โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ การแปล - โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ ไทย วิธีการพูด

โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ท

โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000-1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1 : 50,000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II , III มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 ไร่



ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน เข้ามาร่วมดำเนินการ ส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้น ระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่า ให้ปลูกแฝกเสริมไปด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทราย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2535 ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ ในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริ ให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้มีพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่า อาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อว่า “โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1.จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น และจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้น และเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2.ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่า จะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้ และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3.จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่า ผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4.เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5.เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศน์วิทยา การอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้ง นั้น สาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า และสวนพฤกษศาสตร์มีวัชพืชขึ้นปกคลุมหนาแน่น เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืช เมื่อถึงฤดูแล้ง วัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดี ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่า ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรง และน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้ว เพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะ ๆ ให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแอ่ง เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดิน ทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่ง มีความชุ่มชื้นเขียวขจี สามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า และการก่อสร้างบ่อ ตักตะกอน เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดิน ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ตำบลหนองพลับอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และตำบลไร่ใหม่พัฒนาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000 1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II ไร่มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 III


ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทยเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี จึงมีพระราชดำริเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคมพม.ร.วให้ศ. 2536ดิศนัดดาดิศกุลเลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงและนายสุเมธตันติเวชกุลเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง โดยให้มีหน่วยงานต่าง ๆ อาทิกรมป่าไม้กรมชลประทานและกรมพัฒนาที่ดินเข้ามาร่วมดำเนินการส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้นระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้านและในพื้นที่โครงการปลูกป่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทรายเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคมพ.ศ2535 ในโอกาสนี้อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝกได้ทรงมีพระราชดำริให้กรมป่าไม้กรมชลประทานและกรมพัฒนาที่ดิน เมื่อปีพศ 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตายซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่าอาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ๆ ได้ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทานโดยให้ชื่อว่า "โครงการปลูกป่าชัยพัฒนาแม่ฟ้าหลวง"

วัตถุประสงค์
1 เพื่อการอนุรักษ์พัฒนาฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติทั้งในด้านป่าไม้แหล่งน้ำดินรวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่นๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดินโดยการปลูกป่าและ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝกและการจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติให้กับประชาชนในท้องถิ่นและให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3 เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4 เพื่อนำผลงานการศึกษาทดลองจากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่างๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5 เพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ


ผลประโยชน์
1จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้นและจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้นและเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่าจะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่าผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำนำไปขยายผลในพื้นที่อื่นๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ระบบนิเวศน์วิทยาการอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป


ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้งนั้นสาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ดินขาดความชุ่มชื้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืชเมื่อถึงฤดูแล้งวัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดีประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่าที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้นควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรงและน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้วเพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะๆ เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดินทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่งมีความชุ่มชื้นเขียวขจีสามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า ตักตะกอนเพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดินทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000-1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1 : 50,000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II , III มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 ไร่



ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน เข้ามาร่วมดำเนินการ ส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้น ระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่า ให้ปลูกแฝกเสริมไปด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทราย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2535 ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ ในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริ ให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้มีพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่า อาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อว่า “โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1.จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น และจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้น และเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2.ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่า จะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้ และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3.จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่า ผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4.เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5.เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศน์วิทยา การอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้ง นั้น สาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า และสวนพฤกษศาสตร์มีวัชพืชขึ้นปกคลุมหนาแน่น เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืช เมื่อถึงฤดูแล้ง วัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดี ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่า ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรง และน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้ว เพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะ ๆ ให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแอ่ง เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดิน ทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่ง มีความชุ่มชื้นเขียวขจี สามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า และการก่อสร้างบ่อ ตักตะกอน เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดิน ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
( แม่ฟ้าหลวง )

ที่ตั้งโครงการตั้งอยู่ตำบลหนองพลับอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และตำบลไร่ใหม่พัฒนาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีค่าพิกัด x = y = 1393000-1399000 580000-584000 ในระบบ wgs 84 บนแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1 : 50 , 000 ลำดับชุด l7018 ระวาง 4934 23 มีเนื้อที่ประมาณ 10300 ไร่




ความเป็นมาของโครงการพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทยเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครองราชย์ได้ 50 .จึงมีพระราชดำริเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคมพ .ศ . 2536 ให้แอง . Flying ว .ดิศนัดดาดิศกุลเลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงและนายสุเมธตันติเวชกุลเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงโดยให้มีหน่วยงานต่างๆอาทิกรมป่าไม้กรมชลประทานและกรมพัฒนาที่ดินเข้ามาร่วมดำเนินการส่วนการดำเนินงานโครงการฯนั้นระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้านและในพื้นที่โครงการปลูกป่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทรายเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคมพ . ศ .2535 ในโอกาสนี้อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝกได้ทรงมีพระราชดำริให้กรมป่าไม้กรมชลประทานและกรมพัฒนาที่ดินเมื่อปีพ .ศ .2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตายซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯนี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่าอาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆได้ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทานโดยให้ชื่อว่า " โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา - แม่ฟ้าหลวง "
วัตถุประสงค์

1เพื่อการอนุรักษ์พัฒนาฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติทั้งในด้านป่าไม้แหล่งน้ำดินรวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่นจะให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดินโดยการปลูกป่าและฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝกและการจัดหาแหล่งน้ำ
2 . เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติให้กับประชาชนในท้องถิ่นและให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4 เพื่อนำผลงานการศึกษาทดลองจากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่างจะตามพระราชดำริมาขยายผล
5เพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้นและจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้นและเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่าจะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่าผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำนำไปขยายผลในพื้นที่อื่นจะที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ระบบนิเวศน์วิทยาการอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯบ่อยครั้งนั้นสาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ดินขาดความชุ่มชื้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่าเนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืชเมื่อถึงฤดูแล้งวัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดีประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง


ข้อเสนอแนะสำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่าที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้นควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรงและน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้วเพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะไม่มีเพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดินทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่งมีความชุ่มชื้นเขียวขจีสามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่าตักตะกอนเพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดินทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: