ประวัติและตำนานวัดจะทิ้งพระคำ ว่าจะทิ้งพระ กร่อนมาจากสทิงปุระ เมืองพาร การแปล - ประวัติและตำนานวัดจะทิ้งพระคำ ว่าจะทิ้งพระ กร่อนมาจากสทิงปุระ เมืองพาร ไทย วิธีการพูด

ประวัติและตำนานวัดจะทิ้งพระคำ ว่าจะ

ประวัติและตำนานวัดจะทิ้งพระ

คำ ว่าจะทิ้งพระ กร่อนมาจากสทิงปุระ เมืองพาราณสี ซึ่งเป็นชื่อเมืองพัทลุงเก่าตั้งอยู่ ตั้งเมืองสทิงพระครั้งเมื่อกาลเวลาล่วงเลยมานับเป็นพันปี ชื่อสทิงปุระ จึงกร่อนมาเป็นจะทิ้งพระ สทิงพระเป็นชื่อสถานที่กลายเป็นชื่อวัด ชื่อตำบล และอำเภอ บนคาบสมุทรสทิงพระ วัดนี้แต่เดิมเคยมีชื่อเรียกว่าวัดพระมหาธาตุ มีมหาธาตุเจดีย์ตั้งอยู่สูงตระหง่าน ต่อมาเรียกชื่อว่า วัดจะทิ้งพระ จะทิ้งพระชื่อของวัดในปัจจุบันใกล้เคียงกับชื่อเมืองสทิงพระ(สทิงปุระ หรือสทิงพาราณสี) ซึ่งพระยากรงทองเจ้าเมืองพัทลุงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1482 ตรงกับสมัยกรุงสุโขทัย ดังข้อความตอนหนึ่งในหนังสือประชุมพงศาวดารภาค 15บันทึกไว้ว่า "เมืองพัทลุงได้ตั้งมาก่อนพ.ศ.1480 ตัวเมืองตั้งอยุ่ที่สทิงพระ เจ้าเมืองชื่อพระยากรงทองได้ครองเมืองพัทลุง ในวันพฤหัสบดี เดือน 8 ขึ้น 5 ค่ำ ปีกุน พุทธศักราช1482 พระยากรงทองได้สร้างพระมหาธาตุเจดีย์ และก่อพระเชตุพนวิหารขึ้น พร้อมกับวัดเขียนบางแก้ว และวัดสทิงปุระ ได้สร้างพระเจดีย์เอาไว้ที่นครปาตลีบุตร(เมืองพัทลุง)สทิงพารณสีแห่งนี้ เพราะแหล่งวัดเขียนบางแก้วและบนคาบสมุทรสทิงพระเป็นแหล่งชุมชนโบราณ

นักโบราณคดีมีทัสนะแนวความคิดว่า ชื่อของวัดจะทิ้งพระนี้ คนในสมัยโบราณรับคำพูดเล่าต่อๆกันมาว่า เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลา และเจ้าฟ้าชายนนทกุมาร มาเป็นชื่อของสถานที่มี้รื่องนิทานชาวบ้านเล่าสืบต่อกันมามาว่า เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมาร เป็นพระธิดาและพระโอรสของพระเจ้าโกสีหราชกับพระนางมหาเทวี ครองเมืองนครทันตะปุระ(ประเทศอินเดีย) ขณะนั้นเมืองทันตะปุระเกิดศึกสงครามพระเจ้าโกสีหราชแพ้สงครามถึงกับสวรรคตใน สนามรบ เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลา และเจ้าฟ้าชายทนทกุมาร จึงได้นำพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าหลบหนีออกจากเมืองทันตะปุระตามคำสั่งของ พระชนก ลงเรืองสำเภามุ่งสู่ประเทศศรีลังกา(เกาะลังกา)แล้วเดินทางผ่านหมู่เกาะอันดามันในมหาสมุทรอินเดีย เข้าสู่ช่องแคบมะละกา มาออกอ่าวไทย จุดมุ่งหมายเพื่อนำพระบรมธาตุไปบรรจุพระเจดีย์ที่เมืองนครศรีธรรมราชขณะนั้น

ตามประวัติและตำนานพระมหาธาตุเจดีย์เมืองนครศรีธรรมราชสร้างพระธาตุเจดีย์ ประมาณ พ.ศ.850 เมื่อเดินทางมาถึงเมืองพาราณศรี(เมืองสทิงปุระเมืองพัทลุงเก่า)หาดมหาราชตรง หน้าที่ว่าการอำเภอสทิงพระปัจจุบัน เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารเสด็จขึ้นมาพักผ่อนเพื่อหาน้ำจืด ดื่มและสรงน้ำ ทั้งสองพระองค์จึงเสด็จขึ้นมาพักผ่อน ณ วัดแห่งนี้ จึงวางพระธาตุไว้ที่ฐานเจดีย์แห่งนี้ พักผ่อนหายจากเหน็ดเหนื่อย ทรงเดินทางกลับขึ้นเรือสำเภาต่อไปยังเมืองนครศรีธรรมราช ทั้งสองก้ลืมพระธาตุ เจ้าฟ้าชายทนทกุมารตกพระทัยถามเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาว่าน้องทิ้งพระธาตุเสีย แล้วหรือ คำนี้เลยกลายเป็น ชื่อสถานที่ วัด ,บ้าน, สืบมาจนปัจจุบัน ว่าจะทิ้งพระ เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารได้ทรงอันเชิญพระบรมสารีริกาตุไป บรรจุพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชประมาณ พ.ศ. 854 และหรือพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชซึ่งได้รับเขี้ยวแก้วเบื้องซ้าย และทินธาตุจากประเทศอินเดียซึ่งเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารได้ ทรงอัญเชิญเมื่อประมาณ พ.ศ.850 ได้ก่อพระธาตุเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ที่หาดทรายแก้ว นครศรีธรรมราช เมื่อ พ.ศ.854 ซึ่งสอดคล้องกับพระธาตุเจดีย์วัดจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ

สรุปความว่า ชื่อของวัดจะทิ้งพระ สทิงพระ สทิงปุระ สทิงปุระ สทิงพาราณสี มีแนวทางสันนิษฐานได้ 3 ประเด็น คือ
ประการแรก จะทิ้งพระ กร่อนมาจากคำว่าสทิงพระ สทิงปุระ หรือสทิงพาราณศรี เป็นชื่อเมืองโบราณ เป็นเมืองสองฝั่งทะเล ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อนเป็นแหล่งเกิดเมืองสอง เมืองคือ เมืองพัทลุง และเมืองสงขลา ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอสทิงพระในปัจจุบัน ทำนองเดียวกับเมืองสงขลากร่อนมาจากสิงหราบ้างแปลว่าเมืองสิงห์ กร่อนมาจากสิงขรวึ่งแปลว่าภุเขาบ้าง
ประการที่สอง คนในสมัยโบราณเล่าต่อๆกันมาว่าเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาซึ่งพูดกับเจ้าฟ้าชายทนทกุมารน้องชายว่า น้องจะทิ้งพรธาตุเสียแล้วหรือมานับเป็นชื่อของสถานที่ วัด บ้าน อำเภอ ในปัจจุบันและพระยากรงทอง เจ้าเมืองพัทลุงเก่า ได้สร้างพระบรมธาตุเจดียืครอบไว้
ประการที่สาม พระราชวิจารณ์ของพระปิยะมหาราชรั๙กาลที่ 5 ในพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ในกรุงเทพฯมหานครเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2434 ว่า จะทิ้งพระ กร่อนมาจากคำว่า จันทิพระ ตามสำเนียง - ชาวนอก ซึ่งเป็นชื่อของวัดมหายานในเกาะชวา(ประเทศอินโดนีเซีย) เมื่อครั้งเสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ เสด็จวัดจะทิ้งพระ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2434 และวัดจะทิ้งพระสมัยก่อนมี 2 วัด อยู่คนละฟากถนน

วัดจะทิ้งพระอยู่ทางด้านตะวันตก มีพระครูวินัยธรรมเป็นหัววัดหมื่นธรรมเจดีย์เป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงาน
วัดพระมหาธาตุอยู่ด้านตะวันออก มีพระเจดีย์องค์ใหญ่มีพระครูอมฤตย์ศิริวัดธนธาตุหัวหน้าคณะชุมนุมรักษาพระมหาธาตุ ขุนธรรมพยาบาลเป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงานและหรือวัดจะทิ้งพระ พระครูวินัยธรรม เป็นหัววัด หมื่นธรรมเจดีย์เป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงาน นางจันหอม หัวงาน 1 นางศรีบุตร หัวงาน1 นางยอดหัวงาน 1 นางไกรหัวงาน1 นางอินหัวงาน1
วัดพระมหาธาตุ พระเจดีย์พระเจ้าองค์ใหญ่พระครูอมฤตย์ศิริวัฒนธนธาตุ หัวหน้าคณะชุมนุมรักษาพราตุ ขุนธรรมพยาบาลเป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงาน นางแกนทอง หัวงาน 1 นางยก หัวงาน 1 นางยอด หัวงาน 1 นางสร้อย หัวงาน 1 นางแผดงยศ หัวงาน 1
ปัจจุบัน รวมเป็นวัดจะทิ้งพระ จุดเด่นพระธาตุองค์ใหญ่เรียกว่าพระมหาธาตุเจดีย์ ที่ทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันเป็นที่เคารพสักการะ ของพระพุทธศาสนิกชนแตะละปีมีการแห่ผ้าขึ้นห่อหุ้มพระธาตุเจดีย์เป็นพุทธบูชา และเป็นปูชนียสถานสำคัญ คู่บ้านคู่เมืองชาวสทิงพระตลอดมา

พระบรมธาตุเจดีย์วัดจะทิ้งพระ ประมาณว่าได้ถูกสร้างขึ้นในสมัยศรีวิชัยคือประมาณปี พ.ศ. 1300 ตามลัทธิพุทธศาสนานิกายมหายานลักษณะของสถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย คือทำเป็นมณฑปสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ส่วนยอดทำเป็นสถูปมีเจดีย์บริวาร 4 มุม ครั้นต่อมาสมัยศรีวิชัยตอนปลาย ประมาณ พ.ศ.1700 พุทธศาสนานิกายมหายานมีความรุ่งเรืองมากในประเทศลังกาพระธาตุเจดีย์จึง เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นรูประฆังคว่ำ ฐานของพระบรมธาตุเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติและตำนานวัดจะทิ้งพระคำ ว่าจะทิ้งพระ กร่อนมาจากสทิงปุระ เมืองพาราณสี ซึ่งเป็นชื่อเมืองพัทลุงเก่าตั้งอยู่ ตั้งเมืองสทิงพระครั้งเมื่อกาลเวลาล่วงเลยมานับเป็นพันปี ชื่อสทิงปุระ จึงกร่อนมาเป็นจะทิ้งพระ สทิงพระเป็นชื่อสถานที่กลายเป็นชื่อวัด ชื่อตำบล และอำเภอ บนคาบสมุทรสทิงพระ วัดนี้แต่เดิมเคยมีชื่อเรียกว่าวัดพระมหาธาตุ มีมหาธาตุเจดีย์ตั้งอยู่สูงตระหง่าน ต่อมาเรียกชื่อว่า วัดจะทิ้งพระ จะทิ้งพระชื่อของวัดในปัจจุบันใกล้เคียงกับชื่อเมืองสทิงพระ(สทิงปุระ หรือสทิงพาราณสี) ซึ่งพระยากรงทองเจ้าเมืองพัทลุงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1482 ตรงกับสมัยกรุงสุโขทัย ดังข้อความตอนหนึ่งในหนังสือประชุมพงศาวดารภาค 15บันทึกไว้ว่า "เมืองพัทลุงได้ตั้งมาก่อนพ.ศ.1480 ตัวเมืองตั้งอยุ่ที่สทิงพระ เจ้าเมืองชื่อพระยากรงทองได้ครองเมืองพัทลุง ในวันพฤหัสบดี เดือน 8 ขึ้น 5 ค่ำ ปีกุน พุทธศักราช1482 พระยากรงทองได้สร้างพระมหาธาตุเจดีย์ และก่อพระเชตุพนวิหารขึ้น พร้อมกับวัดเขียนบางแก้ว และวัดสทิงปุระ ได้สร้างพระเจดีย์เอาไว้ที่นครปาตลีบุตร(เมืองพัทลุง)สทิงพารณสีแห่งนี้ เพราะแหล่งวัดเขียนบางแก้วและบนคาบสมุทรสทิงพระเป็นแหล่งชุมชนโบราณนักโบราณคดีมีทัสนะแนวความคิดว่า ชื่อของวัดจะทิ้งพระนี้ คนในสมัยโบราณรับคำพูดเล่าต่อๆกันมาว่า เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลา และเจ้าฟ้าชายนนทกุมาร มาเป็นชื่อของสถานที่มี้รื่องนิทานชาวบ้านเล่าสืบต่อกันมามาว่า เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมาร เป็นพระธิดาและพระโอรสของพระเจ้าโกสีหราชกับพระนางมหาเทวี ครองเมืองนครทันตะปุระ(ประเทศอินเดีย) ขณะนั้นเมืองทันตะปุระเกิดศึกสงครามพระเจ้าโกสีหราชแพ้สงครามถึงกับสวรรคตใน สนามรบ เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลา และเจ้าฟ้าชายทนทกุมาร จึงได้นำพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าหลบหนีออกจากเมืองทันตะปุระตามคำสั่งของ พระชนก ลงเรืองสำเภามุ่งสู่ประเทศศรีลังกา(เกาะลังกา)แล้วเดินทางผ่านหมู่เกาะอันดามันในมหาสมุทรอินเดีย เข้าสู่ช่องแคบมะละกา มาออกอ่าวไทย จุดมุ่งหมายเพื่อนำพระบรมธาตุไปบรรจุพระเจดีย์ที่เมืองนครศรีธรรมราชขณะนั้น ตามประวัติและตำนานพระมหาธาตุเจดีย์เมืองนครศรีธรรมราชสร้างพระธาตุเจดีย์ ประมาณ พ.ศ.850 เมื่อเดินทางมาถึงเมืองพาราณศรี(เมืองสทิงปุระเมืองพัทลุงเก่า)หาดมหาราชตรง หน้าที่ว่าการอำเภอสทิงพระปัจจุบัน เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารเสด็จขึ้นมาพักผ่อนเพื่อหาน้ำจืด ดื่มและสรงน้ำ ทั้งสองพระองค์จึงเสด็จขึ้นมาพักผ่อน ณ วัดแห่งนี้ จึงวางพระธาตุไว้ที่ฐานเจดีย์แห่งนี้ พักผ่อนหายจากเหน็ดเหนื่อย ทรงเดินทางกลับขึ้นเรือสำเภาต่อไปยังเมืองนครศรีธรรมราช ทั้งสองก้ลืมพระธาตุ เจ้าฟ้าชายทนทกุมารตกพระทัยถามเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาว่าน้องทิ้งพระธาตุเสีย แล้วหรือ คำนี้เลยกลายเป็น ชื่อสถานที่ วัด ,บ้าน, สืบมาจนปัจจุบัน ว่าจะทิ้งพระ เจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารได้ทรงอันเชิญพระบรมสารีริกาตุไป บรรจุพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชประมาณ พ.ศ. 854 และหรือพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชซึ่งได้รับเขี้ยวแก้วเบื้องซ้าย และทินธาตุจากประเทศอินเดียซึ่งเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาและเจ้าฟ้าชายทนทกุมารได้ ทรงอัญเชิญเมื่อประมาณ พ.ศ.850 ได้ก่อพระธาตุเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ที่หาดทรายแก้ว นครศรีธรรมราช เมื่อ พ.ศ.854 ซึ่งสอดคล้องกับพระธาตุเจดีย์วัดจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ สรุปความว่า ชื่อของวัดจะทิ้งพระ สทิงพระ สทิงปุระ สทิงปุระ สทิงพาราณสี มีแนวทางสันนิษฐานได้ 3 ประเด็น คือประการแรก จะทิ้งพระ กร่อนมาจากคำว่าสทิงพระ สทิงปุระ หรือสทิงพาราณศรี เป็นชื่อเมืองโบราณ เป็นเมืองสองฝั่งทะเล ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อนเป็นแหล่งเกิดเมืองสอง เมืองคือ เมืองพัทลุง และเมืองสงขลา ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอสทิงพระในปัจจุบัน ทำนองเดียวกับเมืองสงขลากร่อนมาจากสิงหราบ้างแปลว่าเมืองสิงห์ กร่อนมาจากสิงขรวึ่งแปลว่าภุเขาบ้างประการที่สอง คนในสมัยโบราณเล่าต่อๆกันมาว่าเจ้าฟ้าหญิงเหมชาลาซึ่งพูดกับเจ้าฟ้าชายทนทกุมารน้องชายว่า น้องจะทิ้งพรธาตุเสียแล้วหรือมานับเป็นชื่อของสถานที่ วัด บ้าน อำเภอ ในปัจจุบันและพระยากรงทอง เจ้าเมืองพัทลุงเก่า ได้สร้างพระบรมธาตุเจดียืครอบไว้ประการที่สาม พระราชวิจารณ์ของพระปิยะมหาราชรั๙กาลที่ 5 ในพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ในกรุงเทพฯมหานครเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2434 ว่า จะทิ้งพระ กร่อนมาจากคำว่า จันทิพระ ตามสำเนียง - ชาวนอก ซึ่งเป็นชื่อของวัดมหายานในเกาะชวา(ประเทศอินโดนีเซีย) เมื่อครั้งเสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ เสด็จวัดจะทิ้งพระ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2434 และวัดจะทิ้งพระสมัยก่อนมี 2 วัด อยู่คนละฟากถนนวัดจะทิ้งพระอยู่ทางด้านตะวันตก มีพระครูวินัยธรรมเป็นหัววัดหมื่นธรรมเจดีย์เป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงานวัดพระมหาธาตุอยู่ด้านตะวันออก มีพระเจดีย์องค์ใหญ่มีพระครูอมฤตย์ศิริวัดธนธาตุหัวหน้าคณะชุมนุมรักษาพระมหาธาตุ ขุนธรรมพยาบาลเป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงานและหรือวัดจะทิ้งพระ พระครูวินัยธรรม เป็นหัววัด หมื่นธรรมเจดีย์เป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงาน นางจันหอม หัวงาน 1 นางศรีบุตร หัวงาน1 นางยอดหัวงาน 1 นางไกรหัวงาน1 นางอินหัวงาน1 วัดพระมหาธาตุ พระเจดีย์พระเจ้าองค์ใหญ่พระครูอมฤตย์ศิริวัฒนธนธาตุ หัวหน้าคณะชุมนุมรักษาพราตุ ขุนธรรมพยาบาลเป็นนายเพณี มีข้าพระ 5 หัวงาน นางแกนทอง หัวงาน 1 นางยก หัวงาน 1 นางยอด หัวงาน 1 นางสร้อย หัวงาน 1 นางแผดงยศ หัวงาน 1
ปัจจุบัน รวมเป็นวัดจะทิ้งพระ จุดเด่นพระธาตุองค์ใหญ่เรียกว่าพระมหาธาตุเจดีย์ ที่ทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันเป็นที่เคารพสักการะ ของพระพุทธศาสนิกชนแตะละปีมีการแห่ผ้าขึ้นห่อหุ้มพระธาตุเจดีย์เป็นพุทธบูชา และเป็นปูชนียสถานสำคัญ คู่บ้านคู่เมืองชาวสทิงพระตลอดมา

พระบรมธาตุเจดีย์วัดจะทิ้งพระ ประมาณว่าได้ถูกสร้างขึ้นในสมัยศรีวิชัยคือประมาณปี พ.ศ. 1300 ตามลัทธิพุทธศาสนานิกายมหายานลักษณะของสถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย คือทำเป็นมณฑปสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ส่วนยอดทำเป็นสถูปมีเจดีย์บริวาร 4 มุม ครั้นต่อมาสมัยศรีวิชัยตอนปลาย ประมาณ พ.ศ.1700 พุทธศาสนานิกายมหายานมีความรุ่งเรืองมากในประเทศลังกาพระธาตุเจดีย์จึง เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นรูประฆังคว่ำ ฐานของพระบรมธาตุเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
จูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอจูเลียต หันกลับมา ดวงตาสีน้ำตาลอ่อนกว้างด้วยความตกใจของเธอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: