2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนครูอิกค์แชงค์ (Cruickshank การแปล - 2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนครูอิกค์แชงค์ (Cruickshank ไทย วิธีการพูด

2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประ

2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอน
ครูอิกค์แชงค์ (Cruickshank. 1998 : 28-32) กล่าวถึงความสำคัญของการใช้เกมประกอบการสอนดังนี้
1. ช่วยพัฒนาทักษะทางการเรียนของเด็ก ๆ
2. เป็นการทบทวนวิชาที่เรียนไปแล้ว
3. เป็นการเพิ่มพูนทักษะที่ดีแก่ผู้เล่นทีละน้อยด้วยตัวของเขาเอง
4. ช่วยเสริมการสอนของครูให้น่าสนใจยิ่งขึ้น และช่วยแก้ไขปัญหาเรียนการการสอนที่น่าเบื่อ

นิตยา ฤทธิ์โยธี (2540 : 6) กล่าวว่า ความสำคัญของการใช้เกมช่วยให้บรรยากาศในการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวาสร้างความเป็นกันเองระหว่างครูและนักเรียนได้มากขึ้นเกมคำศัพท์เหล่านี้เป็นกิจกรรมช่วยส่งเสริมการเรียนรู้คำศัพท์ ให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษให้ดียิ่งขึ้น
ในด้านของการใช้เกมคำศัพท์ได้มีผู้ให้ความสำคัญไว้ดังนี้
เกมสามารถนำมาประยุกต์ในการสอนคำศัพท์เพื่อให้เกิดความสนุกสนานในบทเรียน และยงั สร้างความคงทนในการเรียนรู้ คำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีอีกด้วย นิตยา สุวรรณศรี (2540 : 51-58) Jones. (1999 : 1- 17) คณะนักวิชาการนานมีบุ๊คส์ (2543 : 127)

2.6 หลักการเลือกเกมเพื่อใช้ในการสอนภาษา
เกมภาษาที่จะนำมาใช้สอนหรือใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบทั้งในด้านปริมาณ คุณภาพ และความเป็นไปได้ ดังที่ มยุรี สุขวิวัฒน์ และคนอื่น ๆ (2539 : 779) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการเลือกเกมภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนดังต่อไปนี้
1. เวลา
ควรจะใช้เกมในช่วงท้าย ๆ ของชั่วโมง และไม่ควรจะใช้เวลามากนักครู ควรจะสั่งให้ผู้เรียนเลิกเล่นเกมทันทีที่นักเรียนใช้ภาษาในตอนนั้น ๆ ได้ดีแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องเล่นจนได้ตัวผู้ชนะ และให้เลิกเล่นเมื่อผู้เล่นเกิดความรู้สึกเบื่อ
2. จำนวนของผู้เรียนในชั้น
ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเล่นเกมภาษา ถ้านักเรียนมีจำนวนมากควรจะใช้กิจกรรมกลุ่มแทนกิจกรรมเดี่ยวและอาจจะผลัดกันเป็นผู้เล่น ผู้ดู และกรรมการก็ได้
3. เนื้อหาในห้องเรียน
ครูต้องพิจารณาว่า ถ้าจะเล่นเกมภาษานั้น ๆ จะต้องใช้เนื้อที่เพียงไร ผู้เรียนจะเคลื่อนที่ด้วยความสะดวกหรือไม่
4. เสียง
ในขณะที่เล่นผู้เรียนส่งเสียงอึกทึก รบกวนชั้นเรียนที่อยู่ใกล้เคียงหรือไม่
5. ความสนใจของผู้เรียน
เกมภาษาจะนำมาใช้นั้นผู้เรียนจะสนใจหรือไม่
6. อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จะใช้ในการเล่นเกม
ครูจะต้องเตรีมการล่วงหน้าเพื่อสั่งให้ผู้เรียนทำอุปกรณ์ที่จะใช้ในเกมนั้น ๆ หรือผู้เรียนนำมาจากบ้าน
7. วัฒนธรรม
เกมภาษานั้น ๆ ขัดกับวัฒนธรรมอันดีของไทยหรือไม่ ถ้าไม่เหมาะสมครูไม่ควรจะนำมาใช้

สรุปได้ว่า การเลือกเกมภาษาหรือการสร้างเกมภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนนั้นต้องคำนึงถึงเวลา สถานที่ จำนวนผู้เล่น อุปกรณ์ ตลอดจนความสนใจของนักเรียนต่อเกมภาษานั้นๆรวมทั้งคำนึงว่าไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมอีกด้วย

กรมวิชาการ (2542 : 35) ได้เสนอแนะหลักการในการพิจารณา ดังนี้
1. เกมต้องช่วยส่งเสริมเน้นจุดสำคัญของภาษาที่ผู้เรียนขาดสิ่งนั้นอยู่
2. เกมนั้นช่วยฝึกเนื้อหาต่าง ๆ ที่ครูได้สอนไปแล้วหรือไม่
3. เกมนั้นดำเนินไปรวดเร็วหรือไม่
4. เกมนั้นให้โอกาสผู้เรียนเป็นจำนวนมากได้มีส่วนร่วมและไม่ใช่ให้โอกาสเพียง 2-3 คนเล่นเท่านั้น
5. เกมนั้นทำให้ผู้เรียนเกิดความตื่นเต้นหรือไม่
6. เกมนั้นง่าย และเหมาะสมกับวัยและระดับของผู้เรียนหรือไม่ เพื่อที่จะได้ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยในการอธิบาย
7. เกมนั้นส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวเพียงพอ เพื่อให้เกิดความสนใจแก่ผู้เรียนหรือไม่
8. มีที่ว่างเพียงพอเพื่อการเล่นเกมนั้นอย่างสะดวกสบายหรือไม่
9. วัสดุที่ใช้ในการเล่นมีความปลอดภัยหรือไม่

จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ในการใช้เกมประกอบการสอนให้มีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนต้องรู้จักเลือกเกมให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ โดยอาศัยประสบการณ์ความรู้ความสามารถและทักษะในการเลือกเกมในการนำเกมมาใช้ จะต้องรู้ว่าเกมนั้น ๆ จะใช้ในขั้นไหน ขึ้นนำเข้าสู่บทเรียนขั้นสอน และขั้นปฏิบัติ ที่สำคัญต้องรู้จักใช้เกมให้เหมาะสมกับเวลา โอกาสความต้องการ ความสนใจ และความสามารถของนักเรียน ซึ่งเมื่อถึงเวลาเล่นเกม ควรที่จะแจ้งให้นักเรียนทราบล่วงหน้าว่า เกมชื่ออะไร มีกติกาการเล่นเป็นอย่างไร รวมทั้งวิธีการ และการปฏิบัติตัวของผู้เล่นมีจุดมุงหมายควรจะทำอย่างไรจนจบการแข่งขัน

3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเกมการสอนคำศัพท์
3.1 งานวิจัยต่างประเทศ
ดิกเกอร์สัน (Dickerson. 1976 : 6456-A) ทดลองเปรียบเทียบการจำคำศัพท์ของนักเรียนระดับ 1 โดยใช้เกมการเคลื่อนไหว (Active Games) เกมเฉื่อย (Passive Games) และกิจกรรมปกติ (Traditional Activity) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับ 1 จำนวน 274 คน เป็นนักเรียนหญิง 128 คน นักเรียนชาย 146 คน แต่ละกลุ่มได้รับการปฏิบัติดังนี้ กลุ่มเกมการเคลื่อนไหว เป็นการเล่นเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กลุ่มเกมเฉื่อยจะเล่นได้โดยใช้บัตรคำและกระดานดำ กลุ่มปกติใช้สมุดแบบฝึกหัด ผลการทดลองปรากฏว่า
1. กลุ่มเกมการเคลื่อนไหวผู้มีผลสัมฤทธิ์ในการจำแนกศัพท์สูงกว่ากลุ่มเกมเฉื่อย และกลุ่มที่ใช้กิจกรรมปกติ
2. กลุ่มเกมเฉื่อยมีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์สูงกว่าที่ใช้ในกิจกรรมปกติ
3. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มเกมการเคลื่อนไหวมีผลสัมฤทธิ์ในการจำสูงกว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้เกมเฉื่อย
4. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้เกมเฉื่อย มีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์สูงกว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้กิจกรรมปกติ
5. ในกลุ่มทดลองทั้ง 3 กลุ่ม มีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์ระหว่างนักเรียนชายและนักเรียนหญิงไม่แตกต่างกัน

เครก (Craig 1991 : 2263) แห่งมหาวิทยาลัยเซาท์เทอร์มิสซิสซิปปี้ ได้ศึกษาผลของการใช้เกมที่มีต่อทัศนคติต่อโรงเรียนของเด็กชายผิวดำ ระดับ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายผิวดำระดับ 3 จำนวน 112 คน คัดเลือกจากโรงเรียนประถมศึกษาในเมืองนิวออร์ลินส์ เป็นนักเรียนที่เรียนอ่อน 61 คน เรียนปานกลาง 51 คน โดยใช้เกมเข้าไปในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศิลปะด้านภาษาในกลุ่มทดลอง ส่วนนักเรียนที่เป็นกลุ่มควบคุมสอนวิธีธรรมดาไม่ได้ใช้เกมเข้าไปประกอบในการสอน ผลการวิจัยปรากฏว่าถ้านำเกมมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ ก็จะส่งผลต่อทัศนคติและคุณภาพทางการเรียนการสอนในทางบวกได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนครูอิกค์แชงค์ (Cruickshank. 1998:28-32) กล่าวถึงความสำคัญของการใช้เกมประกอบการสอนดังนี้1. ช่วยพัฒนาทักษะทางการเรียนของเด็กๆ2. เป็นการทบทวนวิชาที่เรียนไปแล้ว3. เป็นการเพิ่มพูนทักษะที่ดีแก่ผู้เล่นทีละน้อยด้วยตัวของเขาเอง4. ช่วยเสริมการสอนของครูให้น่าสนใจยิ่งขึ้นและช่วยแก้ไขปัญหาเรียนการการสอนที่น่าเบื่อนิตยาฤทธิ์โยธี (2540:6) กล่าวว่าความสำคัญของการใช้เกมช่วยให้บรรยากาศในการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวาสร้างความเป็นกันเองระหว่างครูและนักเรียนได้มากขึ้นเกมคำศัพท์เหล่านี้เป็นกิจกรรมช่วยส่งเสริมการเรียนรู้คำศัพท์ให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษให้ดียิ่งขึ้นในด้านของการใช้เกมคำศัพท์ได้มีผู้ให้ความสำคัญไว้ดังนี้ เกมสามารถนำมาประยุกต์ในการสอนคำศัพท์เพื่อให้เกิดความสนุกสนานในบทเรียนและยงัสร้างความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีอีกด้วยนิตยาสุวรรณศรี (2540:51-58) โจนส์ (1999:1 - 17) คณะนักวิชาการนานมีบุ๊คส์ (2543:127)2.6 หลักการเลือกเกมเพื่อใช้ในการสอนภาษาเกมภาษาที่จะนำมาใช้สอนหรือใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบทั้งในด้านปริมาณคุณภาพและความเป็นไปได้ดังที่มยุรีสุขวิวัฒน์และคนอื่นๆ (2539:779) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการเลือกเกมภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนดังต่อไปนี้1. เวลา ควรจะใช้เกมในช่วงท้ายๆ ของชั่วโมงและไม่ควรจะใช้เวลามากนักครูควรจะสั่งให้ผู้เรียนเลิกเล่นเกมทันทีที่นักเรียนใช้ภาษาในตอนนั้นๆ ได้ดีแล้วไม่จำเป็นจะต้องเล่นจนได้ตัวผู้ชนะและให้เลิกเล่นเมื่อผู้เล่นเกิดความรู้สึกเบื่อ2. จำนวนของผู้เรียนในชั้น ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเล่นเกมภาษาถ้านักเรียนมีจำนวนมากควรจะใช้กิจกรรมกลุ่มแทนกิจกรรมเดี่ยวและอาจจะผลัดกันเป็นผู้เล่นผู้ดูและกรรมการก็ได้3. เนื้อหาในห้องเรียนครูต้องพิจารณาว่าถ้าจะเล่นเกมภาษานั้นๆ จะต้องใช้เนื้อที่เพียงไรผู้เรียนจะเคลื่อนที่ด้วยความสะดวกหรือไม่4. เสียงในขณะที่เล่นผู้เรียนส่งเสียงอึกทึกรบกวนชั้นเรียนที่อยู่ใกล้เคียงหรือไม่5. ความสนใจของผู้เรียน เกมภาษาจะนำมาใช้นั้นผู้เรียนจะสนใจหรือไม่6. อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จะใช้ในการเล่นเกม ครูจะต้องเตรีมการล่วงหน้าเพื่อสั่งให้ผู้เรียนทำอุปกรณ์ที่จะใช้ในเกมนั้นๆ หรือผู้เรียนนำมาจากบ้าน7. วัฒนธรรม เกมภาษานั้นๆ ขัดกับวัฒนธรรมอันดีของไทยหรือไม่ถ้าไม่เหมาะสมครูไม่ควรจะนำมาใช้สรุปได้ว่าการเลือกเกมภาษาหรือการสร้างเกมภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนนั้นต้องคำนึงถึงเวลาสถานที่จำนวนผู้เล่นอุปกรณ์ตลอดจนความสนใจของนักเรียนต่อเกมภาษานั้นๆรวมทั้งคำนึงว่าไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอีกด้วยดังนี้ได้เสนอแนะหลักการในการพิจารณากรมวิชาการ (2542:35)1. เกมต้องช่วยส่งเสริมเน้นจุดสำคัญของภาษาที่ผู้เรียนขาดสิ่งนั้นอยู่2. เกมนั้นช่วยฝึกเนื้อหาต่างที่ครูได้สอนไปแล้วหรือไม่ๆ3. เกมนั้นดำเนินไปรวดเร็วหรือไม่4. คนเล่นเท่านั้นเกมนั้นให้โอกาสผู้เรียนเป็นจำนวนมากได้มีส่วนร่วมและไม่ใช่ให้โอกาสเพียง 2-35. เกมนั้นทำให้ผู้เรียนเกิดความตื่นเต้นหรือไม่6. เกมนั้นง่ายและเหมาะสมกับวัยและระดับของผู้เรียนหรือไม่เพื่อที่จะได้ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยในการอธิบาย7. เกมนั้นส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวเพียงพอเพื่อให้เกิดความสนใจแก่ผู้เรียนหรือไม่8. มีที่ว่างเพียงพอเพื่อการเล่นเกมนั้นอย่างสะดวกสบายหรือไม่9. วัสดุที่ใช้ในการเล่นมีความปลอดภัยหรือไม่จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าในการใช้เกมประกอบการสอนให้มีประสิทธิภาพครูผู้สอนต้องรู้จักเลือกเกมให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้โดยอาศัยประสบการณ์ความรู้ความสามารถและทักษะในการเลือกเกมในการนำเกมมาใช้จะต้องรู้ว่าเกมนั้นๆ จะใช้ในขั้นไหนขึ้นนำเข้าสู่บทเรียนขั้นสอนและขั้นปฏิบัติที่สำคัญต้องรู้จักใช้เกมให้เหมาะสมกับเวลาโอกาสความต้องการความสนใจและความสามารถของนักเรียนซึ่งเมื่อถึงเวลาเล่นเกมควรที่จะแจ้งให้นักเรียนทราบล่วงหน้าว่าเกมชื่ออะไรมีกติกาการเล่นเป็นอย่างไรรวมทั้งวิธีการและการปฏิบัติตัวของผู้เล่นมีจุดมุงหมายควรจะทำอย่างไรจนจบการแข่งขัน3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเกมการสอนคำศัพท์3.1 งานวิจัยต่างประเทศดิกเกอร์สัน (Dickerson. 1976:6456-A) ทดลองเปรียบเทียบการจำคำศัพท์ของนักเรียนระดับ 1 โดยใช้เกมการเคลื่อนไหว (เกมที่ใช้งาน) เกมเฉื่อย (เกมแฝง) และกิจกรรมปกติ (กิจกรรมดั้งเดิม) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับ 1 จำนวน 274 คนเป็นนักเรียนหญิง 128 คนนักเรียนชาย 146 คนแต่ละกลุ่มได้รับการปฏิบัติดังนี้กลุ่มเกมการเคลื่อนไหวเป็นการเล่นเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายกลุ่มเกมเฉื่อยจะเล่นได้โดยใช้บัตรคำและกระดานดำกลุ่มปกติใช้สมุดแบบฝึกหัดผลการทดลองปรากฏว่า1. กลุ่มเกมการเคลื่อนไหวผู้มีผลสัมฤทธิ์ในการจำแนกศัพท์สูงกว่ากลุ่มเกมเฉื่อยและกลุ่มที่ใช้กิจกรรมปกติ2. กลุ่มเกมเฉื่อยมีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์สูงกว่าที่ใช้ในกิจกรรมปกติ3. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มเกมการเคลื่อนไหวมีผลสัมฤทธิ์ในการจำสูงกว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้เกมเฉื่อย4. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้เกมเฉื่อยมีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์สูงกว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงในกลุ่มที่ใช้กิจกรรมปกติ5. ในกลุ่มทดลองทั้ง 3 กลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ในการจำคำศัพท์ระหว่างนักเรียนชายและนักเรียนหญิงไม่แตกต่างกันเครก (Craig 1991 : 2263) แห่งมหาวิทยาลัยเซาท์เทอร์มิสซิสซิปปี้ ได้ศึกษาผลของการใช้เกมที่มีต่อทัศนคติต่อโรงเรียนของเด็กชายผิวดำ ระดับ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายผิวดำระดับ 3 จำนวน 112 คน คัดเลือกจากโรงเรียนประถมศึกษาในเมืองนิวออร์ลินส์ เป็นนักเรียนที่เรียนอ่อน 61 คน เรียนปานกลาง 51 คน โดยใช้เกมเข้าไปในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศิลปะด้านภาษาในกลุ่มทดลอง ส่วนนักเรียนที่เป็นกลุ่มควบคุมสอนวิธีธรรมดาไม่ได้ใช้เกมเข้าไปประกอบในการสอน ผลการวิจัยปรากฏว่าถ้านำเกมมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ ก็จะส่งผลต่อทัศนคติและคุณภาพทางการเรียนการสอนในทางบวกได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.5
(Cruickshank 1998:. 28-32)
ช่วยพัฒนาทักษะทางการเรียนของเด็ก ๆ
2 เป็นการทบทวนวิชาที่เรียนไปแล้ว
3 ฤทธิ์โยธี (2540: 6) กล่าวว่า และยงัสร้างความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีอีกด้วยนิตยาสุวรรณศรี (2540: 51-58) โจนส์ (1999: 1- 17) คณะนักวิชาการนานมีบุ๊คส์ (2543: 127) 2.6 คุณภาพและความเป็นไปได้ดังที่มยุรีสุขวิวัฒน์และคนอื่น ๆ (2539: 779) เวลาควรจะใช้เกมในช่วงท้าย ๆ ของชั่วโมงและไม่ควรจะใช้เวลามากนักครู ๆ ได้ดีแล้วไม่จำเป็นจะต้องเล่นจนได้ตัวผู้ชนะ ผู้ดูและกรรมการก็ได้3 ถ้าจะเล่นเกมภาษานั้น ๆ จะต้องใช้เนื้อที่เพียงไร ๆ หรือผู้เรียนนำมาจากบ้าน7 วัฒนธรรมเกมภาษานั้น ๆ ขัดกับวัฒนธรรมอันดีของไทยหรือไม่ สถานที่จำนวนผู้เล่นอุปกรณ์ วัฒนธรรมอีกด้วยกรมวิชาการ (2542: 35) ได้เสนอแนะหลักการในการพิจารณาดังนี้1 เกมนั้นช่วยฝึกเนื้อหาต่าง ๆ ที่ครูได้สอนไปแล้วหรือไม่3 เกมนั้นดำเนินไปรวดเร็วหรือไม่4 2-3 คนเล่นเท่านั้น5 เกมนั้นง่าย จะต้องรู้ว่าเกมนั้น ๆ จะใช้ในขั้นไหนขึ้นนำเข้าสู่บทเรียนขั้นสอนและขั้นปฏิบัติ โอกาสความต้องการความสนใจและความสามารถของนักเรียนซึ่งเมื่อถึงเวลาเล่นเกม เกมชื่ออะไรมีกติกาการเล่นเป็นอย่างไรรวมทั้งวิธีการ งานวิจัยต่างประเทศดิกเกอร์สัน (นายอำเภอ 1976.-6456) 1 โดยใช้เกมการเคลื่อนไหว (ใช้งานเกม) เกมเฉื่อย (เกมแบบ Passive) และกิจกรรมปกติ (กิจกรรมดั้งเดิม) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับ 1 จำนวน 274 คนเป็นนักเรียนหญิง 128 คนนักเรียนชาย 146 คนแต่ละกลุ่มได้รับการปฏิบัติดังนี้กลุ่มเกม การเคลื่อนไหว ๆ ของร่างกาย กลุ่มปกติใช้สมุดแบบฝึกหัดผลการทดลองปรากฏว่า1 และกลุ่มที่ใช้กิจกรรมปกติ2 ในกลุ่มทดลองทั้ง 3 กลุ่ม (เครก 1991: 2263) ระดับ 3 3 จำนวน 112 คน เป็นนักเรียนที่เรียนอ่อน 61 คนเรียนปานกลาง 51 คน คณิตศาสตร์และศิลปะด้านภาษาในกลุ่มทดลอง ๆ
















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2.5 ความสำคัญของการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอน
ครูอิกค์แชงค์ ( กล้องอันนี้ . 2541 : 28 ) กล่าวถึงความสำคัญของการใช้เกมประกอบการสอนดังนี้
1 ไม่มีช่วยพัฒนาทักษะทางการเรียนของเด็ก
2 เป็นการทบทวนวิชาที่เรียนไปแล้ว
3เป็นการเพิ่มพูนทักษะที่ดีแก่ผู้เล่นทีละน้อยด้วยตัวของเขาเอง
4 ช่วยเสริมการสอนของครูให้น่าสนใจยิ่งขึ้นและช่วยแก้ไขปัญหาเรียนการการสอนที่น่าเบื่อ

นิตยาฤทธิ์โยธี ( 2540 :6 ) กล่าวว่าความสำคัญของการใช้เกมช่วยให้บรรยากาศในการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวาสร้างความเป็นกันเองระหว่างครูและนักเรียนได้มากขึ้นเกมคำศัพท์เหล่านี้เป็นกิจกรรมช่วยส่งเสริมการเรียนรู้คำศัพท์ในด้านของการใช้เกมคำศัพท์ได้มีผู้ให้ความสำคัญไว้ดังนี้
เกมสามารถนำมาประยุกต์ในการสอนคำศัพท์เพื่อให้เกิดความสนุกสนานในบทเรียนและยงัสร้างความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีอีกด้วยนิตยาสุวรรณศรี ( 2540 : 51-58 ) โจนส์ ( 2542 : 1 - 17 ) คณะนักวิชาการนานมีบุ๊คส์ ( 2543 : 127 )

26 หลักการเลือกเกมเพื่อใช้ในการสอนภาษา
เกมภาษาที่จะนำมาใช้สอนหรือใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบทั้งในด้านปริมาณคุณภาพและความเป็นไปได้ดังที่มยุรีสุขวิวัฒน์และคนอื่นไม่มี ( 2539 :779 ) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการเลือกเกมภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียนดังต่อไปนี้
1 เวลา
ควรจะใช้เกมในช่วงท้ายจะของชั่วโมงและไม่ควรจะใช้เวลามากนักครูควรจะสั่งให้ผู้เรียนเลิกเล่นเกมทันทีที่นักเรียนใช้ภาษาในตอนนั้นจะได้ดีแล้วไม่จำเป็นจะต้องเล่นจนได้ตัวผู้ชนะ2 . จำนวนของผู้เรียนในชั้น
ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเล่นเกมภาษาถ้านักเรียนมีจำนวนมากควรจะใช้กิจกรรมกลุ่มแทนกิจกรรมเดี่ยวและอาจจะผลัดกันเป็นผู้เล่นผู้ดูและกรรมการก็ได้
3เนื้อหาในห้องเรียน
ครูต้องพิจารณาว่าถ้าจะเล่นเกมภาษานั้นจะจะต้องใช้เนื้อที่เพียงไรผู้เรียนจะเคลื่อนที่ด้วยความสะดวกหรือไม่
4 เสียง
ในขณะที่เล่นผู้เรียนส่งเสียงอึกทึกรบกวนชั้นเรียนที่อยู่ใกล้เคียงหรือไม่
5 เกมภาษาจะนำมาใช้นั้นผู้เรียนจะสนใจหรือไม่ความสนใจของผู้เรียน

6 อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จะใช้ในการเล่นเกม
ครูจะต้องเตรีมการล่วงหน้าเพื่อสั่งให้ผู้เรียนทำอุปกรณ์ที่จะใช้ในเกมนั้นจะหรือผู้เรียนนำมาจากบ้าน
7 วัฒนธรรม
เกมภาษานั้นจะขัดกับวัฒนธรรมอันดีของไทยหรือไม่ถ้าไม่เหมาะสมครูไม่ควรจะนำมาใช้

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: