• เดือนสิบเอ็ด• เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่าร การแปล - • เดือนสิบเอ็ด• เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่าร ไทย วิธีการพูด

• เดือนสิบเอ็ด• เรียกว่า เดือนดะโบ๊

• เดือนสิบเอ็ด
• เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่ารำลึกถึงพระพุทธเจ้าที่ย่อมต้องทรงผจญต่อภัยหนาวเช่นกัน และเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์ ชาวพม่าจึงจัดงานบุญบูชาไฟแด่พระพุทธและพระเจดีย์ซึ่งเป็นองค์แทนพระพุทธเจ้า เรียกว่างานหลัวไฟพระเจ้า หรือ งานบุญไฟ) ปัจจุบันยังคงมีงานบุญเช่นนี้เฉพาะในบางท้องที่ของพม่าตอนบน ในเดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือน กล่าวว่าพม่าจัดงานนี้มาแต่สมัยญองยาง และในเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวบ้านจะเริ่มเกี่ยวข้าวและปีนเก็บน้ำตาลสดจากยอดตาล ซึ่งพบเห็นทั่วไปในเขตพม่าตอนกลางและตอนบน
• เดือนสิบสอง
• เรียกว่า เดือนดะบอง (ก.พ.-มี.ค.) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาว และเริ่มเปลี่ยนไปสู่ฤดูร้อนในช่วงหลังของเดือน ประเพณีสำคัญคืองานก่อเจดีย์ทราย โดยจะก่อทรายเป็นรูปจำลองเขาพระสุเมรุ ทำยอดซ้อนเป็น 5 ชั้น พม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ ปัจจุบันไม่นิยมจัดแล้ว ตามตำนานกล่าวว่าเดือนนี้เป็นเดือนที่เริ่มมีการสร้างเจดีย์พระเกศธาตุหรือพระเจดีย์ชเวดากอง ซึ่งตกในปีมหาศักราช 103 (พม่าถือว่าปีนี้เป็นปีที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้)ชาวพม่าจึงกำหนดเดือนดะบองเป็นเดือนสำหรับงานบูชาเจดีย์ชเวดากองด้วยเช่นกัน เดือนดะบองนี้ถือเป็นเดือนสุดท้ายของปีตามศักราชพม่า
ในการกำหนดวันประเพณีเป็นวันหยุดราชการนั้น ทางรัฐบาลกำหนดไว้เพียงบางวัน ได้แก่ วันสงกรานต์ ในเดือนดะกู จัดราววันที่ 13 - 17 เมษายนของทุกปี, วันรดน้ำต้นโพธิ์ หรือ วันพุทธะ ในวันเพ็ญของเดือนกะโส่ง ตรงกับวันวิสาขบูชาของไทย, วันธรรมจักร ในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ ตรงกับวันอาสาฬหบูชาของไทย, วันอภิธรรม ในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ต ตรงกับวันออกพรรษาของไทย และวันตามประทีป ในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมง ตรงกับวันลอยกระทงของไทย


สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ ในอดีตนั้นงานประเพณีสิบสองเดือนของพม่าจะรวมเอาการบูชานัตหรือผีหลวงไว้ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้า(เดือนนะด่อ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็นงานเทิดเกียรติกวี อย่างไรก็ตามชาวบ้านก็ยังคงรักษาพิธีบูชาผีนัตไว้ และยังจัดงานใหญ่กันในเดือนหว่าข่อง(เดือนห้า)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
•เดือนสิบเอ็ด• เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่ารำลึกถึงพระพุทธเจ้าที่ย่อมต้องทรงผจญต่อภัยหนาวเช่นกัน และเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์ ชาวพม่าจึงจัดงานบุญบูชาไฟแด่พระพุทธและพระเจดีย์ซึ่งเป็นองค์แทนพระพุทธเจ้า เรียกว่างานหลัวไฟพระเจ้า หรือ งานบุญไฟ) ปัจจุบันยังคงมีงานบุญเช่นนี้เฉพาะในบางท้องที่ของพม่าตอนบน ในเดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือน กล่าวว่าพม่าจัดงานนี้มาแต่สมัยญองยาง และในเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวบ้านจะเริ่มเกี่ยวข้าวและปีนเก็บน้ำตาลสดจากยอดตาล ซึ่งพบเห็นทั่วไปในเขตพม่าตอนกลางและตอนบน•เดือนสิบสอง •เรียกว่าเดือนดะบอง (ก.พ. -มี.ค.) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาวและเริ่มเปลี่ยนไปสู่ฤดูร้อนในช่วงหลังของเดือนประเพณีสำคัญคืองานก่อเจดีย์ทรายโดยจะก่อทรายเป็นรูปจำลองเขาพระสุเมรุทำยอดซ้อนเป็น 5 ชั้นพม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ปัจจุบันไม่นิยมจัดแล้วตามตำนานกล่าวว่าเดือนนี้เป็นเดือนที่เริ่มมีการสร้างเจดีย์พระเกศธาตุหรือพระเจดีย์ชเวดากองซึ่งตกในปีมหาศักราช 103 (พม่าถือว่าปีนี้เป็นปีที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้) ชาวพม่าจึงกำหนดเดือนดะบองเป็นเดือนสำหรับงานบูชาเจดีย์ชเวดากองด้วยเช่นกันเดือนดะบองนี้ถือเป็นเดือนสุดท้ายของปีตามศักราชพม่าในการกำหนดวันประเพณีเป็นวันหยุดราชการนั้นทางรัฐบาลกำหนดไว้เพียงบางวันได้แก่วันสงกรานต์เมษายนของทุกปีในเดือนดะกูจัดราววันที่ 13-17 วันรดน้ำต้นโพธิ์หรือวันพุทธะในวันเพ็ญของเดือนกะโส่งตรงกับวันวิสาขบูชาของไทย วันธรรมจักรในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ตรงกับวันอาสาฬหบูชาของไทย วันอภิธรรมในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ตตรงกับวันออกพรรษาของไทยและวันตามประทีปในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมงตรงกับวันลอยกระทงของไทย สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ ในอดีตนั้นงานประเพณีสิบสองเดือนของพม่าจะรวมเอาการบูชานัตหรือผีหลวงไว้ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้า(เดือนนะด่อ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็นงานเทิดเกียรติกวี อย่างไรก็ตามชาวบ้านก็ยังคงรักษาพิธีบูชาผีนัตไว้ และยังจัดงานใหญ่กันในเดือนหว่าข่อง(เดือนห้า)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เดือนสิบ•เอ็ด•เรียกว่าได้เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค. - ก.พ. )
และเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์ เรียกว่างานหลัวไฟพระเจ้าหรืองานบุญไฟ) ในเดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือน
สิบสองเดือน•เรียกว่าได้เดือนดะบอง (ก.พ. - มี.ค. ) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาว
ประเพณีสำคัญคืองานก่อเจดีย์ทราย ทำยอดซ้อนเป็น 5 ชั้นพม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ปัจจุบันไม่นิยมจัดแล้ว ซึ่งตกในปีมหาศักราช 103
ทางรัฐบาลกำหนดไว้เพียงบางวัน ได้แก่ วันสงกรานต์ในเดือนดะกูจัดราววันที่ 13-17 เมษายนของทุกปี, วันรดน้ำต้นโพธิ์หรือวันพุทธะในวันเพ็ญของเดือนกะโส่งตรงกับวันวิสาขบูชาของไทย, วันธรรมจักรใน วันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ตรงกับวันอาสาฬหบูชาของไทย, วันอภิธรรมในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ตตรงกับวันออกพรรษาของไทยและวันตามประทีปในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมง โดยจัดกันในเดือนเก้า (เดือนนะด่อ)



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บริการเดือนสิบเอ็ด
- เรียกว่าเดือนดะโบ๊ะดแว ( แอง . ค . - พ . . .) ในเดือนนี้ชาวพม่ารำลึกถึงพระพุทธเจ้าที่ย่อมต้องทรงผจญต่อภัยหนาวเช่นกันและเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์ชาวพม่าจึงจัดงานบุญบูชาไฟแด่พระพุทธและพระเจดีย์ซึ่งเป็นองค์แทนพระพุทธเจ้าค็อคงานบุญไฟ ) ปัจจุบันยังคงมีงานบุญเช่นนี้เฉพาะในบางท้องที่ของพม่าตอนบนในเดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือนกล่าวว่าพม่าจัดงานนี้มาแต่สมัยญองยางซึ่งพบเห็นทั่วไปในเขตพม่าตอนกลางและตอนบน
บริการเดือนสิบสอง
- เรียกว่าเดือนดะบอง ( . . พ - คอนโด . ค .) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาวและเริ่มเปลี่ยนไปสู่ฤดูร้อนในช่วงหลังของเดือนประเพณีสำคัญคืองานก่อเจดีย์ทรายโดยจะก่อทรายเป็นรูปจำลองเขาพระสุเมรุทำยอดซ้อนเป็น 5 ชั้นพม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ตามตำนานกล่าวว่าเดือนนี้เป็นเดือนที่เริ่มมีการสร้างเจดีย์พระเกศธาตุหรือพระเจดีย์ชเวดากองซึ่งตกในปีมหาศักราช 103เดือนดะบองนี้ถือเป็นเดือนสุดท้ายของปีตามศักราชพม่า
ในการกำหนดวันประเพณีเป็นวันหยุดราชการนั้นทางรัฐบาลกำหนดไว้เพียงบางวันได้แก่วันสงกรานต์ในเดือนดะกูจัดราววันที่เมษายนของทุกปี 13 - 17 ,วันรดน้ำต้นโพธิ์ค็อควันพุทธะในวันเพ็ญของเดือนกะโส่งตรงกับวันวิสาขบูชาของไทยวันธรรมจักรในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ตรงกับวันอาสาฬหบูชาของไทย , ,วันอภิธรรมในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ตตรงกับวันออกพรรษาของไทยและวันตามประทีปในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมงตรงกับวันลอยกระทงของไทย


สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือในอดีตนั้นงานประเพณีสิบสองเดือนของพม่าจะรวมเอาการบูชานัตหรือผีหลวงไว้ด้วยโดยจัดกันในเดือนเก้า ( เดือนนะด่อ ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็นงานเทิดเกียรติกวี
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: