การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่ม การแปล - การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่ม ไทย วิธีการพูด

การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์

การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ, การรวบรวม , จัดซื้อ-จัดหา ,การบรรจุภัณฑ์ , การจัดเก็บ และการกระจายสินค้าผ่านกระบวนการต่างๆ ในโซ่อุปทาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สินค้าได้มีการรับและส่งมอบเป็นช่วงๆ ตั้งแต่ต้นน้ำ-กลางน้ำ จนสินค้าและบริการนั้นๆ ได้ส่งมองไปยังผู้บริโภค ( Origin to Customer ) การบริหารงานและจัดการโลจิสติกส์ถูกนำไปเป็นกลไกในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการลดต้นทุนรวม โดยหลักการสำคัญของการจัดการโลจิตสติกส์จะมุ่งเน้นการแบ่งแยกงานไปตามความถนัด องค์กรธุรกิจจะมอบหมายงานที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญน้อยกว่า หรือมีต้นทุนในการดำเนินการสูงกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์ ( Outsource Logistics Service) โดยองค์กรจะเลือกดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลัก (Core Business) เช่น ด้านการตลาด การผลิต ด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวิจัยและพัฒนา การควบคุมคุณภาพ หรือกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งมีสาระสำคัญหรือเป็นความลับขององค์กร โดยมอบหมายงานที่มีความสำคัญน้อยกว่า ไปให้กับผู้ให้บริการภายนอก ซึ่งมีต้นทุนในการดำเนินงานที่ต่ำกว่า และมีประสิทธิภาพดีกว่าที่บริษัท จะเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเอง การมอบหมายงานนี้ ยังมีจุดประสงค์หลักในการที่จะเป็นการกระจายต้นทุน (Cost Diversity) และการกระจายความเสี่ยง นอกจากนี้งานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกระจายสินค้าจำเป็นที่จะต้องอาศัยเครือข่าย ยิ่งระบบการค้ามีความซับซ้อนและเป็นการค้าระหว่างประเทศภายใต้การส่งมองแบบมีขอกำหนดในการส่งมอบสินค้า (Incoterm) ทำให้จำเป็นต้องมีเครือข่ายในการให้บริการระดับโลก ดังนั้นการเลือกใช้องค์กรภายนอกจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการกระจายสินค้า โดยอาศัยเครือข่าย(Network) ของผู้ให้บริการที่เรียกว่าผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ (Logistics Service Provider: LSP หรือ Outsource Logistics) ธนิต โสรัตน์ (2550)
Gourdin (2006) กล่าวว่าผู้ให้บริการโลจิสติกส์ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศอเมริกาซึ่งไม่ได้เพียงแต่เพื่อควบคุมต้นทุนอย่างเดียวแต่ยังช่วยในการบริการโลจิสติกส์ในการสร้างความแตกต่างในด้านการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ความหมายของผู้ให้บริการโลจิสติกส์
Lieb et.al. (1993) ได้ให้คำจำกัดความของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ หมายถึงผู้ให้บริการภายนอกบริษัทที่นำเสนอบริการบางกิจกรรม หรือทุกกิจกรรมของโลจิสติกสแก่ผู้รับบริการ ธนิต โสรัตน์ (2548) ผู้ให้บริการโลจิสติกส์หมายถึง ผู้ให้บริการภายนอกเป็นกลุ่มของบุคคลหรือผู้ประกอบการภายนอกซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในงานหนึ่งงานใดซึ่งมีความสามารถที่จะเข้ารับบทบาทการทำงานนั้นๆ ได้ดีกว่าองค์กรจะดำเนินการด้วยตนเองภายใต้สัญญาเพื่อแลกเปลี่ยนกับค่าธรรมเนียมหรือผลประโยชน์ที่จะได้รับเป็นการตอบแทน โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการว่าจ้างผู้ให้บริการภายนอก ควรจะดีกว่าองค์กรจะดำเนินการเอง ทั้งในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ การให้ผู้ประกอบการที่ให้บริการภายนอกรับงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปทำ โดยองค์การเลือกที่จะดำเนินงานเฉพาะงานที่มีความสำคัญและคุ้มค่ากว่า การเลือกใช้ผู้ให้บริการภายนอก เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการจัดการความสมดุลของต้นทุน เวลา กับเงินที่ต้องจ่าย โดยทั่วไปผู้ให้บริการโลจิสติกส์ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ การรวบรวม จัดซื้อจัดหา การบรรจุภัณฑ์ การจัดเก็บและการกระจายสินค้าผ่านกระบวนการต่าง ๆ ในโซ่อุปทานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สินค้าได้มีการรับและส่งมอบเป็นช่วง ๆ ตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำจนสินค้าและบริการนั้น ๆ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในกาการบริหารงานและจัดการโลจิสติกส์ถูกนำไปเป็นกลไกในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้ส่งมองไปยังผู้บริโภค (กำเนิดให้ลูกค้า)รลดต้นทุนรวมโดยหลักการสำคัญของการจัดการโลจิตสติกส์จะมุ่งเน้นการแบ่งแยกงานไปตามความถนัดองค์กรธุรกิจจะมอบหมายงานที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญน้อยกว่าหรือมีต้นทุนในการดำเนินการสูงกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์ (Outsource บริการโลจิสติกส์) โดยองค์กรจะเลือกดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลัก (ธุรกิจหลัก) เช่นด้านการตลาดการผลิตด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวิจัยและพัฒนาการควบคุมคุณภาพหรือกิจกรรมอื่น ๆ ซึ่งมีสาระสำคัญหรือเป็นความลับขององค์กรโดยมอบหมายงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกซึ่งมีต้นทุนในการดำเนินงานที่ต่ำกว่าและมีประสิทธิภาพดีกว่าที่บริษัทจะเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเองการมอบหมายงานนี้ยังมีจุดประสงค์หลักในการที่จะเป็นการกระจายต้นทุน (ต้นทุนความหลากหลาย) และการกระจายความเสี่ยงนอกจากนี้งานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกระจายสินค้าจำเป็นที่จะต้องอาศัยเครือข่ายยิ่งระบบการค้ามีความซับซ้อนและเป็นการค้าระหว่างประเทศภายใต้การส่งมองแบบมีขอกำหนดในการส่งมอบสินค้า (Incoterm) ทำให้จำเป็นต้องมีเครือข่ายในการให้บริการระดับโลกดังนั้นการเลือกใช้องค์กรภายนอกจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการกระจายสินค้า โดยอาศัยเครือข่าย(Network) ของผู้ให้บริการที่เรียกว่าผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ (ผู้ให้บริการโลจิสติกส์: LSP หรือ Outsource โลจิสติกส์) ธนิตโสรัตน์ (2550) Gourdin (2006) กล่าวว่าผู้ให้บริการโลจิสติกส์ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศอเมริกาซึ่งไม่ได้เพียงแต่เพื่อควบคุมต้นทุนอย่างเดียวแต่ยังช่วยในการบริการโลจิสติกส์ในการสร้างความแตกต่างในด้านการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศความหมายของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ Lieb et.al (1993) ได้ให้คำจำกัดความของผู้ให้บริการโลจิสติกส์หมายถึงผู้ให้บริการภายนอกบริษัทที่นำเสนอบริการบางกิจกรรมหรือทุกกิจกรรมของโลจิสติกสแก่ผู้รับบริการธนิตโสรัตน์ (2548) ผู้ให้บริการโลจิสติกส์หมายถึงผู้ให้บริการภายนอกเป็นกลุ่มของบุคคลหรือผู้ประกอบการภายนอกซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในงานหนึ่งงานใดซึ่งมีความสามารถที่จะเข้ารับบทบาทการทำงานนั้น ๆ ได้ดีกว่าองค์กรจะดำเนินการด้วยตนเองภายใต้สัญญาเพื่อแลกเปลี่ยนกับค่าธรรมเนียมหรือผลประโยชน์ที่จะได้รับเป็นการตอบแทนโดยผลลัพธ์ที่ได้จากการว่าจ้างผู้ให้บริการภายนอกควรจะดีกว่าองค์กรจะดำเนินการเองทั้งในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรืออีกนัยหนึ่งก็คือการให้ผู้ประกอบการที่ให้บริการภายนอกรับงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปทำโดยองค์การเลือกที่จะดำเนินงานเฉพาะงานที่มีความสำคัญและคุ้มค่ากว่าการเลือกใช้ผู้ให้บริการภายนอกเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการจัดการความสมดุลของต้นทุนเวลากับเงินที่ต้องจ่ายโดยทั่วไปผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การรวบรวม, จัดซื้อ - จัดหา, การบรรจุภัณฑ์, การจัดเก็บ ในโซ่อุปทาน ตั้งแต่ต้นน้ำ - กลางน้ำจนสินค้าและบริการนั้น ๆ ได้ส่งมองไปยังผู้บริโภค (แหล่งกำเนิดสินค้าให้แก่ลูกค้า) (Outsource บริการโลจิสติก) (ธุรกิจหลัก) เช่นด้านการตลาดการผลิต การควบคุมคุณภาพหรือกิจกรรมอื่น ๆ ไปให้กับผู้ให้บริการภายนอก และมีประสิทธิภาพดีกว่าที่ บริษัท จะ เป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเองการมอบหมายงานนี้ (ความหลากหลายราคาทุน) และการกระจายความเสี่ยง (Incoterm) โดยอาศัยเครือข่าย (Network) (ผู้ให้บริการโลจิสติกบริการ: LSP หรือ Outsource จิสติกส์) ธนิตโสรัตน์ (2550)
Gourdin (2006) et.al. (1993) ธนิตโสรัตน์ (2548) ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ หมายถึง ควรจะดีกว่าองค์กรจะดำเนินการ เอง หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกใช้ผู้ให้บริการภายนอก เวลากับเงินที่ต้องจ่ายโดยทั่วไป ผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบ่งออกเป็น 4 ระดับ


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการการรวบรวมจัดซื้อ , , - จัดหาการบรรจุภัณฑ์การจัดเก็บและการกระจายสินค้าผ่านกระบวนการต่างๆในโซ่อุปทานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สิน , , ค้าได้มีการรับและส่งมอบเป็นช่วงๆตั้งแต่ต้นน้ำ - กลางน้ำจนสินค้าและบริการนั้นๆได้ส่งมองไปยังผู้บริโภค ( ที่มากับลูกค้า ) การบริหารงานและจัดการโลจิสติกส์ถูกนำไปเป็นกลไกในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการลดต้นทุนรวมโดยห ลักการสำคัญของการจัดการโลจิตสติกส์จะมุ่งเน้นการแบ่งแยกงานไปตามความถนัดองค์กรธุรกิจจะมอบหมายงานที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญน้อยกว่าหรือมีต้นทุนในการดำเนินการสูงกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์ ( outsource บริการโลจิสติกส์ ) โดยองค์กรจะเลือกดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข ้องกับกิจกรรมหลัก ( ธุรกิจหลัก ) เช่นด้านการตลาดการผลิตด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวิจัยและพัฒนาการควบคุมคุณภาพหรือกิจกรรมอื่นๆซึ่งมีสาระสำคัญหรือเป็นความลับขององค์กรโดยมอบหมายงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกซึ่งมีต้นทุนในการดำเนินงานที่ ต่ำกว่าและมีประสิทธิภาพดีกว่าที่บริษัทจะเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเองการมอบหมายงานนี้ยังมีจุดประสงค์หลักในการที่จะเป็นการกระจายต้นทุน ( ความหลากหลาย Cost ) และการกระจายความเสี่ยงนอกจากนี้งานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกระจายสินค้าจำเป็นที่จะต้องอาศัยเครือข่ายยิ่งระบบการค ้ามีความซับซ้อนและเป็นการค้าระหว่างประเทศภายใต้การส่งมองแบบมีขอกำหนดในการส่งมอบสินค้า ( นโคเทอม ) ทำให้จำเป็นต้องมีเครือข่ายในการให้บริการระดับโลกดังนั้นการเลือกใช้องค์กรภายนอกจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการกระจายสินค้าโดยอาศัยเครือข่าย ( เครือข่าย ) ของผู้ให้บริการที่ เรียกว่าผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ( โลจิสติกส์และผู้ให้บริการโลจิสติกส์ : LSP ค็อค outsource ) ธนิตโสรัตน์ ( 2550 )gourdin ( 2006 ) กล่าวว่าผู้ให้บริการโลจิสติกส์ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศอเมริ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: