โครงการฝนหลวง                           โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง คือ การแปล - โครงการฝนหลวง                           โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง คือ ไทย วิธีการพูด

โครงการฝนหลวง                      


โครงการฝนหลวง
                           โครงการฝนหลวง

โครงการฝนหลวง คือ โครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีจุดประสงค์เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาความแห้งแล้งให้แก่เกษตรกร


ประวัติ

เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรกรที่ขาด แคลนน้ำ อุปโภค บริโภค และการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทาน โครงการพระราชดำริ " ฝนหลวง " ให้กับ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดำเนินการ ซึ่งต่อมา ได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลอง ปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี ๒๕๑๒ ด้วยความสำเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวง ต่อไป

ฝนหลวง
การทำฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนำน้ำจากฟ้า จะต้องให้เครื่องบินที่มีอัตราการบรรทุกมากๆ บรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของจำนวนเมฆ และสภาพของทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศ จะลดต่ำลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่ำลงนั้นมากพอก็จะทำให้ไอน้ำในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้ำในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย สูตรร้อน เพื่อใช้กระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ สูตรเย็น ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆ ให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
วิธีการทำฝนหลวง



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงกำหนดขั้นตอนของกรรมวิธีการทำฝนหลวงขึ้นเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ ตามลำดับ ดังนี้
ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน"
เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติ เริ่มก่อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบัติการฝนหลวง ในขั้นตอนนี้ จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้น ให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่ เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนำไอน้ำ หรือ ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิด เมฆ ระยะ เวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ ไม่ควรเกิน ๑๐.๐๐ น. ของแต่ละวัน โดยการใช้ สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้ำจากมวล อากาศได้ แม้จะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ ต่ำ ( มี ค่า Critical relative humidity ต่ำ ) เพื่อกระตุ้น กลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้ำในมวล อากาศ ( เป็นการสร้าง Surrounding ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย ) ทางด้านเหนือ ลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มเกิด มีการก่อตัว และเจริญเติบโตทางตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคาย ความร้อนโปรยเป็นวงกลม หรือเป็นแนวถัดมา ทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้นๆ เข้าสู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (main cloud core) ในบริเวณ ปฏิบัติการสำหรับใช้เป็นศูนย์กลาง ที่ จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
ขั้นตอนที่สอง : "เลี้ยงให้อ้วน"
เป็นขั้นตอนที่เมฆกำลัง ก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสำคัญมาก ในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไป เพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์หรือศิลปะแห่ง การทำฝนควบคู่ไปพร้อมๆ กัน เพื่อตัดสินใจ โปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุล กับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทำให้เมฆสลาย
ขั้นตอนที่สาม : "โจมตี"
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้ำขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้ จะมีเม็ดน้ำเกาะตามปีก และกระจังหน้าของเครื่องบิน เป็นขั้นตอนที่สำคัญ และอาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft หรือทำให้อายุของ updraft หมดไป สำหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทำฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ ๒ ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (Rain enhancement) และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน (Rain redistribution)
เครื่องมือและอุปกรณ์สำคัญที่ใช้ประกอบในการทำฝนหลวง
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ใน การตรวจวัด และศึกษาสภาพอากาศประกอบการ วางแผนปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็นประจำวัน จาก กรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่
เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป
เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมือ อิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซึ่งจะ ติดไปกับบอลลูน และเครื่องรับสัญญาณวิทย ุ ซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้น ของบรรยากาศในระดับต่างๆ
เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์ เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพ สามารถบอกบริเวณ ที่มีฝนตกและความแรง หรือปริมาณน้ำฝนและ การเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี ๒๐๐-๔๐๐ กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้ว ยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผล ปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วย
เครื่องมือตรวจ อากาศผิวพื้นต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด ความเร็วและทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้ำฝน เป็นต้น
เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่อง บดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมี ทั้งแบบน้ำและ แบบผง ถัง และ กรวยโปรยสารเคมี เป็นต้น
เครื่องมือ สื่อสาร ใช้ในการติดต่อ สื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบน เครื่องบิน กับฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐาน ปฏิบัติการ ๒ แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน ปฏิบัติงานสำนักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่าย ร่วมของวิทยุตำรวจ ศูนย์สื่อสารสำนักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร และกรม ไปรษณีย์โทรเลข เครื่องมือสื่อสารที่ใช้ใน ปัจจุบัน ได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.๑, FM.๕ เครื่องทรพิมพ์ เป็นต้น
เครื่องมือ ทาง วิชาการ อื่นๆ เช่นอุปกรณ์ ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ แผนที่ กล้อง ส่อง ทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการฝนหลวง โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวงคือโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีจุดประสงค์เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาความแห้งแล้งให้แก่เกษตรกรประวัติเมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรเมื่อปีพ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและการเกษตรจึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดำริ "ฝนหลวง" ให้กับม.ร.ว. เทพฤทธิ์เทวกุลไปดำเนินการซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้นในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เมื่อปี ๒๕๑๒ ด้วยความสำเร็จของโครงการจึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในปีพ.ศ. ๒๕๑๘ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไปฝนหลวงการทำฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนำน้ำจากฟ้าจะต้องให้เครื่องบินที่มีอัตราการบรรทุกมาก ๆ บรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้าโดยดูจากความชื้นของจำนวนเมฆและสภาพของทิศทางลมประกอบกันปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดฝนคือความร้อนชื้นปะทะความเย็นและมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสมกล่าวคือเมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบนอุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่ำลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่งหากอุณหภูมิที่ลดต่ำลงนั้นมากพอก็จะทำให้ไอน้ำในมวลอากาศอิ่มตัวจะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้ำในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัวเกิดเป็นฝนตกลงมาฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วยสูตรร้อนเพื่อใช้กระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศสูตรเย็นใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝนและสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้นเพื่อใช้กระตุ้นกลไกระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นวิธีการทำฝนหลวงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงกำหนดขั้นตอนของกรรมวิธีการทำฝนหลวงขึ้นเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ๆ ตามลำดับดังนี้ขั้นตอนที่หนึ่ง: "ก่อกวน"เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้นให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบนเพื่อให้เกิดกระบวนการชักนำไอน้ำหรือความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน๑๐.๐๐น.ของแต่ละวันโดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้ำจากมวลอากาศได้แม้จะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ (มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สำคัญต่ำ) เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้ำในมวลอากาศ (เป็นการสร้างรอบให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมายเมื่อเมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่ก้อนเมฆเพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (เมฆหลักหลัก) ในบริเวณปฏิบัติการสำหรับใช้เป็นศูนย์กลางจะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไปขั้นตอนที่สอง: "เลี้ยงให้อ้วน"เป็นขั้นตอนที่เมฆกำลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสำคัญมากในการปฏิบัติการฝนหลวงเพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไปต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์หรือศิลปะแห่งการทำฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใดณที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆและในอัตราใดจึงเหมาะสมเพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทำให้เมฆสลายขั้นตอนที่สาม: "โจมตี"เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวงเมฆหรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้ำขนาดใหญ่มากมายหากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมีเม็ดน้ำเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบินเป็นขั้นตอนที่สำคัญและอาศัยประสบการณ์มากเพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft หรือทำให้อายุของ updraft หมดไปสำหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทำฝนหลวงซึ่งมีอยู่ ๒ ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (ปรับปรุงฝน) และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน (ฝนซอร์ส)เครื่องมือและอุปกรณ์สำคัญที่ใช้ประกอบในการทำฝนหลวงเครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็นประจำวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่ลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไปใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็วเครื่องวัดลมชั้นบน (นักบินบอลลูน)เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้นของบรรยากาศในระดับต่าง ๆเครื่องเรดาร์ตรวจอากาศ (อากาศเรดาร์) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้ำฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี ๒๐๐ - ๔๐๐ กม ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้วยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วยเครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่าง ๆ เช่นเครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัดความเร็วและทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนเป็นต้นเครื่องมือเตรียมสารเคมีได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้ำและแบบผงฟายมือและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้นเครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบินกับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ ๒ แห่งหรือใช้รายงานผลระหว่างฐานปฏิบัติงานสำนักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตำรวจศูนย์สื่อสารสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือสื่อสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์วิทยุ FM.๑, FM.๕ เครื่องทรพิมพ์เป็นต้นเครื่องมือชนิดวิชาการอื่น ๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่กล้องส่องทางไกลเครื่องมือตรวจสอบสารเค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

คือ เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรเมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและการเกษตรจึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดำริ "ฝนหลวง" ให้กับ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์เทวกุลไปดำเนินการซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้นในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เมื่อปี 2512 ด้วยความสำเร็จของโครงการจึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในปีพ ศ 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้าโดยดูจากความชื้นของจำนวนเมฆและสภาพของทิศทางลมประกอบกันปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดฝนคือความร้อนชื้นปะทะความเย็น กล่าวคือ อุณหภูมิของมวลอากาศ เกิดเป็นฝนตกลงมาฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วยสูตรร้อน สูตรเย็น ให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ตามลำดับดังนี้ขั้นตอนที่หนึ่ง: "ก่อกวน" เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้นให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบนเพื่อให้เกิดกระบวนการ ชักนำไอน้ำหรือความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น ของแต่ละวันโดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้ำจากมวลอากาศได้ ต่ำ (มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สำคัญต่ำ) เพื่อกระตุ้น อากาศ (เป็นการสร้างรอบ ) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมายเมื่อเมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่ ก้อนเมฆเพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (หลักแกนเมฆ) ในบริเวณปฏิบัติการสำหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่ : ในการปฏิบัติการฝนหลวงเพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงานให้แก่กระแสให้ยาวนานออกไป การทำฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆและในอัตราใดจึงเหมาะสม กับความแรงของกระแส : เมฆหรือ จะมีเม็ดน้ำเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบินเป็นขั้นตอนที่สำคัญและอาศัยประสบการณ์มาก กระแสหรือทำให้อายุของกระแสหมดไปสำหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (การเพิ่มประสิทธิภาพการเรน) (ฝน ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศภาพถ่าย จาก (นักบินบอลลูน) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว (Radiosonde) เป็นเครื่องมือ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้ำฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม ยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผล อากาศผิวพื้นต่างๆเช่นเครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด เป็นต้นเครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่ เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้ำและแบบผงถังและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้นเครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อ เครื่องบินกับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่งหรือใช้รายงานผลระหว่างฐานปฏิบัติงานสำนักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตำรวจศูนย์สื่อสารสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือสื่อสารที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ วิทยุซิงเกิล ไซด์แบนด์วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องทรพิมพ์เป็นต้นเครื่องมือทางวิชาการอื่น ๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่กล้องส่องทางไกลเครื่องมือตรวจสอบสารเค






























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!


                          โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง




โครงการฝนหลวงความโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีจุดประสงค์เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาความแห้งแล้งให้แก่เกษตรกรประวัติ

เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรกรที่ขาด แคลนน้ำ อุปโภค บริโภค และการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทาน โครงการพระราชดำริ " ฝนหลวง " ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์เทวกุลไปดำเนินการซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้นในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เมื่อปี๒๕๑๒ด้วยความสำเร็จของโครงการก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ขึ้นในปี พ.ศ . ๒๕๑๘ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไป


ฝนหลวงการทำฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนำน้ำจากฟ้าจะต้องให้เครื่องบินที่มีอัตราการบรรทุกมากๆบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้าโดยดูจากความชื้นของจำนวนเมฆและสภาพของทิศทางลมประกอบกันความร้อนชื้นปะทะความเย็นและมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสมกล่าวคือเมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบนอุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่ำลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่งจะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้ำในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย สูตรร้อน เพื่อใช้กระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ สูตรเย็น ให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: