตาน มีการแห่ต้นครัวตานของแต่ละบ้านไปวัด บรรยากาศในวันนี้ก็ยิ่งสนุกสนานคึกคัก ด้วยว่าแต่ละบ้านจะมีมหรสพ แตรวง ดนตรีพื้นบ้านนำหน้าครัวตาน ญาติพี่น้องก็จะออกมาร่วมรำวงฟ้อนรำ ขณะเดียวกันบรรยากาศภายในวัดก็ดูคึกคักไม่แพ้กัน มีทั้งคนเฒ่า หนุ่มสาว เด็กเล็ก พ่อค้าแม่ค้านำสินค้ามาจำหน่ายรวมถึงศรัทธาญาติโยม ตลอดจนพระสงฆ์องค์เจ้า ที่มาร่วมงานตามคำเชิญของวัดเจ้าภาพ พระภิกษุสงฆ์ที่อาราธนามาเป็นเจ้าพร หรือ ตุ๊เจ้าปั๋นปอน จะเป็นพระที่มีน้ำเสียงไพเราะ มีโวหารที่สละสลวย เพราะต้องให้ศีล ให้พรแก่ศรัทธาที่นำครัวตานมาถวาย เจ้าพรอาจจะพรรณนาถึงความงดงามของครัวตานนั้นๆ เพื่อให้ผู้ที่นำครัวตานมาถวายเกิดความปลาบปลื้มใจ

ส่วนบริเวณใกล้ๆ วัดจะมีการแสดงมหรสพพื้นบ้าน เช่น ซอ ลิเก ให้กับผู้มาร่วมงานชม งานปอยหลวงจะดำเนินไปทั้งกลางวัน และกลางคืน เป็นเวลาติดต่อกันหลายวัน ในบางหมู่บ้าน เวลากลางคืนจะมีคนมาเที่ยวงานเป็นจำนวนมาก เพราะกลางวันอาจติดภารกิจ การงาน ประการหนึ่งยังเป็นโอกาสที่หนุ่มสาวจะได้พบปะพูดคุยกันอีกด้วย ประเพณีปอยหลวงของชาวล้านนา ถือว่าเป็นงานบุญถวายทานที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งนานปีจะมีสักครั้ง ดังนั้นงานประเพณีปอยหลวง จึงเป็นงานที่ทุกคนปลาบปลื้มภูมิใจ บางคนชั่วอายุหนึ่งอาจมีโอกาสได้เป็นเจ้าภาพในงานปอยหลวงเพียงครั้ง หรือสองครั้งเท่านั้น เพราะงานปอยหลวง จะจัดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการก่อสร้างศาสนสถานขึ้นเท่านั้น

ความสำคัญ

ประเพณีงานปอยหลวงเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ สิ่งสำคัญที่ได้จากการทำบุญงานปอยหลวงอีกอย่างหนึ่งก็คือ การแสดงความชื่นชมยินดีร่วมกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่คนในท้องถิ่นโดยการจัดมหรสพสมโภชเพราะหนึ่งปีถึงจะได้มีโอกาสได้เฉลิมฉลองถาวรวัตถุต่างๆ ได้ หรือบางแห่งอาจใช้เวลาหลายปีเพราะสิ่งปลูกสร้างบางอย่างใช้เวลาสร้างนานมาก สิ้นเปลืองเงินทองมหาศาล จะต้องรอให้สร้างเสร็จและมีเงินจึงจะจัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานปอยหลวงขึ้นมาได้

พิธีกรรม

ก่อนงานปอยหลวง ๑ วันเรียกว่า วันดา ชาวบ้านจะนำสิ่งของที่ซื้อไว้ไปรวมกันที่วัด เรียกว่ารวมครัว โดยตกแต่งประดิษฐ์ประดอยให้สวยงาม ตามแต่จะคิดขึ้น เรียกสิ่งที่ตกแต่งนี้ว่า ครัวทาน หรือ คัวตาน เพื่อแห่ไปยังวัดที่จะจัดงานปอยหลวง ส่วนวัดที่จะจัดงานปอยหลวง คณะกรรมการจัดงานจะจัดทำตุงตุงยาว และช่อช้าง นำไปทานและปักไว้บนเสาไม้ไผ่ ซึ่งปักไว้สองข้างทางเข้าสู่วัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าวัดนี้จะมีงานปอยหลวง ในตอนเย็นวันเดียวกันก็จะนิมนต์พระอุปคุต (ก้อนหิน) จากท่าน้ำใกล้วัด โดยอัญเชิญมาไว้ที่หออุปคุต ซึ่งมีลักษณะเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาประเพณีปอยหลวง งานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็นงานน้อยงานใหญ่ก็ล้วนแล้วมาจากพลังศรัทธาของชาวบ้านทั้งสิ้นเช่นเดียวกับงานบุญปอยหลวงวิถีการดำรงชีวิตของผู้คนแต่ละท้องถิ่นบ่งบอกถึงวัฒนธรรมประเพณีที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกลายเป็นแบบแผนที่คนรุ่นหลังจำต้องยึดถือปฏิบัติและดำรงรักษาไว้ความเชื่อของคนล้านนาส่วนใหญ่มักจะสอดคล้องกับหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาอาจเป็นเพราะว่าศาสนาได้เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญต่อวิถีชีวิตของคนล้านนามาช้านานจะเห็นได้จากการร่วมแรงร่วมใจในการจัดงานบุญประเพณีนั้น.สร้างความสามัคคีและพลังศรัทธาอันมหาศาลต่อพระพุทธศาสนาดังความเชื่อที่ว่าอานิสงส์ของการสร้างกุศลผลบุญจะส่งผลให้ดวงวิญญาณของผู้ทำบุญได้ขึ้นไปสู่สรวงสวรรค์ดังนั้นในงานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็นงานน้อยงานใหญ่ก็ล้วนแล้วมาจากพลังศรัทธาของชาวบ้านทั้งสิ้นเช่นเดียวกับงานบุญปอยหลวง ที่มาของภาพ http://student.nu.ac.th/chollathit/images/His_2.jpg คำว่า "ปอยหลวง" ในภาษาล้านนา หมายถึง การจัดงานเฉลิมฉลองศาสนสถาน ที่สร้างขึ้นจากศรัทธาของชาวบ้าน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลา กุฏิ หรือ กำแพงวัด การที่เรียกว่า "ปอยหลวง" เพราะเป็นงานใหญ่ที่ต้องอาศัยความร่วมมือ จากชาวบ้านเป็นจำนวนมาก ในงานจะมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งพิธีทางศาสนา และมหรสพบันเทิงก่อนที่จะถึงวันงานประมาณ 2-3 วัน ชาวบ้าน จะมีการทานตุง ซึ่งทอด้วยฝ้ายหลากสีสันประดับด้วยดิ้น สีเงิน สีทอง บางผืนทอขึ้นเป็นสีธงชาติไทย หรือปักเป็นรูปนักษัตร 12 ราศี ยาวประมาณ 2 เมตร นำไปติดไว้กับปลายไม้ไผ่ ศรัทธาชาวบ้านจะนำตุงของแต่ละบ้านไปปักไว้ตามถนนระหว่างหมู่บ้าน ตุงหลากสีสันที่เรียงรายอย่างสวยงาม ตลอดสองข้างทางของหมู่บ้านนั้น จะเป็นสัญลักษณ์ให้ผู้คนที่ผ่านไปมาได้ทราบว่า วัดแห่งนั้นกำลังจะมีงานปอยหลวง งานประเพณีปอยหลวงของชาวล้านนา นิยมจัดขึ้น 2-3 วัน วันแรก เรียกว่า "วันแต่งดา" หรือ "วันห้างดา" วันที่ 2 เรียกว่า "วันกิน" ส่วนวันสุดท้าย เรียกว่า "วันตาน" หรือ "วันครัวตานเข้า" วันแต่งดา คือ วันที่มีการเตรียมอาหารคาวหวาน ผลไม้ รวมทั้งข้าวของ เครื่องใช้ที่จะนำไปถวายวัด ใส่ใน "ครัวตาน" ซึ่งสร้างขึ้นจากไม้ เป็นรูปสี่เหลี่ยมสำหรับใช้คนหาม ด้านบนมียอดแหลม ทำมาจากใบคา สำหรับปักเงิน หรือสิ่งของเครื่องใช้ไม้สอยสำหรับพระภิกษุ สามเณร เช่น แป้ง สบู่ ผงซักฟอก แปรงสีฟัน สมุด ดินสอ ปากกา เพื่อนำไปถวายให้กับวัด ส่วนยอดของครัวตานแต่ละบ้านจะไม่เหมือนกัน บางบ้านทำเป็นรูปใบโพธิ์ นำถ้วย ช้อน จาน ชามมาประดับ บางบ้านนำโต๊ะ เก้าอี้ สำหรับถวายให้กับวัด ซึ่งแล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบ้าน ถ้าต้นครัวตานของใครสวยงาม ก็จะเป็นที่ชื่นชอบของบรรดาผู้มาร่วมงาน สิ่งสำคัญของครัวตาน คือ ยอด มักนิยมนำธนบัตรมาหนีบไว้กับไม้ไผ่ แล้วนำมาปักประดับตามยอดเป็นช่อชั้นอย่างสวยงาม เมื่อถึงวันกิน จะมีบรรดาญาติสนิท มิตรสหาย แขกผู้มีเกียรติ ซึ่งเจ้าของบ้านได้บอกกล่าวให้มาร่วมงานก็จะมีการยกสำรับกับข้าว เหล้ายาปลาปิ้งมาเลี้ยง ซึ่งวันนี้ถือว่าเป็นวันที่สนุกสนาน รุ่งขึ้นอีกวันถือเป็นวันตาน มีการแห่ต้นครัวตานของแต่ละบ้านไปวัด บรรยากาศในวันนี้ก็ยิ่งสนุกสนานคึกคัก ด้วยว่าแต่ละบ้านจะมีมหรสพ แตรวง ดนตรีพื้นบ้านนำหน้าครัวตาน ญาติพี่น้องก็จะออกมาร่วมรำวงฟ้อนรำ ขณะเดียวกันบรรยากาศภายในวัดก็ดูคึกคักไม่แพ้กัน มีทั้งคนเฒ่า หนุ่มสาว เด็กเล็ก พ่อค้าแม่ค้านำสินค้ามาจำหน่ายรวมถึงศรัทธาญาติโยม ตลอดจนพระสงฆ์องค์เจ้า ที่มาร่วมงานตามคำเชิญของวัดเจ้าภาพ พระภิกษุสงฆ์ที่อาราธนามาเป็นเจ้าพร หรือ ตุ๊เจ้าปั๋นปอน จะเป็นพระที่มีน้ำเสียงไพเราะ มีโวหารที่สละสลวย เพราะต้องให้ศีล ให้พรแก่ศรัทธาที่นำครัวตานมาถวาย เจ้าพรอาจจะพรรณนาถึงความงดงามของครัวตานนั้นๆ เพื่อให้ผู้ที่นำครัวตานมาถวายเกิดความปลาบปลื้มใจ ส่วนบริเวณใกล้ๆ วัดจะมีการแสดงมหรสพพื้นบ้าน เช่น ซอ ลิเก ให้กับผู้มาร่วมงานชม งานปอยหลวงจะดำเนินไปทั้งกลางวัน และกลางคืน เป็นเวลาติดต่อกันหลายวัน ในบางหมู่บ้าน เวลากลางคืนจะมีคนมาเที่ยวงานเป็นจำนวนมาก เพราะกลางวันอาจติดภารกิจ การงาน ประการหนึ่งยังเป็นโอกาสที่หนุ่มสาวจะได้พบปะพูดคุยกันอีกด้วย ประเพณีปอยหลวงของชาวล้านนา ถือว่าเป็นงานบุญถวายทานที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งนานปีจะมีสักครั้ง ดังนั้นงานประเพณีปอยหลวง จึงเป็นงานที่ทุกคนปลาบปลื้มภูมิใจ บางคนชั่วอายุหนึ่งอาจมีโอกาสได้เป็นเจ้าภาพในงานปอยหลวงเพียงครั้ง หรือสองครั้งเท่านั้น เพราะงานปอยหลวง จะจัดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการก่อสร้างศาสนสถานขึ้นเท่านั้น ความสำคัญ ประเพณีงานปอยหลวงเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ สิ่งสำคัญที่ได้จากการทำบุญงานปอยหลวงอีกอย่างหนึ่งก็คือ การแสดงความชื่นชมยินดีร่วมกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่คนในท้องถิ่นโดยการจัดมหรสพสมโภชเพราะหนึ่งปีถึงจะได้มีโอกาสได้เฉลิมฉลองถาวรวัตถุต่างๆ ได้ หรือบางแห่งอาจใช้เวลาหลายปีเพราะสิ่งปลูกสร้างบางอย่างใช้เวลาสร้างนานมาก สิ้นเปลืองเงินทองมหาศาล จะต้องรอให้สร้างเสร็จและมีเงินจึงจะจัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานปอยหลวงขึ้นมาได้ พิธีกรรม ก่อนงานปอยหลวง ๑ วันเรียกว่าวันดาชาวบ้านจะนำสิ่งของที่ซื้อไว้ไปรวมกันที่วัดเรียกว่ารวมครัวโดยตกแต่งประดิษฐ์ประดอยให้สวยงามตามแต่จะคิดขึ้นเรียกสิ่งที่ตกแต่งนี้ว่าครัวทานหรือคัวตานเพื่อแห่ไปยังวัดที่จะจัดงานปอยหลวงส่วนวัดที่จะจัดงานปอยหลวงคณะกรรมการจัดงานจะจัดทำตุงตุงยาวและช่อช้างนำไปทานและปักไว้บนเสาไม้ไผ่ซึ่งปักไว้สองข้างทางเข้าสู่วัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าวัดนี้จะมีงานปอยหลวงในตอนเย็นวันเดียวกันก็จะนิมนต์พระอุปคุต (ก้อนหิน) จากท่าน้ำใกล้วัดโดยอัญเชิญมาไว้ที่หออุปคุตซึ่งมีลักษณะเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมา ก็ล้วนแล้วมาจากพลังศรัทธาของชาวบ้านทั้งสิ้นเช่นเดียวกับงานบุญปอยหลวง ประเพณีที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมา และดำรงรักษาไว้ อาจเป็นเพราะว่าศาสนา สร้างความสามัคคี ดังความเชื่อที่ว่าอานิสงส์ของการสร้างกุศลผลบุญ ดังนั้นในงานบุญประเพณีของชาวล้านนาไม่ว่าจะเป็นงานน้อยงานใหญ่ http://student.nu.ac.th/chollathit/images/His_2.jpg คำว่าได้ "ปอยหลวง" ในภาษาล้านนาหมายถึงการจัดงานเฉลิมฉลองศาสนสถานที่สร้างขึ้นจากศรัทธาของชาวบ้านเช่นโบสถ์วิหารศาลา กุฏิหรือกำแพงวัดการที่เรียกว่า "ปอยหลวง" จากชาวบ้านเป็นจำนวนมากในงานจะมีกิจกรรมต่างๆทั้งพิธีทางศาสนา 2-3 วันชาวบ้านจะมีการทานตุง สีเงินสีทองบางผืนทอขึ้นเป็นสีธงชาติไทยหรือปักเป็นรูปนักษัตร 12 ราศียาวประมาณ 2 เมตรนำไปติดไว้กับปลายไม้ไผ่ ตลอดสองข้างทางของหมู่บ้านนั้น นิยมจัดขึ้น 2-3 วันวันแรกเรียกว่า "วันแต่งดา" หรือ "วันห้างดา" วันที่ 2 เรียกว่า "วันกิน" ส่วนวันสุดท้ายเรียกว่า "วันตาน" หรือ "วันครัวตานเข้า" วัน แต่งดาคือวันที่มีการเตรียมอาหารคาวหวานผลไม้รวมทั้งข้าวของเครื่องใช้ที่จะนำไปถวายวัดใส่ใน "ครัวตาน" ซึ่งสร้างขึ้นจากไม้เป็นรูปสี่เหลี่ยมสำหรับใช้คนหามด้านบนมียอดแหลมทำ มาจากใบคาสำหรับปักเงิน สามเณรเช่นแป้งสบู่ผงซักฟอกแปรงสีฟันสมุดดินสอปากกาเพื่อนำไปถวายให้กับวัด บางบ้านทำเป็นรูปใบโพธิ์นำถ้วยช้อนจานชามมาประดับบางบ้านนำโต๊ะเก้าอี้สำหรับถวายให้กับวัด ถ้าต้นครัวตานของใครสวยงาม สิ่งสำคัญของครัวตานคือยอดมักนิยมนำธนบัตรมาหนีบไว้กับไม้ไผ่ จะมีบรรดาญาติสนิทมิตรสหายแขกผู้มีเกียรติ เหล้ายาปลาปิ้งมาเลี้ยง รุ่งขึ้นอีกวันถือเป็นวันตาน ด้วยว่าแต่ละบ้านจะมีมหรสพแตรวงดนตรีพื้นบ้านนำหน้าครัวตาน มีทั้งคนเฒ่าหนุ่มสาวเด็กเล็ก ตลอดจนพระสงฆ์องค์เจ้า หรือตุ๊เจ้าปั๋นปอนจะเป็นพระที่มีน้ำเสียงไพเราะมีโวหารที่สละสลวยเพราะต้องให้ศีลให้พรแก่ศรัทธาที่นำครัวตานมาถวาย วัดจะมีการแสดงมหรสพพื้นบ้านเช่นซอลิเกให้กับผู้มาร่วมงานชมงานปอยหลวงจะดำเนินไปทั้งกลางวันและกลางคืนเป็นเวลาติดต่อกันหลายวันในบางหมู่บ้าน เพราะกลางวันอาจติดภารกิจการงาน ประเพณีปอยหลวงของชาวล้านนา ซึ่งนานปีจะมีสักครั้งดังนั้นงานประเพณีปอยหลวงจึงเป็นงานที่ทุกคนปลาบปลื้มภูมิใจ หรือสองครั้งเท่านั้นเพราะงานปอยหลวง ๆ ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก ปู่ย่าตายาย ได้ สิ้นเปลืองเงินทองมหาศาล 1 วันเรียกว่าวันดา เรียกว่ารวมครัวโดยตกแต่งประดิษฐ์ประดอยให้สวยงามตาม แต่จะคิดขึ้นเรียกสิ่งที่ตกแต่งนี้ว่าครัวทานหรือคัวตาน ส่วนวัดที่จะจัดงานปอยหลวงคณะกรรมการจัดงานจะจัดทำตุงตุงยาวและช่อช้างนำไปทานและปักไว้บนเสาไม้ไผ่ (ก้อนหิน) จากท่าน้ำใกล้วัดโดยอัญเชิญมาไว้ที่หออุปคุตซึ่งมีลักษณะเ

























การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: