ข้อดีและข้อเสียของนโยบายภาษีรถยนต์คันแรกในส่วนของภาครัฐบาล
ข้อดี (เพิ่มรายละเอียด)
1. กระตุ้นเศรษฐกิจภาครวมของประเทศ กรมสรรพากรเองก็ยังสามารถเก็บภาษีได้มากขึ้น ทั้งภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งภาษีกำไรจากค่ายรถยนต์ เพื่อนำไปชดเชยกับเงินที่หายไปกว่า 1.5 แสนล้านบาท จากการลดภาษีนิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ซึ่งในแง่เศรษฐกิจภาพรวมแล้ว ต้องถือว่า โครงการนี้มีส่วนกระตุ้นเศรษฐกิจได้ไม่น้อยทีเดียวเพราะล่าสุดเศรษฐกิจไทยในปี 55 ที่ผ่านมา ก้าวกระโดดไปถึง 6.4% จากที่คาดว่าจะเติบโตได้เพียง 5.5% เท่านั้น
2. กระตุ้นการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทย
3. สถานะทางสังคมของประเทศมีความเจริญขึ้นเนื่องจากมีรถยนต์เป็นดัชนีวัดความเจริญก้าวหน้าในทางหนึ่ง
4. มีการสร้างงานเนื่องจาก ภาค SME ในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตขึ้นเช่น โรงงานผลิดอะไหล่รถยนต์ โรงงานผลิตของตกแต่งรถยนต์
ข้อเสีย
1. เป็นโครงการที่ไม่ได้ช่วยลดภาระ หรือช่วยเหลือ คนรากหญ้าที่เป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศแต่อย่างใด หนำซ้ำยังเน้นช่วยกลุ่มนายทุนรถยนต์ และชนชั้นกลาง
2. นโยบายนี้ เป็น การ "บิดเบือนโครงสร้างภาษี" อย่างชัดเจน เพราะก่อนนี้ต้องการ รณรงค์ให้อัตราภาษีสรรพสามิตไม่เท่ากันเพื่อ สนับสนุนการซื้อรถที่ใช้พลังงานทดแทน
3. สวนทางกับ การรณรงค์ประหยัดพลังงาน
4. เป็นนโยบายที่ สร้างปัญหาจราจร และทำลายระบบขนส่งมวลชนที่มีการรณรงค์มาโดยตลอด
5. เป็นนโยบายที่ขัดกับนโยบายที่รณรงค์ให้รักษาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากจำนวนรถยนต์ที่มากขึ้น ส่งผลให้มีมลพิษในอากาศเพิ่มขึ้น
6. เป็นนโยบายที่ทำให้เกิดความล่าช้าในการบริหารประเทศ เนื่องจากมีการใช้ต้นทุนเงินที่สูงเพื่อให้กับทางประชาชนและไม่สามารถนำไปบริหารนโยบายในส่วนอื่นๆได้ เช่น ในส่วนของระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ
7. บริษัทขายรถจะยอดขายตก เต๊นท์ขายรถมือสองจะเลิกกิจการจำนวนมาก เพราะซื้อรถล่วงหน้าไว้ตั้งแต่ปีนี้แล้ว ส่วนคนที่ผ่อนไม่ไหวก็จะยกรถให้ญาติไปผ่อนแทน รถมือสองจึงมากมายขณะที่หาคนซื้อได้ยากเต็มที
8. ประเทศจะเริ่มขาดดุลการค้า ที่ผ่านมาไทยได้ดุลการค้ามาตลอด มีเพียงบางเดือนที่เคยขาดดุลการค้า แต่ผลของจำนวนรถที่เพิ่มขึ้น และคนไทยก็ไม่เคยประหยัดการใช้น้ำมันและสินค้าฟุ่มเฟือย ขณะที่การส่งออกก็ชะลอตัว จึงเป็นไปได้อย่างสูงที่ไทยจะขาดดุลการค้าในปีหน้า (น้ำมันเป็นสินค้านำเข้าที่มูลค่าสูงสุดของไทย)
อ้างอิง
1. รายงานข้อมูลเบื้องต้นการขอใช้สิทธิรถยนต์คันแรก
สรรพสามิต" แจง 10 เหตุผลทิ้งรถคันแรก
รายงานจากกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า จนถึงปัจจุบันมียอดผู้ยกเลิกใช้สิทธิ์รับเงินคืนไม่เกิน 1 แสนบาท ในโครงการรถคันแรก จำนวน 4,837 รายเท่านั้น จากยอดผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท
ทั้งนี้ กรมสรรพสามิตคาดการณ์ว่า ในปี 2556 ยอดจ่ายเงินคืนจะมีทั้งสิ้น 577,246 ราย เป็นเงิน 40,368 ล้านบาท ปี 2557 จำนวน 674,019 ราย เป็นเงิน 51,409 ล้านบาท ขณะที่ ณ วันที่ 9 ก.ค. มีการคืนเงินรถคันแรกไปแล้ว 21,964 ล้านบาท เป็นจำนวนรถยนต์ 319,975 คัน ซึ่งมีการโอนเงินให้ผู้ได้สิทธิ์ไปแล้วทั้งสิ้น 9 ครั้ง
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการตรวจสอบการยกเลิกขอใช้สิทธิ์โครงการรถคันแรกที่มีจำนวน 4,837 รายนั้น พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากผู้ที่เคยขอใช้สิทธิ์ "ไม่ต้องการใช้สิทธิ์" แล้วถึง 1,261 ราย รองลงมาเกิดจาก "ต้องการขายหรือโอนรถ" ก่อนจะถือครองครบ 5 ปี จำนวน 785 ราย ขณะที่เกิดจาก "รถประสบอุบัติเหตุ/สูญหาย" 630 ราย
เกิดจากการ "บันทึกข้อมูลผิดพลาดหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล" 521 ราย เกิดจาก "เปลี่ยนยี่ห้อ/รุ่นรถ หรือเปลี่ยนใบจอง" 337 ราย เกิดจาก "เคยครอบครองรถมาก่อน หรือรถที่ขอใช้สิทธิ์เป็นรถมือสอง" 310 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนอายุครบ 21 ปีบริบูรณ์" 150 ราย เกิดจากกรณี "เสียชีวิต" 126 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนวันที่ 16 ก.ย. 2554" จำนวน 103 ราย
นอกจากนี้ ยังมีที่เกิดจาก "ไม่ผ่านไฟแนนซ์ หรือมีปัญหาการเงิน" อีก 228 ราย เกิดจาก "ยื่นเอกสารเพิ่มเติมเกิน 90 วันถัดจากวันรับมอบรถ" อีก 37 ราย และอื่น ๆ อาทิ ส่งมอบรถไม่ทัน มีปัญหาสุขภาพ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อีก 261 ราย รวมถึงไม่ระบุเหตุผลอีก 88 ราย
ส่วนกรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ 19 รายที่กรมสรรพสามิตต้องติดตามเรียกเงินคืนนั้น มีสาเหตุหลัก ๆ ประกอบด้วย 1) ไม่สามารถผ่อนชำระค่างวดได้ รถยนต์จึงถูกยึดและขายออก ทำให้มีเงินไม่พอส่งให้กรมสรรพสามิต 2) รถยนต์เกิดอุบัติเหตุ เกิดความเสียหายและขายทอดตลาด แต่เงินส่งกรมสรรพสามิตไม่พอ และ 3) ผิดเงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ เป็นต้น
"กรมสรรพสามิตอยู่ระหว่างดำเนินการดังนี้ 1.ทำหนังสือถึงผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข ให้นำเงินที่ได้รับไปมาคืน จำนวน 14 ราย 2.ทำหนังสือถึงกรมบัญชีกลาง เพื่อพิจารณากรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ขาดคุณสมบัติตามที่โครงการระบุไว้และได้รับเงินไปแล้ว ซึ่งจะขอผ่อนผันชำระ จำนวน 2 ราย และ 3) กำลังรวบรวมเอกสารเพื่อส่งให้กรมบัญชีกลางพิจารณาฟ้องผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข จำนวน 3 ราย"
ขณะที่นายสมชาย พูลสวัสดิ์ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าวว่า การทิ้งสิทธิ์รถคันแรกไม่น่าจะสูงอย่างที่เป็นข่าวก่อนหน้านี้ เนื่องจากได้รับรายงานจากผู้ประกอบการว่า ล่าสุดมียอดการส่งมอบรถสูงถึง 1,043,823 คันไปแล้ว จากที่มีผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท และการส่งมอบรถจะยังมีไปจนถึงต้นปี 2557
2. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก – รถยนต์นั่ง
3. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์กระบะ (PICK UP)
4. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab)
ข้อดีและข้อเสียของนโยบายภาษีรถยนต์คันแรกในส่วนของภาครัฐบาลข้อดี (เพิ่มรายละเอียด)1. กระตุ้นเศรษฐกิจภาครวมของประเทศ กรมสรรพากรเองก็ยังสามารถเก็บภาษีได้มากขึ้น ทั้งภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งภาษีกำไรจากค่ายรถยนต์ เพื่อนำไปชดเชยกับเงินที่หายไปกว่า 1.5 แสนล้านบาท จากการลดภาษีนิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ซึ่งในแง่เศรษฐกิจภาพรวมแล้ว ต้องถือว่า โครงการนี้มีส่วนกระตุ้นเศรษฐกิจได้ไม่น้อยทีเดียวเพราะล่าสุดเศรษฐกิจไทยในปี 55 ที่ผ่านมา ก้าวกระโดดไปถึง 6.4% จากที่คาดว่าจะเติบโตได้เพียง 5.5% เท่านั้น2. กระตุ้นการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทย3. สถานะทางสังคมของประเทศมีความเจริญขึ้นเนื่องจากมีรถยนต์เป็นดัชนีวัดความเจริญก้าวหน้าในทางหนึ่ง
4. มีการสร้างงานเนื่องจาก ภาค SME ในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตขึ้นเช่น โรงงานผลิดอะไหล่รถยนต์ โรงงานผลิตของตกแต่งรถยนต์
ข้อเสีย
1. เป็นโครงการที่ไม่ได้ช่วยลดภาระ หรือช่วยเหลือ คนรากหญ้าที่เป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศแต่อย่างใด หนำซ้ำยังเน้นช่วยกลุ่มนายทุนรถยนต์ และชนชั้นกลาง
2. นโยบายนี้ เป็น การ "บิดเบือนโครงสร้างภาษี" อย่างชัดเจน เพราะก่อนนี้ต้องการ รณรงค์ให้อัตราภาษีสรรพสามิตไม่เท่ากันเพื่อ สนับสนุนการซื้อรถที่ใช้พลังงานทดแทน
3. สวนทางกับ การรณรงค์ประหยัดพลังงาน
4. เป็นนโยบายที่ สร้างปัญหาจราจร และทำลายระบบขนส่งมวลชนที่มีการรณรงค์มาโดยตลอด
5. เป็นนโยบายที่ขัดกับนโยบายที่รณรงค์ให้รักษาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากจำนวนรถยนต์ที่มากขึ้น ส่งผลให้มีมลพิษในอากาศเพิ่มขึ้น
6. เป็นนโยบายที่ทำให้เกิดความล่าช้าในการบริหารประเทศ เนื่องจากมีการใช้ต้นทุนเงินที่สูงเพื่อให้กับทางประชาชนและไม่สามารถนำไปบริหารนโยบายในส่วนอื่นๆได้ เช่น ในส่วนของระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ
7. บริษัทขายรถจะยอดขายตก เต๊นท์ขายรถมือสองจะเลิกกิจการจำนวนมาก เพราะซื้อรถล่วงหน้าไว้ตั้งแต่ปีนี้แล้ว ส่วนคนที่ผ่อนไม่ไหวก็จะยกรถให้ญาติไปผ่อนแทน รถมือสองจึงมากมายขณะที่หาคนซื้อได้ยากเต็มที
8. ประเทศจะเริ่มขาดดุลการค้า ที่ผ่านมาไทยได้ดุลการค้ามาตลอด มีเพียงบางเดือนที่เคยขาดดุลการค้า แต่ผลของจำนวนรถที่เพิ่มขึ้น และคนไทยก็ไม่เคยประหยัดการใช้น้ำมันและสินค้าฟุ่มเฟือย ขณะที่การส่งออกก็ชะลอตัว จึงเป็นไปได้อย่างสูงที่ไทยจะขาดดุลการค้าในปีหน้า (น้ำมันเป็นสินค้านำเข้าที่มูลค่าสูงสุดของไทย)
อ้างอิง
1. รายงานข้อมูลเบื้องต้นการขอใช้สิทธิรถยนต์คันแรก
สรรพสามิต" แจง 10 เหตุผลทิ้งรถคันแรก
รายงานจากกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า จนถึงปัจจุบันมียอดผู้ยกเลิกใช้สิทธิ์รับเงินคืนไม่เกิน 1 แสนบาท ในโครงการรถคันแรก จำนวน 4,837 รายเท่านั้น จากยอดผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท
ทั้งนี้ กรมสรรพสามิตคาดการณ์ว่า ในปี 2556 ยอดจ่ายเงินคืนจะมีทั้งสิ้น 577,246 ราย เป็นเงิน 40,368 ล้านบาท ปี 2557 จำนวน 674,019 ราย เป็นเงิน 51,409 ล้านบาท ขณะที่ ณ วันที่ 9 ก.ค. มีการคืนเงินรถคันแรกไปแล้ว 21,964 ล้านบาท เป็นจำนวนรถยนต์ 319,975 คัน ซึ่งมีการโอนเงินให้ผู้ได้สิทธิ์ไปแล้วทั้งสิ้น 9 ครั้ง
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการตรวจสอบการยกเลิกขอใช้สิทธิ์โครงการรถคันแรกที่มีจำนวน 4,837 รายนั้น พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากผู้ที่เคยขอใช้สิทธิ์ "ไม่ต้องการใช้สิทธิ์" แล้วถึง 1,261 ราย รองลงมาเกิดจาก "ต้องการขายหรือโอนรถ" ก่อนจะถือครองครบ 5 ปี จำนวน 785 ราย ขณะที่เกิดจาก "รถประสบอุบัติเหตุ/สูญหาย" 630 ราย
เกิดจากการ "บันทึกข้อมูลผิดพลาดหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล" 521 ราย เกิดจาก "เปลี่ยนยี่ห้อ/รุ่นรถ หรือเปลี่ยนใบจอง" 337 ราย เกิดจาก "เคยครอบครองรถมาก่อน หรือรถที่ขอใช้สิทธิ์เป็นรถมือสอง" 310 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนอายุครบ 21 ปีบริบูรณ์" 150 ราย เกิดจากกรณี "เสียชีวิต" 126 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนวันที่ 16 ก.ย. 2554" จำนวน 103 ราย
นอกจากนี้ ยังมีที่เกิดจาก "ไม่ผ่านไฟแนนซ์ หรือมีปัญหาการเงิน" อีก 228 ราย เกิดจาก "ยื่นเอกสารเพิ่มเติมเกิน 90 วันถัดจากวันรับมอบรถ" อีก 37 ราย และอื่น ๆ อาทิ ส่งมอบรถไม่ทัน มีปัญหาสุขภาพ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อีก 261 ราย รวมถึงไม่ระบุเหตุผลอีก 88 ราย
ส่วนกรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ 19 รายที่กรมสรรพสามิตต้องติดตามเรียกเงินคืนนั้น มีสาเหตุหลัก ๆ ประกอบด้วย 1) ไม่สามารถผ่อนชำระค่างวดได้ รถยนต์จึงถูกยึดและขายออก ทำให้มีเงินไม่พอส่งให้กรมสรรพสามิต 2) รถยนต์เกิดอุบัติเหตุ เกิดความเสียหายและขายทอดตลาด แต่เงินส่งกรมสรรพสามิตไม่พอ และ 3) ผิดเงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ เป็นต้น
"กรมสรรพสามิตอยู่ระหว่างดำเนินการดังนี้ 1.ทำหนังสือถึงผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข ให้นำเงินที่ได้รับไปมาคืน จำนวน 14 ราย 2.ทำหนังสือถึงกรมบัญชีกลาง เพื่อพิจารณากรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ขาดคุณสมบัติตามที่โครงการระบุไว้และได้รับเงินไปแล้ว ซึ่งจะขอผ่อนผันชำระ จำนวน 2 ราย และ 3) กำลังรวบรวมเอกสารเพื่อส่งให้กรมบัญชีกลางพิจารณาฟ้องผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข จำนวน 3 ราย"
ขณะที่นายสมชาย พูลสวัสดิ์ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าวว่า การทิ้งสิทธิ์รถคันแรกไม่น่าจะสูงอย่างที่เป็นข่าวก่อนหน้านี้ เนื่องจากได้รับรายงานจากผู้ประกอบการว่า ล่าสุดมียอดการส่งมอบรถสูงถึง 1,043,823 คันไปแล้ว จากที่มีผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท และการส่งมอบรถจะยังมีไปจนถึงต้นปี 2557
2. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก – รถยนต์นั่ง
3. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์กระบะ (PICK UP)
4. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ข้อดีและข้อเสียของนโยบายภาษีรถยนต์คันแรกในส่วนของภาครัฐบาล
ข้อดี (เพิ่มรายละเอียด)
1. กระตุ้นเศรษฐกิจภาครวมของประเทศ กรมสรรพากรเองก็ยังสามารถเก็บภาษีได้มากขึ้น ทั้งภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งภาษีกำไรจากค่ายรถยนต์ เพื่อนำไปชดเชยกับเงินที่หายไปกว่า 1.5 แสนล้านบาท จากการลดภาษีนิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ซึ่งในแง่เศรษฐกิจภาพรวมแล้ว ต้องถือว่า โครงการนี้มีส่วนกระตุ้นเศรษฐกิจได้ไม่น้อยทีเดียวเพราะล่าสุดเศรษฐกิจไทยในปี 55 ที่ผ่านมา ก้าวกระโดดไปถึง 6.4% จากที่คาดว่าจะเติบโตได้เพียง 5.5% เท่านั้น
2. กระตุ้นการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทย
3. สถานะทางสังคมของประเทศมีความเจริญขึ้นเนื่องจากมีรถยนต์เป็นดัชนีวัดความเจริญก้าวหน้าในทางหนึ่ง
4. มีการสร้างงานเนื่องจาก ภาค SME ในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตขึ้นเช่น โรงงานผลิดอะไหล่รถยนต์ โรงงานผลิตของตกแต่งรถยนต์
ข้อเสีย
1. เป็นโครงการที่ไม่ได้ช่วยลดภาระ หรือช่วยเหลือ คนรากหญ้าที่เป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศแต่อย่างใด หนำซ้ำยังเน้นช่วยกลุ่มนายทุนรถยนต์ และชนชั้นกลาง
2. นโยบายนี้ เป็น การ "บิดเบือนโครงสร้างภาษี" อย่างชัดเจน เพราะก่อนนี้ต้องการ รณรงค์ให้อัตราภาษีสรรพสามิตไม่เท่ากันเพื่อ สนับสนุนการซื้อรถที่ใช้พลังงานทดแทน
3. สวนทางกับ การรณรงค์ประหยัดพลังงาน
4. เป็นนโยบายที่ สร้างปัญหาจราจร และทำลายระบบขนส่งมวลชนที่มีการรณรงค์มาโดยตลอด
5. เป็นนโยบายที่ขัดกับนโยบายที่รณรงค์ให้รักษาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากจำนวนรถยนต์ที่มากขึ้น ส่งผลให้มีมลพิษในอากาศเพิ่มขึ้น
6. เป็นนโยบายที่ทำให้เกิดความล่าช้าในการบริหารประเทศ เนื่องจากมีการใช้ต้นทุนเงินที่สูงเพื่อให้กับทางประชาชนและไม่สามารถนำไปบริหารนโยบายในส่วนอื่นๆได้ เช่น ในส่วนของระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ
7. บริษัทขายรถจะยอดขายตก เต๊นท์ขายรถมือสองจะเลิกกิจการจำนวนมาก เพราะซื้อรถล่วงหน้าไว้ตั้งแต่ปีนี้แล้ว ส่วนคนที่ผ่อนไม่ไหวก็จะยกรถให้ญาติไปผ่อนแทน รถมือสองจึงมากมายขณะที่หาคนซื้อได้ยากเต็มที
8. ประเทศจะเริ่มขาดดุลการค้า ที่ผ่านมาไทยได้ดุลการค้ามาตลอด มีเพียงบางเดือนที่เคยขาดดุลการค้า แต่ผลของจำนวนรถที่เพิ่มขึ้น และคนไทยก็ไม่เคยประหยัดการใช้น้ำมันและสินค้าฟุ่มเฟือย ขณะที่การส่งออกก็ชะลอตัว จึงเป็นไปได้อย่างสูงที่ไทยจะขาดดุลการค้าในปีหน้า (น้ำมันเป็นสินค้านำเข้าที่มูลค่าสูงสุดของไทย)
อ้างอิง
1. รายงานข้อมูลเบื้องต้นการขอใช้สิทธิรถยนต์คันแรก
สรรพสามิต" แจง 10 เหตุผลทิ้งรถคันแรก
รายงานจากกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า จนถึงปัจจุบันมียอดผู้ยกเลิกใช้สิทธิ์รับเงินคืนไม่เกิน 1 แสนบาท ในโครงการรถคันแรก จำนวน 4,837 รายเท่านั้น จากยอดผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท
ทั้งนี้ กรมสรรพสามิตคาดการณ์ว่า ในปี 2556 ยอดจ่ายเงินคืนจะมีทั้งสิ้น 577,246 ราย เป็นเงิน 40,368 ล้านบาท ปี 2557 จำนวน 674,019 ราย เป็นเงิน 51,409 ล้านบาท ขณะที่ ณ วันที่ 9 ก.ค. มีการคืนเงินรถคันแรกไปแล้ว 21,964 ล้านบาท เป็นจำนวนรถยนต์ 319,975 คัน ซึ่งมีการโอนเงินให้ผู้ได้สิทธิ์ไปแล้วทั้งสิ้น 9 ครั้ง
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการตรวจสอบการยกเลิกขอใช้สิทธิ์โครงการรถคันแรกที่มีจำนวน 4,837 รายนั้น พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากผู้ที่เคยขอใช้สิทธิ์ "ไม่ต้องการใช้สิทธิ์" แล้วถึง 1,261 ราย รองลงมาเกิดจาก "ต้องการขายหรือโอนรถ" ก่อนจะถือครองครบ 5 ปี จำนวน 785 ราย ขณะที่เกิดจาก "รถประสบอุบัติเหตุ/สูญหาย" 630 ราย
เกิดจากการ "บันทึกข้อมูลผิดพลาดหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล" 521 ราย เกิดจาก "เปลี่ยนยี่ห้อ/รุ่นรถ หรือเปลี่ยนใบจอง" 337 ราย เกิดจาก "เคยครอบครองรถมาก่อน หรือรถที่ขอใช้สิทธิ์เป็นรถมือสอง" 310 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนอายุครบ 21 ปีบริบูรณ์" 150 ราย เกิดจากกรณี "เสียชีวิต" 126 ราย เกิดจาก "ซื้อ/จองรถก่อนวันที่ 16 ก.ย. 2554" จำนวน 103 ราย
นอกจากนี้ ยังมีที่เกิดจาก "ไม่ผ่านไฟแนนซ์ หรือมีปัญหาการเงิน" อีก 228 ราย เกิดจาก "ยื่นเอกสารเพิ่มเติมเกิน 90 วันถัดจากวันรับมอบรถ" อีก 37 ราย และอื่น ๆ อาทิ ส่งมอบรถไม่ทัน มีปัญหาสุขภาพ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อีก 261 ราย รวมถึงไม่ระบุเหตุผลอีก 88 ราย
ส่วนกรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ 19 รายที่กรมสรรพสามิตต้องติดตามเรียกเงินคืนนั้น มีสาเหตุหลัก ๆ ประกอบด้วย 1) ไม่สามารถผ่อนชำระค่างวดได้ รถยนต์จึงถูกยึดและขายออก ทำให้มีเงินไม่พอส่งให้กรมสรรพสามิต 2) รถยนต์เกิดอุบัติเหตุ เกิดความเสียหายและขายทอดตลาด แต่เงินส่งกรมสรรพสามิตไม่พอ และ 3) ผิดเงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ เป็นต้น
"กรมสรรพสามิตอยู่ระหว่างดำเนินการดังนี้ 1.ทำหนังสือถึงผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข ให้นำเงินที่ได้รับไปมาคืน จำนวน 14 ราย 2.ทำหนังสือถึงกรมบัญชีกลาง เพื่อพิจารณากรณีผู้ขอใช้สิทธิ์ขาดคุณสมบัติตามที่โครงการระบุไว้และได้รับเงินไปแล้ว ซึ่งจะขอผ่อนผันชำระ จำนวน 2 ราย และ 3) กำลังรวบรวมเอกสารเพื่อส่งให้กรมบัญชีกลางพิจารณาฟ้องผู้ขอใช้สิทธิ์ที่ปฏิบัติผิดเงื่อนไข จำนวน 3 ราย"
ขณะที่นายสมชาย พูลสวัสดิ์ อธิบดีกรมสรรพสามิต กล่าวว่า การทิ้งสิทธิ์รถคันแรกไม่น่าจะสูงอย่างที่เป็นข่าวก่อนหน้านี้ เนื่องจากได้รับรายงานจากผู้ประกอบการว่า ล่าสุดมียอดการส่งมอบรถสูงถึง 1,043,823 คันไปแล้ว จากที่มีผู้ขอใช้สิทธิ์ทั้งสิ้น 1,258,988 ราย คิดเป็นเงิน 92,168 ล้านบาท และการส่งมอบรถจะยังมีไปจนถึงต้นปี 2557
2. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก – รถยนต์นั่ง
3. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์กระบะ (PICK UP)
4. ข้อมูลคืนเงินรถยนต์ใหม่คันแรก - รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab)
การแปล กรุณารอสักครู่..