ไหว้พระกับการเสี่ยงเซียมซี ปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าได้กลายเป การแปล -             ไหว้พระกับการเสี่ยงเซียมซี ปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าได้กลายเป ฮีบรู วิธีการพูด

            ไหว้พระกับการเสี่ยงเซีย


            ไหว้พระกับการเสี่ยงเซียมซี ปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าได้กลายเป็นของคู่กันไปแล้ว ว่ากันว่ามีวัดและสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทุกแห่งล้วนมีเซียมซีให้เสี่ยงทาย และเชื่อว่าคนไทยร้อยทั้งร้อยต้องเคยเสี่ยงอย่างน้อยหนึ่งครั้ง

คำว่า  "เซียมซี"  นั้นเป็นภาษาจีน  เซียม แปลว่า แผ่นกระดาษ แผ่นเล็กๆ ยาวๆ  หรือจะแปลให้เข้าใจง่ายขึ้น คือกระดาษโน้ต ส่วนคำว่า  ซี แปลว่า บทกลอน  เมื่อนำมารวมกันจึงแปลว่า บทกลอนบนแผ่นกระดาษแผ่นเล็กๆเพื่อให้จดจำได้ง่าย

สิ่งหนึ่งที่คู่กับ เซียมซี  คือติ้ว ซึ่งส่วนใหญ่จะทำ จากไม้ไผ่บางๆ แต่ปัจจุบันได้มีการทำเป็นพลาสติก และเขียนหมายเลขกำกับไว้ ประมาณ ๙-๓๖ หมายเลข รวมกันในกระบอกไม้ไผ่ ที่เรียกว่า กระบอกติ้ว การเสี่ยงเซียมซี คือการสั่นกระบอกติ้วเซียมซี ให้ไม้เซียมซีหลุดออกมา ๑ อัน ปรากฏหมายเลขใด ก็อ่านใบเซียมซีนั้น แล้วก็ไปหยิบเอาความหมายของ ใบ เซียมซี  เพื่อดูว่าจะมีความหมายดีร้ายสักประการใด

สำหรับเหตุผลที่ เซียมซี ส่วนใหญ่จะมี ๒๘ ใบ นั้น อาจารย์วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีน บอกว่า น่าจะมาจากจำนวนทิศทั้ง ๔ ซึ่งมีดาวบริวารอยู่ ๗ กลุ่ม เมื่อรวมแล้วได้ ๒๘ แต่ไม่ได้หมายความว่าเซียมซีจะต้องมี ๒๘ ใบเสมอไป เช่น ศาลเจ้าบริเวณใกล้ๆ กับวัดกัลยาวรมหาวิหาร ซึ่งถือเป็นศาลเจ้าที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทยมีมากถึง ๖๐ ใบ ในขณะที่ศาลเจ้าพ่อกวนอูบริเวณเชิงสะพานตากสิน (หรือสะพานพุทธ) ซึ่งเคยเป็นที่พักของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีจำนวนใบเซียมซีมมากถึง ๕๐ ใบ

การเสี่ยงเซียมซี  เป็นโหราศาสตร์ อันเก่าแก่แขนงหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นกำเนิดมาจาก ประเทศจีนไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ปี ราวในสมัยราชวงศ์ซ้อง (พ.ศ. ๑๕๐๒-๑๘๒๒) ส่วนการเผยแพร่ในประเทศไทยนั้น ไม่มีปรากฏหลักฐานบันทึกไว้อย่างชัดเจนว่าเข้ามาสมัยใด แต่ก็มีการสันนิษฐานว่า น่าจะเข้ามาพร้อมๆ กับกระถางธูปจีนในสมัยอยุธยา ส่วนจะมีการใช้เซียมซีเพื่อ การเสี่ยงทายด้วยหรือไม่นั้นยังไม่เด่นชัด ในรัตนโกสินทร์ได้ค้นพบหลักฐานแห่งแรก ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๕) ที่วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี โดยนายเปลี่ยน แซ่ซ้อง ผู้แปลเซียมซีภาษาจีนเป็นภาษาไทย

ส่วนความเชื่อของคำทำนายในเซียมซีนั้นขึ้นอยู่กับตัวบุคคลนั้นๆ บางคนก็เชื่ออย่างสนิทใจ บางคนเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง ในขณะที่บางคนไม่เชื่อเลย ดังนั้นจึงเป็นที่มาของคำถามที่ว่า "คำทำนายในเซียมซีนั้นมาจากไหน ใครเป็นผู้เขียน และแฝงด้วยปริศนาธรรมอะไรบ้าง"

เพื่อความเข้าใจเรื่องดังกล่าว อาจารย์ธรรมจักร สิงห์ทอง บรรณาธิการสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง (ปธ.๙) ซึ่งเคยอ่านเซียมซีมาหลายแห่ง กล่าวว่า ใบเซียมซี ส่วนใหญ่จะปรากฏในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลเจ้า โดยได้ร้อยกรองเป็นกลอนสุภาพ ประมาณ ๔-๖ บท มีความไพเราะ เนื้อหาประกอบด้วยคำทำนาย คำชี้แนะ คำเตือน คำสั่งสอนในเชิงปรัชญาทางศาสนา

เซียมซีทุกใบแฝงด้วยปริศนาธรรมทั้งที่บอกตรงๆ และบอกแบบอ้อมๆ เนื้อหาในเซียมซีนั้น ในใบเดียวกันจะมีคำทำนายทั้งดีและไม่ดีปนกัน โชคดีเรื่องสุขภาพแต่จะไม่มีโชคลาภ จะให้กำลังใจ เพราะคนเมื่อมีความทุกข์มาก ก็จะไปเสี่ยงเซียมซี แรงอธิษฐาน ก็มาก สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แต่ละแห่ง จำนวนเซียมซี และคำทำนายก็ไม่เหมือนกัน ที่เป็นเช่นนี้เพื่อให้เป็นทางเลือกสำหรับผู้มีความศรัทธาที่แตกต่างกัน เนื้อหาในเซียมซีนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับหมายเลข มันอยู่ที่คนเสี่ยงว่าจะได้หมายเลขอะไร

จากประสบการณ์บวชเป็นพระมานั้น พบว่า คำทำนายใน เซียมซีนั้นคนเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง เฉพาะในส่วนคำทำนายก็ทำนายไว้แบบห้าสิบห้าสิบอยู่แล้ว แต่ในส่วนของคติธรรมคำสอนนั้นคนต้องเชื่อเกือบเต็มร้อย เพราะคติธรรมที่คัดใส่ลงไปในนั้นเป็นสัจธรรม โดยได้นำคติธรรมจากพระที่มีชื่อเสียงและมีคนนับถือศรัทธามากๆ มาพิมพ์ ส่วนการทิ้งใบเซียมซีที่มีคำทำนายไม่ดีนั้น ไม่ได้หมายความว่าจะทำให้ผู้นั้นเป็นไปตามคำทำนาย แต่เป็นเพราะสัญชาตญาณคนเรามากกว่า เมื่อรู้ว่าอะไรเป็นของไม่ดีก็จะไม่เก็บไว้กับตัว

"จริงๆ แล้ว คำนายในเซียมซีไม่ได้สอนให้คนงมงาย แต่เป็นการเสี่ยงทายเพื่อปลูกฝังกำลังใจให้กล้าแข็งขึ้น รวมทั้งเป็นเครื่องเตือนใจไม่ให้ประมาทเลินเล่อ ซึ่งเป็นสิ่งที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นเครื่องเตือนสติได้ดียิ่งกว่าคำพูดของผู้รู้เสียอีก" อาจารย์ธรรมจักร กล่าว พร้อมทั้งให้คำแนะนำสำหรับผู้นิยมเสี่ยงเซียมซี ว่า

     สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งเสี่ยงเซียมซีใบเดียว ก็น่าจะเพียงพอแล้ว บางคนเสี่ยงได้ใบที่มีคำทำนายไม่ดีแต ่ก็พยายามที่จะเสี่ยงจนให้ได้ใบที่ดีนั้นไม่ถูกต้อง เพราะขึ้นชื่อว่าการเสี่ยงทายกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์แล้ว ภายในหนึ่งวันสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่ง จะเสี่ยงทายได้เพียงครั้งเดียว ถ้ามากกว่านั้นไม่ถือว่าเป็นการเสี่ยงทาย ใบที่ ๒ ใบที่ ๓ ไม่ถือว่าเป็นการเสี่ยงทายแล้ว

ส่วนการเสี่ยงทายเซียมซีนั้นควรจะ กราบพระทำบุญให้เสร็จก่อน เพื่อชำระจิตใจให้สะอาดและ สร้างบุญบารมี จากนั้นจึงเสี่ยงเซียมซี อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่น่าแปลกว่า เมื่อเปรียบเทียบระหว่างตู้ทำบุญปิดทองกับตู้ทำบุญใบเซียมซีนั้น จากสถิติของวัดพระพุทธบาท จ.สระบุรี พบว่ามีเงินทำบุญมากกว่าตู้ทำบุญปิดทอง อาจารย์ธรรมจักร ได้ให้เหตุผลไว้อย่างน่าคิดว่า

"ผลของการทำบุญเป็นสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต อาจจะต้องใช้เวลาเป็นเดือน เป็นปี หรืออาจจะต้องรอเป็นชาติ แต่การเสี่ยงเซียมซีนั้นรู้ผลทันที ส่วนจะเป็นจริงหรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง" 
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ฮีบรู) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ไหว้พระกับการเสี่ยงเซียมซีปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าได้กลายเป็นของคู่กันไปแล้วว่ากันว่ามีวัดและสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทุกแห่งล้วนมีเซียมซีให้เสี่ยงทายและเชื่อว่าคนไทยร้อยทั้งร้อยต้องเคยเสี่ยงอย่างน้อยหนึ่งครั้งคำว่า "เซียมซี" นั้นเป็นภาษาจีนเซียมแปลว่าแผ่นกระดาษแผ่นเล็ก ๆ ยาว ๆ หรือจะแปลให้เข้าใจง่ายขึ้นคือกระดาษโน้ตส่วนคำว่าซีแปลว่าบทกลอนเมื่อนำมารวมกันจึงแปลว่าบทกลอนบนแผ่นกระดาษแผ่นเล็กๆเพื่อให้จดจำได้ง่ายสิ่งหนึ่งที่คู่กับเซียมซีคือติ้วซึ่งส่วนใหญ่จะทำจากไม้ไผ่บาง ๆ แต่ปัจจุบันได้มีการทำเป็นพลาสติกและเขียนหมายเลขกำกับไว้ประมาณ ๙ ๓๖ หมายเลขรวมกันในกระบอกไม้ไผ่ที่เรียกว่ากระบอกติ้วการเสี่ยงเซียมซีคือการสั่นกระบอกติ้วเซียมซีให้ไม้เซียมซีหลุดออกมา ๑ อันปรากฏหมายเลขใดก็อ่านใบเซียมซีนั้นแล้วก็ไปหยิบเอาความหมายของใบเซียมซีเพื่อดูว่าจะมีความหมายดีร้ายสักประการใดสำหรับเหตุผลที่เซียมซีส่วนใหญ่จะมี ๒๘ ใบนั้นอาจารย์วิโรจน์ตั้งวาณิชย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีนบอกว่าน่าจะมาจากจำนวนทิศทั้ง ๔ ซึ่งมีดาวบริวารอยู่ ๗ กลุ่มเมื่อรวมแล้วได้ ๒๘ แต่ไม่ได้หมายความว่าเซียมซีจะต้องมี ๒๘ ใบเสมอไปเช่นศาลเจ้าบริเวณใกล้ ๆ กับวัดกัลยาวรมหาวิหารซึ่งถือเป็นศาลเจ้าที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทยมีมากถึง ๖๐ ใบในขณะที่ศาลเจ้าพ่อกวนอูบริเวณเชิงสะพานตากสิน (หรือสะพานพุทธ) ซึ่งเคยเป็นที่พักของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีจำนวนใบเซียมซีมมากถึง ๕๐ ใบการเสี่ยงเซียมซีเป็นโหราศาสตร์อันเก่าแก่แขนงหนึ่งซึ่งมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศจีนไม่น้อยกว่า ๑ ๐๐๐ ปี (พ.ศ. ๑๕๐๒ - ๑๘๒๒) ราวในสมัยราชวงศ์ซ้องส่วนการเผยแพร่ในประเทศไทยนั้นไม่มีปรากฏหลักฐานบันทึกไว้อย่างชัดเจนว่าเข้ามาสมัยใดแต่ก็มีการสันนิษฐานว่าน่าจะเข้ามาพร้อม ๆ กับกระถางธูปจีนในสมัยอยุธยาส่วนจะมีการใช้เซียมซีเพื่อการเสี่ยงทายด้วยหรือไม่นั้นยังไม่เด่นชัดในรัตนโกสินทร์ได้ค้นพบหลักฐานแห่งแรกตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๕) ที่วัดกัลยาณมิตรธนบุรีโดยนายเปลี่ยนแซ่ซ้องผู้แปลเซียมซีภาษาจีนเป็นภาษาไทยส่วนความเชื่อของคำทำนายในเซียมซีนั้นขึ้นอยู่กับตัวบุคคลนั้น ๆ บางคนก็เชื่ออย่างสนิทใจบางคนเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งในขณะที่บางคนไม่เชื่อเลยดังนั้นจึงเป็นที่มาของคำถามที่ว่า "คำทำนายในเซียมซีนั้นมาจากไหนใครเป็นผู้เขียนและแฝงด้วยปริศนาธรรมอะไรบ้าง"เพื่อความเข้าใจเรื่องดังกล่าวอาจารย์ธรรมจักรสิงห์ทองบรรณาธิการสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง (ปธ.๙) ซึ่งเคยอ่านเซียมซีมาหลายแห่งกล่าวว่าใบเซียมซีส่วนใหญ่จะปรากฏในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เช่นโบสถ์วิหารศาลเจ้าโดยได้ร้อยกรองเป็นกลอนสุภาพประมาณ ๔ - ๖ บทมีความไพเราะเนื้อหาประกอบด้วยคำทำนายคำชี้แนะคำเตือนคำสั่งสอนในเชิงปรัชญาทางศาสนาเซียมซีทุกใบแฝงด้วยปริศนาธรรมทั้งที่บอกตรง ๆ และบอกแบบอ้อม ๆ เนื้อหาในเซียมซีนั้นในใบเดียวกันจะมีคำทำนายทั้งดีและไม่ดีปนกันโชคดีเรื่องสุขภาพแต่จะไม่มีโชคลาภจะให้กำลังใจเพราะคนเมื่อมีความทุกข์มากก็จะไปเสี่ยงเซียมซีแรงอธิษฐานก็มากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แต่ละแห่งจำนวนเซียมซีและคำทำนายก็ไม่เหมือนกันที่เป็นเช่นนี้เพื่อให้เป็นทางเลือกสำหรับผู้มีความศรัทธาที่แตกต่างกันเนื้อหาในเซียมซีนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับหมายเลขมันอยู่ที่คนเสี่ยงว่าจะได้หมายเลขอะไรจากประสบการณ์บวชเป็นพระมานั้นพบว่าคำทำนายในเซียมซีนั้นคนเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งเฉพาะในส่วนคำทำนายก็ทำนายไว้แบบห้าสิบห้าสิบอยู่แล้วแต่ในส่วนของคติธรรมคำสอนนั้นคนต้องเชื่อเกือบเต็มร้อยเพราะคติธรรมที่คัดใส่ลงไปในนั้นเป็นสัจธรรมโดยได้นำคติธรรมจากพระที่มีชื่อเสียงและมีคนนับถือศรัทธามาก ๆ มาพิมพ์ส่วนการทิ้งใบเซียมซีที่มีคำทำนายไม่ดีนั้นไม่ได้หมายความว่าจะทำให้ผู้นั้นเป็นไปตามคำทำนายแต่เป็นเพราะสัญชาตญาณคนเรามากกว่าเมื่อรู้ว่าอะไรเป็นของไม่ดีก็จะไม่เก็บไว้กับตัวกล่าว "จริง ๆ แล้วคำนายในเซียมซีไม่ได้สอนให้คนงมงายแต่เป็นการเสี่ยงทายเพื่อปลูกฝังกำลังใจให้กล้าแข็งขึ้นรวมทั้งเป็นเครื่องเตือนใจไม่ให้ประมาทเลินเล่อซึ่งเป็นสิ่งที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเป็นเครื่องเตือนสติได้ดียิ่งกว่าคำพูดของผู้รู้เสียอีก" อาจารย์ธรรมจักรพร้อมทั้งให้คำแนะนำสำหรับผู้นิยมเสี่ยงเซียมซีว่า สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งเสี่ยงเซียมซีใบเดียวก็น่าจะเพียงพอแล้วบางคนเสี่ยงได้ใบที่มีคำทำนายไม่ดีแต่ก็พยายามที่จะเสี่ยงจนให้ได้ใบที่ดีนั้นไม่ถูกต้องเพราะขึ้นชื่อว่าการเสี่ยงทายกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์แล้วภายในหนึ่งวันสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งจะเสี่ยงทายได้เพียงครั้งเดียวถ้ามากกว่านั้นไม่ถือว่าเป็นการเสี่ยงทายใบที่ ๒ ใบที่ ๓ ไม่ถือว่าเป็นการเสี่ยงทายแล้วส่วนการเสี่ยงทายเซียมซีนั้นควรจะกราบพระทำบุญให้เสร็จก่อนเพื่อชำระจิตใจให้สะอาดและสร้างบุญบารมีจากนั้นจึงเสี่ยงเซียมซีอย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่น่าแปลกว่าเมื่อเปรียบเทียบระหว่างตู้ทำบุญปิดทองกับตู้ทำบุญใบเซียมซีนั้นจากสถิติของวัดพระพุทธบาทจ.สระบุรีพบว่ามีเงินทำบุญมากกว่าตู้ทำบุญปิดทองอาจารย์ธรรมจักรได้ให้เหตุผลไว้อย่างน่าคิดว่า"ผลของการทำบุญเป็นสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอาจจะต้องใช้เวลาเป็นเดือนเป็นปีหรืออาจจะต้องรอเป็นชาติแต่การเสี่ยงเซียมซีนั้นรู้ผลทันทีส่วนจะเป็นจริงหรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง"
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ฮีบรู) 3:[สำเนา]
คัดลอก!

           ไหว้พระกับการเสี่ยงเซียมซีปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าได้กลายเป็นของคู่กันไปแล้วว่ากันว่ามีวัดและสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทุกแห่งล้วนมีเซียมซีให้เสี่ยงทาย
คำว่า   " เซียมซี "   นั้นเป็นภาษาจีน  เซียมแปลว่าแผ่นกระดาษแผ่นเล็กๆยาวๆ  หรือจะแปลให้เข้าใจง่ายขึ้นคือกระดาษโน้ตส่วนคำว่า  ซีแปลว่าบทกลอน  เมื่อนำมารวมกันจึงแปลว่า
สิ่งหนึ่งที่คู่กับ เซียมซี  คือติ้วซึ่งส่วนใหญ่จะทำจากไม้ไผ่บางๆแต่ปัจจุบันได้มีการทำเป็นพลาสติกและเขียนหมายเลขกำกับไว้ประมาณซ้งโคย - ๓๖หมายเลขรวมกันในกระบอกไม้ไผ่ที่เรียกว่ากระบอกติ้วการเสี่ยงเซียมซีให้ไม้เซียมซีหลุดออกมา๑อันปรากฏหมายเลขใดก็อ่านใบเซียมซีนั้นแล้วก็ไปหยิบเอาความหมายของใบ เซียมซี  เพื่อดูว่าจะมีความหมายดีร้ายสักประการใด

สำหรับเหตุผลที่ เซียมซี ส่วนใหญ่จะมี๒๘ใบนั้นอาจารย์วิโรจน์ตั้งวาณิชย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีนบอกว่าน่าจะมาจากจำนวนทิศทั้งโตเกียวซึ่งมีดาวบริวารอยู่๗กลุ่มเมื่อรวมแล้วได้๒๘
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: