งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาและกำหนดอายุสมัยของแห การแปล - งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาและกำหนดอายุสมัยของแห ไทย วิธีการพูด

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาและกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรัง 2. เพื่อศึกษาลักษณะการใช้พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในอดีตของจังหวัดตรัง 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรังกับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีป มีผลการศึกษา ดังนี้

1. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรัง จำนวน 11 แหล่ง แบ่งออกได้เป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลโบราณ หรืออยู่ด้านในภาคพื้นทวีปปัจจุบัน จำนวน 4 แหล่ง กำหนดอายุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 10,000 – 2,000 ปีมาแล้ว และแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลปัจจุบัน จำนวน 7 แหล่ง กำหนดอายุตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ประมาณ 4,000 – 2,000 ปีมาแล้ว) – สมัยประวัติศาสตร์ (ราวพุทธศตวรรษที่ 16 – 25)
2. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรังที่พบถูกใช้พื้นที่แตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ของแหล่ง เช่น เป็นที่พักอาศัยชั่วคราว จุดจอดพักหลบลมมรสุม และแหล่งฝังศพ
3. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรัง มีความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีป โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีที่มีความสอดคล้องกับแหล่งโบราณคดีที่พบในภาคพื้นทวีปหลายสมัย เช่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบภาพเขียนสีที่แหล่งโบราณคดีอ่าวบุญคง มีลักษณะคล้ายกับที่แหล่งโบราณคดีเขาสามบาตร อายุราว 4,000 – 2,000 ปีมาแล้ว สมัยประวัติศาสตร์ พบเครื่องถ้วยจีนหลายสมัยที่สามารถนำมาศึกษาเปรียบเทียบเพื่อกำหนดอายุสมัยซึ่งพบในแหล่งโบราณคดีในจังหวัดตรังหลายแห่งทั้งในภาคพื้นทวีปและบริเวณชายฝั่งทะเลเป็นหลักฐานส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาและกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรัง 2. เพื่อศึกษาลักษณะการใช้พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในอดีตของจังหวัดตรัง 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรังกับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีป มีผลการศึกษา ดังนี้ 1. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรัง จำนวน 11 แหล่ง แบ่งออกได้เป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลโบราณ หรืออยู่ด้านในภาคพื้นทวีปปัจจุบัน จำนวน 4 แหล่ง กำหนดอายุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 10,000 – 2,000 ปีมาแล้ว และแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลปัจจุบัน จำนวน 7 แหล่ง กำหนดอายุตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ประมาณ 4,000 – 2,000 ปีมาแล้ว) – สมัยประวัติศาสตร์ (ราวพุทธศตวรรษที่ 16 – 25) 2. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรังที่พบถูกใช้พื้นที่แตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ของแหล่ง เช่น เป็นที่พักอาศัยชั่วคราว จุดจอดพักหลบลมมรสุม และแหล่งฝังศพ 3. แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรัง มีความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีป โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีที่มีความสอดคล้องกับแหล่งโบราณคดีที่พบในภาคพื้นทวีปหลายสมัย เช่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบภาพเขียนสีที่แหล่งโบราณคดีอ่าวบุญคง มีลักษณะคล้ายกับที่แหล่งโบราณคดีเขาสามบาตร อายุราว 4,000 – 2,000 ปีมาแล้ว สมัยประวัติศาสตร์ พบเครื่องถ้วยจีนหลายสมัยที่สามารถนำมาศึกษาเปรียบเทียบเพื่อกำหนดอายุสมัยซึ่งพบในแหล่งโบราณคดีในจังหวัดตรังหลายแห่งทั้งในภาคพื้นทวีปและบริเวณชายฝั่งทะเลเป็นหลักฐานส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1 2 3 มีผลการศึกษาดังนี้1 จำนวน 11 แหล่ง หรืออยู่ด้านในภาคพื้นทวีปปัจจุบันจำนวน 4 แหล่งกำหนดอายุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ประมาณ 10,000 - 2,000 ปีมาแล้ว จำนวน 7 แหล่ง (ประมาณ 4,000 - 2,000 ปีมาแล้ว) - สมัยประวัติศาสตร์ (ราวพุทธศตวรรษที่ 16-25) 2 เช่นเป็นที่พักอาศัยชั่วคราวจุดจอดพักหลบลมมรสุมและแหล่งฝังศพ3 เช่นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ อายุราว 4,000 - 2,000 ปีมาแล้วสมัยประวัติศาสตร์




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 เพื่อศึกษาและกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรัง 2 เพื่อศึกษาลักษณะการใช้พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในอดีตของจังหวัดตรัง 3เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งโบราณคดีชายฝั่งและหมู่เกาะของจังหวัดตรังกับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีปมีผลการศึกษาดังนี้

1แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรังจำนวน 11 แหล่งแบ่งออกได้เป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลโบราณหรืออยู่ด้านในภาคพื้นทวีปปัจจุบันจำนวน 4 แหล่งประมาณ 10000 – 2000 ปีมาแล้วและแหล่งโบราณคดีที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลปัจจุบันจำนวน 7 แหล่งกำหนดอายุตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ( ประมาณ 4000 – 2000 ปีมาแล้ว ) –สมัยประวัติศาสตร์ ( 16 ราวพุทธศตวรรษที่– 25 )
2แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรังที่พบถูกใช้พื้นที่แตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ของแหล่งเช่นเป็นที่พักอาศัยชั่วคราวจุดจอดพักหลบลมมรสุมและแหล่งฝังศพ
3แหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะในจังหวัดตรังมีความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในภาคพื้นทวีปโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีที่มีความสอดคล้องกับแหล่งโบราณคดีที่พบในภาคพื้นทวีปหลายสมัยเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: