พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) ตั้งอยู่ที่ถนนจะนะใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห การแปล - พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) ตั้งอยู่ที่ถนนจะนะใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห ไทย วิธีการพูด

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) ตั้งอ

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) ตั้งอยู่ที่ถนนจะนะใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) บิดาของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ พิพิธภัณฑ์ฯ เป็นสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยที่สร้างขึ้นเพื่อจำลองสถานที่เกิดของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและรัฐบุรุษซึ่งเป็นชาวจังหวัดสงขลา

จากคำบอกเล่าความทรงจำในอดีตสมัยที่บิดาของท่านดำรงตำแหน่งพัสดีเรือนจำสงขลา "พะทำมะรง" เป็นตำแหน่งเก่าของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีควบคู่กับตำแหน่งพัสดีปรากฎหลักฐานอยู่ในกฎหมายตราสามดวง และอัยการลักษณะต่าง ๆ ตำแหน่งพะทำมะรงได้ใช้ติดต่อกันมาตลอดจนได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์(พะธำมะรง) เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา จัดสร้างขึ้นโดยกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้น ทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2530 บนพื้นที่ 143.5 ตารางวา งบประมาณ 736,039.26 บาท เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 โดยนายพิศาล มูลศาสตร์สาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้อนุชนรุ่นหลังได้ระลึกถึงตำแหน่ง "พระทำมะรง" (เดิมใช้คำว่า "พธำมะรงค์") อันเป็นตำแหน่งเก่าแก่ของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในขณะเดียวกันก็เป็นการเชิดชูวงศ์ตระกูล "ติณสูลานนท์" ที่ครั้งหนึ่งรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) บิดาของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี ท่านได้เคยดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลา (พ.ศ.2457) จนกระทั่งได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2497 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์(พะธำมะรง) จังหวัดสงขลา เป็นพิพิธภัณฑสถานที่จำลองรูปแบบบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรมในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลาจากความทรงจำของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียวหลังคาทรงปั้นหยาสองหลังคู่มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกัน ภายในมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีตและประวัติสกุลวงศ์ ปัจจุบัน เทศบาลนครสงขลาเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) ตั้งอยู่ที่ถนนจะนะใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาซึ่งเป็นสถานที่ตั้งบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้งติณสูลานนท์) บิดาของฯพณฯ พลเอกเปรมติณสูลานนท์พิพิธภัณฑ์ฯ เป็นสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยที่สร้างขึ้นเพื่อจำลองสถานที่เกิดของฯพณฯ พลเอกเปรมติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีและรัฐบุรุษซึ่งเป็นชาวจังหวัดสงขลาจากคำบอกเล่าความทรงจำในอดีตสมัยที่บิดาของท่านดำรงตำแหน่งพัสดีเรือนจำสงขลา "พะทำมะรง" เป็นตำแหน่งเก่าของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีควบคู่กับตำแหน่งพัสดีปรากฎหลักฐานอยู่ในกฎหมายตราสามดวงและอัยการลักษณะต่างๆ ตำแหน่งพะทำมะรงได้ใช้ติดต่อกันมาตลอดจนได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์พ.ศ. 2479 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไปพิพิธภัณฑ์พธำมรงค์(พะธำมะรง)เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลาจัดสร้างขึ้นโดยกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้นทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคมพ.ศ. 2530 บนพื้นที่ 143.5 ตารางวางบประมาณ 736,039.26 บาทเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายนพ.ศ. 2532 โดยนายพิศาลมูลศาสตร์สาทรปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ให้อนุชนรุ่นหลังได้ระลึกถึงตำแหน่ง "พระทำมะรง" (เดิมใช้คำว่า "พธำมะรงค์") อันเป็นตำแหน่งเก่าแก่ของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีในขณะเดียวกันก็เป็นการเชิดชูวงศ์ตระกูล "ติณสูลานนท์" ที่ครั้งหนึ่งรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้งติณสูลานนท์) บิดาของพลเอกเปรมติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีท่านได้เคยดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลา (พ.ศ.2457) จนกระทั่งได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์พุทธศักราช 2497 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไปพิพิธภัณฑ์พธำมรงค์(พะธำมะรง)จังหวัดสงขลาเป็นพิพิธภัณฑสถานที่จำลองรูปแบบบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรมในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลาจากความทรงจำของพลเอกเปรมติณสูลานนท์ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียวหลังคาทรงปั้นหยาสองหลังคู่มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกันภายในมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีตและประวัติสกุลวงศ์ปัจจุบันเทศบาลนครสงขลาเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ (พะธำมะรง) สงขลา (บึ้งติณสูลานนท์) บิดาของ ฯพณฯ พลเอกเปรมติณสูลานนท์พิพิธภัณฑ์ฯ ฯพณฯ พลเอกเปรมติณสูลานนท์ "พะทำมะรง" และอัยการลักษณะต่าง ๆ พ.ศ. 2479 ทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2530 บนพื้นที่ 143.5 ตารางวางบประมาณ 736,039.26 บาทเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 โดยนายพิศาลมูลศาสตร์สาทรปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น "พระทำมะรง" (เดิมใช้คำว่า "พธำมะรงค์") "ติณสูลานนท์" (บึ้งติณสูลานนท์) บิดาของพลเอกเปรมติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2457) พุทธศักราช 2497 จังหวัดสงขลา ติณสูลานนท์ ปัจจุบัน





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ ( พะธำมะรง ) ตั้งอยู่ที่ถนนจะนะใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาซึ่งเป็นสถานที่ตั้งบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม ( บึ้งติณสูลานนท์ ) บิดาของฯพณฯพลเอกเปรมติณสูลานนท์เป็นสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยที่สร้างขึ้นเพื่อจำลองสถานที่เกิดของฯพณฯพลเอกเปรมติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีและรัฐบุรุษซึ่งเป็นชาวจังหวัดสงขลา

จากคำบอกเล่าความทรงจำในอดีตสมัยที่บิดาของท่านดำรงตำแหน่งพัสดีเรือนจำสงขลา " พะทำมะรง " เป็นตำแหน่งเก่าของข้าราชการกรมราชทัณฑ์และอัยการลักษณะต่างจะตำแหน่งพะทำมะรงได้ใช้ติดต่อกันมาตลอดจนได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์พ .ศ . 2479 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ ( พะธำมะรง ) เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลาจัดสร้างขึ้นโดยกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้นทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคมพ . ศ . 2530 บนพื้นที่ 143 .5 ตารางวางบประมาณ 736039.26 บาทเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายนพ . ศ .2532 โดยนายพิศาลมูลศาสตร์สาทรปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ให้อนุชนรุ่นหลังได้ระลึกถึงตำแหน่ง " พระทำมะรง " ( เดิมใช้คำว่า " พธำมะรงค์ " )ในขณะเดียวกันก็เป็นการเชิดชูวงศ์ตระกูล " ติณสูลานนท์ " ที่ครั้งหนึ่งรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม ( บึ้งติณสูลานนท์ ) บิดาของพลเอกเปรมติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีท่านได้เคยดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลาศ . 1 ) จนกระทั่งได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์พุทธศักราช 2497 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ ( พะธำมะรง ) จังหวัดสงขลาเป็นพิพิธภัณฑสถานที่จำลองรูปแบบบ้านพักเดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรมในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งพะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลาจากความทรงจำของพลเอกเปรมติณสูลานนท์ภายในมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีตและประวัติสกุลวงศ์ปัจจุบันเทศบาลนครสงขลาเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: