5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างความเครียดและความต้องการควบคุมน้าหนักของวัยรุ่นไทยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หาความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการลดน้าหนักของวัยรุ่นไทยโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมอย่างมีเหตุผล (Theory of Resasoned Action) เป็นพื้นฐานทาการในกลุ่มวัยรุ่นไทยที่กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงระดับปริญญาตรีของประเทศไทยจานวน 492 คนเครื่องมือในการศึกษาผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญและให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.8803 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) หาความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) พบว่า 22 ข้อคาถามเรื่องทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างประกอบด้วย 4 องค์ประกอบที่สามารถอธิบายความแปรปรวนในเรื่องที่จะศึกษาได้ร้อยละ 51.81 ผลการสำรวจพบว่าวัยรุ่นให้อัตราการตอบกลับ 42.0 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับการตัดสินใจลดน้าหนักด้วยไคสแควร์ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) รวมทั้งการหาสมการทานายการตัดสินใจลดน้าหนักของวัยรุ่นด้วยสมการถดถอยโลจิสติก (Logistic Pegression Analysis) พบว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่พึงพอใจในรูปร่างของตนเองมักให้ความคิดเห็นว่ารูปร่างของตนเองอ้วนกว่าความจริงและด้วยกว่าค่าดัชนีมวลกายมาตรฐาน (BMI) ที่องค์การอนามัยโลกกำหนดโดยวัยรุ่นและที่คิดว่าตนเองอ้วนมากร้อยละ64.7 อยู่ในเกณฑ์รูปร่างมาตรฐานตามดัชนีมวลกายปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของวัยรุ่นคือการรับรู้รูปร่างผ่านคนรอบข้างเช่นนพมาศศรีขวัญ (2547) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมกลุ่มพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงเป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นหญิงจานวน 90 รายที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชุดคือแบบสอบถามทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับผลของการลดน้าหนักกับแบบสอบถามการประเมินผลของการลดน้าหนักตามความเชื่อแบบสอบถามการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมกับแบบสอบถามการรับรู้การ14
ควบคุมพฤติกรรมและแบบสอบถามพฤติกรรมการลดน้าหนักผ่านการตรวจสอบถามตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงโดยวิธีแอลฟ่าครอนบาคมีค่าเท่ากับ .73, .88, .94, .86, .73, .81, และ .86 ตามลาดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยการเบี่ยงเบนมาตรฐานหาความสัมพันธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงถูกต้องระดับปานกลาง ( = 59.44) 2 วัยรุ่นหญิงมีทัศนคติทางบวกต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักในระดับต่ำ ( = 23.30) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่นหญิง (r = .283, p < .05) 4. ทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยกลุ่มอ้างอิงสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่น (= .089, F = 2.792, p < .05)
ปวีณายุกตานนท์ (2549) ศึกษาปัจจัยคิดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีอายุระหว่าง 18 – 21 ปีในเขตกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างจานวน 416 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนจานวน 210 คนและกลุ่มที่ไม่มีพฤติกรรมใช้ยาลดความอ้วนจานวน 206 คนโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบลดความพึงพอใจในรูปลักษณ์แบบวัดอิทธิพลของสื่อแบบวัดอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนแบบวัดอิทธิของครอบครัวและแบบวัดความเชื่อเกี่ยวกับยาลดความอ้วนข้อมูลวิเคราะห์โดยสถิติการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเข้าชมการจำแนกกลุ่ม (Stepwise) โดยใช้สถิติทดสอบWilks’ Lamdaเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ผลการวิจัยแสดงว่ามี 5 ปัจจัยที่มีค่าอำนาจจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีและไม่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ความเชื่อในประสิทธิภาพของยาลดความอ้วนความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์อิทธิพลของสื่อความเชื่อในผลกระทบของยาลดความอ้วนและรายได้เฉลี่ยแต่ละเดือนโดยทั้ง 5 ปัจจัยสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีความถูกต้องในการพยากรณ์อำนาจจำแนกสูงร้อยละ 97.40
นฤมลฝีปากเพราะ (2549) ศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาณช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 701 คนโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามทัศนคติเรื่องโรคอ้วนแบบสอบถามอัตมโนทัศน์แบบวัดการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการลดน้าหนักและจำแนกกลุ่มตัวอย่างตามดัชนีมวลกายได้กลุ่มตัวอย่างที่มีโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independence t-test, Pearson correlation, multiple regression ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเผชิญปัญญาหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินเหมาะสมปานกลาง 67.8% มีพฤติกรรมลดน้าหนักไม่เหมาะสม 16
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างความเครียดและความต้องการควบคุมน้าหนักของวัยรุ่นไทยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หาความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการลดน้าหนักของวัยรุ่นไทยโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมอย่างมีเหตุผล (Theory of Resasoned Action) เป็นพื้นฐานทาการในกลุ่มวัยรุ่นไทยที่กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงระดับปริญญาตรีของประเทศไทยจานวน 492 คนเครื่องมือในการศึกษาผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญและให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (ของ Cronbach สัมประสิทธิ์อัลฟา) เท่ากับ 0.8803 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (การวิเคราะห์ปัจจัย) หาความตรงเชิงโครงสร้าง (สร้างตั้งแต่) พบว่า 22 ข้อคาถามเรื่องทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างประกอบด้วย 4 องค์ประกอบที่สามารถอธิบายความแปรปรวนในเรื่องที่จะศึกษาได้ร้อยละ 51.81 ผลการสำรวจพบว่าวัยรุ่นให้อัตราการตอบกลับ 42.0 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับการตัดสินใจลดน้าหนักด้วยไคสแควร์ t-ทดสอบและการวิเคราะห์ความแปรปรวน (วิเคราะห์ของผลต่าง) รวมททพบว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่พึงพอใจในรูปร่างของตนเองมักให้ความคิดเห็นว่ารูปร่างของตนเองอ้วนกว่าความจริงและด้วยกว่าค่าดัชนีมวลกายมาตรฐาน (BMI) ั้งการหาสมการทานายการตัดสินใจลดน้าหนักของวัยรุ่นด้วยสมการถดถอยโลจิสติก (โลจิสติก Pegression วิเคราะห์)ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระห ี่องค์การอนามัยโลกกำหนดโดยวัยรุ่นและที่คิดว่าตนเองอ้วนมากร้อยละ64.7 อยู่ในเกณฑ์รูปร่างมาตรฐานตามดัชนีมวลกายปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของวัยรุ่นคือการรับรู้รูปร่างผ่านคนรอบข้างเช่นนพมาศศรีขวัญ (2547)ว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมกลุ่มพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงเป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรัชุดคือแบบสอบถามทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักประกอบด้วยแบบสอบถามความเรายที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 บรู้การควบคุมพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นหญิงจานวน 90ชื่อเกี่ยวกับผลของการลดน้าหนักกับแบบสอบถามการประเมินผลของการลดน้าหนักตามความเชื่อแบบสอบถามการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมกับแบบสอบถามการรับรู้การ14ควบคุมพฤติกรรมและแบบสอบถามพฤติกรรมการลดน้าหนักผ่านการตรวจสอบถามตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงโดยวิธีแอลฟ่าครอนบาคมีค่าเท่ากับ .73, .88, .94, .86, .73, .81, และ .86 ตามลาดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยการเบี่ยงเบนมาตรฐานหาความสัมพันธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงถูกต้องระดับปานกลาง ( = 59.44) 2 วัยรุ่นหญิงมีทัศนคติทางบวกต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักในระดับต่ำ ( = 23.30) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่นหญิง (r = .283, p < .05) 4. ทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยกลุ่มอ้างอิงสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่น (= .089, F = 2.792, p < .05) ปวีณายุกตานนท์ (2549) ศึกษาปัจจัยคิดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีอายุระหว่าง 18 – 21 ปีในเขตกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างจานวน 416 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนจานวน 210 คนและกลุ่มที่ไม่มีพฤติกรรมใช้ยาลดความอ้วนจานวน 206 คนโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบลดความพึงพอใจในรูปลักษณ์แบบวัดอิทธิพลของสื่อแบบวัดอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนแบบวัดอิทธิของครอบครัวและแบบวัดความเชื่อเกี่ยวกับยาลดความอ้วนข้อมูลวิเคราะห์โดยสถิติการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเข้าชมการจำแนกกลุ่ม (Stepwise) โดยใช้สถิติทดสอบWilks’ Lamdaเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ผลการวิจัยแสดงว่ามี 5 ปัจจัยที่มีค่าอำนาจจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีและไม่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ความเชื่อในประสิทธิภาพของยาลดความอ้วนความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์อิทธิพลของสื่อความเชื่อในผลกระทบของยาลดความอ้วนและรายได้เฉลี่ยแต่ละเดือนโดยทั้ง 5 ปัจจัยสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีความถูกต้องในการพยากรณ์อำนาจจำแนกสูงร้อยละ 97.40 นฤมลฝีปากเพราะ (2549) ศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาณช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 701 คนโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามทัศนคติเรื่องโรคอ้วนแบบสอบถามอัตมโนทัศน์แบบวัดการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการลดน้าหนักและจำแนกกลุ่มตัวอย่างตามดัชนีมวลกายได้กลุ่มตัวอย่างที่มีโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independence t-test, Pearson correlation, multiple regression ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเผชิญปัญญาหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินเหมาะสมปานกลาง 67.8% มีพฤติกรรมลดน้าหนักไม่เหมาะสม 16
การแปล กรุณารอสักครู่..
5
(2547) (ทฤษฎีของการดำเนินการ Resasoned) 492 (ตั้งแต่วันที่เนื้อหา) (ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach) เท่ากับ 0.8803 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (ปัจจัย Analysis) หาความตรงเชิงโครงสร้าง (สร้างตั้งแต่วัน) พบว่า 22 4 51.81 42.0 t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (การวิเคราะห์ความแปรปรวน) (โลจิสติกการวิเคราะห์ Pegression) (BMI) (2547) 90 4
0.73, 0.88, 0.94, 0.86, 0.73, 0.81, และ. 86 1 (= 59.44) 2 (= 23.30) (r = 0.283, p <0.05) 4 (= 0.089, F = 2.792, p <0.05)
ปวีณายุกตานนท์ (2549) 18-21 416 คนแบ่งเป็น 2 210 206 (วิเคราะห์จำแนก) (แบบขั้นตอน) โดยใช้สถิติทดสอบวิลก์ส ' 5 5 2 0.001 97.40
นฤมลฝีปากเพราะ (2549) 3 3 3 จานวน 701 อิสรภาพ t-test สหสัมพันธ์เพียร์สันถดถอยพหุคูณ 67.8% มีพฤติกรรมลดน้าหนักไม่เหมาะสม 16
การแปล กรุณารอสักครู่..