ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีที่จัด การแปล - ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีที่จัด ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไ

ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีที่จัดขึ้นทั่วไปในหลายจังหวัดทางภาคอีสานที่อยู่ติดกับลำน้ำ โดยมีความเชื่อ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ที่สืบกันมาหลายชั่วอายุคน แต่การเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดนั้น ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง แต่นิษฐานว่าน่าจะมีมาก่อนที่พระพุทธศาสนา จะเผยแพร่มาสู่ประเทศไทย เนื่องจากสมัยก่อนพระมหากษัตริย์ไทยยังยืดถือพิธีพราหมณ์อยู่
ความเชื่อในประเพณีไหลเรือไฟ
สำหรับจังหวัดต่างๆ ที่มีการจัดประเพณีไหลเรือไฟ เช่น จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดเลย จังหวัดนครพนม จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุบลราชธานี และอื่นๆ มักจะมีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน ส่วนมูลเหตุของความเชื่อนั้นมีด้วยกันหลายประการ เช่น
เชื่อว่าเป็นการบูชาประทีปตามประเพณี จะก่อให้เกิดอานิสงส์แก่ผู้กระทำคือ การได้ถวายพุทธบูชาด้วยประทีปโคมไฟ จะทำให้เป็นผู้มีตาทิพย์ รู้แจ้งและเกิดปัญญา สำเร็จเป็นพระอรหันต์
เชื่อว่าเป็นการบูชาพญานาค ซึ่งเป็นผู้ดูแลรักษาแม่น้ำ และช่วยคุ้มครองคนที่สัญจรทางน้ำให้มีความปลอดภัย
เชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาท จากตำนานได้กล่าวมาว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จไปโปรดเหล่าพญานาคที่ภพนาค ก่อนเสด็จกลับ เหล่าพญานาคได้ขอให้พระพุทธองค์ทรงประทับรอยพระบาทไว้สักการะ ณ ริมฝั่งแม่น้ำ
เชื่อว่าเป็นการบูชาพระแม่โพสพ บูชาพระแม่คงคาที่ประทานความอุดมสมบูรณ์ ให้แก่เหล่ามนุษย์
เชื่อว่าเป็นการบูชา วันพระเจ้าเปิดโลก ซึ่งได้ถูกกล่าวไว้ในธรรมบทว่า วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะเสด็จกลับไปชั้นดาวดึงส์ หลังจากสิ้นสุดการโปรดพุทธมารดา มีความเชื่อกันว่าวันนั้น สวรรค์ภูมิ มนุษย์ภูมิ นรกภูมิ จะเปิดให้เห็นกันทั่ว จึงได้เกิดประเพณีไหลเรือไฟเป็นพุทธบูชาก่อน 1 วัน ซึ่งตรงกับขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
เชื่อว่าเป็นการเสดาะเคราะห์ ประเพณีไหลเรือไฟยังมีความเชื่อสืบทอดกันมาอย่างยาวนานว่าเป็นการทำให้เคราะห์กรรมต่างๆ ลอยไหลไปกับสายน้ำ เหลือแต่สิ่งดีๆ ในชีวิต
การทำเรือสำหรับประกอบพิธีไหลเรือไฟ
เรือไฟที่ใช้ในการประกอบพิธีนั้น มักประดิษฐ์มาจากต้นกล้วย หรือไม้ไผ่ต่อกันเป็นแพเรือยาว โดยสานไม่ไผ่เป็นโครงก่อน ส่วนรูปร่างนั้นทางช่างผู้ชำนาญจะเป็นผู้ออกแบบ ด้านนอกของเรือ จะมีดอกไม้ ธูปเทียน ตะเกียง และใต้สำหรับจุดให้เกิดความสว่างไสวเพื่อเป็นพุทธบูชา ส่วนภายในเรือจะบรรจุไปด้วยขนม ข้าวต้มมัด กล้วย อ้อย หมาก พลู บุหรี่ และเครื่องไทยทานต่างๆ
สำหรับพิธีกรรมไหลเรือไฟที่ถือปฏิบัติกันมานั้น ประกอบไปด้วย การไปทำบุญตักบาตรในตอนเช้า มีการถวายภัตตาหารเพลและเลี้ยงข้าวปลาอาหารแก่ญาติโยม พอถึงช่วงบ่ายก็จะมีการละเล่นต่างๆ เพื่อความสนุกสนาน เช่น การรำวงฉลองเรือไฟ จากนั้นตอนพลบค่ำก็จะนิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดมนต์ และประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เมื่อถึงเวลาประมาณ 19-20 น. จะพิธีจุดไฟในลำเรือและปล่อยให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำโขง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟประเพณีไหลเรือไฟเป็นประเพณีที่จัดขึ้นทั่วไปในหลายจังหวัดทางภาคอีสานที่อยู่ติดกับลำน้ำโดยมีความเชื่อความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่สืบกันมาหลายชั่วอายุคนแต่การเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้งแต่นิษฐานว่าน่าจะมีมาก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเผยแพร่มาสู่ประเทศไทยเนื่องจากสมัยก่อนพระมหากษัตริย์ไทยยังยืดถือพิธีพราหมณ์อยู่ความเชื่อในประเพณีไหลเรือไฟสำหรับจังหวัดต่าง ๆ ที่มีการจัดประเพณีไหลเรือไฟเช่นจังหวัดศรีษะเกษจังหวัดเลยจังหวัดนครพนมจังหวัดหนองคายจังหวัดอุบลราชธานีและอื่น ๆ มักจะมีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกันส่วนมูลเหตุของความเชื่อนั้นมีด้วยกันหลายประการเช่น เชื่อว่าเป็นการบูชาประทีปตามประเพณีจะก่อให้เกิดอานิสงส์แก่ผู้กระทำคือการได้ถวายพุทธบูชาด้วยประทีปโคมไฟจะทำให้เป็นผู้มีตาทิพย์รู้แจ้งและเกิดปัญญาสำเร็จเป็นพระอรหันต์เชื่อว่าเป็นการบูชาพญานาคซึ่งเป็นผู้ดูแลรักษาแม่น้ำและช่วยคุ้มครองคนที่สัญจรทางน้ำให้มีความปลอดภัยเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทจากตำนานได้กล่าวมาว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จไปโปรดเหล่าพญานาคที่ภพนาคก่อนเสด็จกลับเหล่าพญานาคได้ขอให้พระพุทธองค์ทรงประทับรอยพระบาทไว้สักการะณริมฝั่งแม่น้ำเชื่อว่าเป็นการบูชาพระแม่โพสพบูชาพระแม่คงคาที่ประทานความอุดมสมบูรณ์ให้แก่เหล่ามนุษย์เชื่อว่าเป็นการบูชาวันพระเจ้าเปิดโลกซึ่งได้ถูกกล่าวไว้ในธรรมบทว่าวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จกลับไปชั้นดาวดึงส์หลังจากสิ้นสุดการโปรดพุทธมารดามีความเชื่อกันว่าวันนั้นสวรรค์ภูมิมนุษย์ภูมินรกภูมิจะเปิดให้เห็นกันทั่วจึงได้เกิดประเพณีไหลเรือไฟเป็นพุทธบูชาก่อน 1 วันซึ่งตรงกับขึ้น 15 ค่ำเดือน 11เชื่อว่าเป็นการเสดาะเคราะห์ประเพณีไหลเรือไฟยังมีความเชื่อสืบทอดกันมาอย่างยาวนานว่าเป็นการทำให้เคราะห์กรรมต่าง ๆ ลอยไหลไปกับสายน้ำเหลือแต่สิ่งดี ๆ ในชีวิตการทำเรือสำหรับประกอบพิธีไหลเรือไฟเรือไฟที่ใช้ในการประกอบพิธีนั้นมักประดิษฐ์มาจากต้นกล้วยหรือไม้ไผ่ต่อกันเป็นแพเรือยาวโดยสานไม่ไผ่เป็นโครงก่อนส่วนรูปร่างนั้นทางช่างผู้ชำนาญจะเป็นผู้ออกแบบด้านนอกของเรือจะมีดอกไม้ธูปเทียนตะเกียงและใต้สำหรับจุดให้เกิดความสว่างไสวเพื่อเป็นพุทธบูชาส่วนภายในเรือจะบรรจุไปด้วยขนมข้าวต้มมัดกล้วยอ้อยหมากพลูบุหรี่และเครื่องไทยทานต่าง ๆสำหรับพิธีกรรมไหลเรือไฟที่ถือปฏิบัติกันมานั้นประกอบไปด้วยการไปทำบุญตักบาตรในตอนเช้ามีการถวายภัตตาหารเพลและเลี้ยงข้าวปลาอาหารแก่ญาติโยมพอถึงช่วงบ่ายก็จะมีการละเล่นต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานเช่นการรำวงฉลองเรือไฟจากนั้นตอนพลบค่ำก็จะนิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดมนต์และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเมื่อถึงเวลาประมาณ 19-20 น.จะพิธีจุดไฟในลำเรือและปล่อยให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำโขงเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

โดยมีความเชื่อความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่สืบกันมาหลายชั่วอายุคน แต่การเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง จะเผยแพร่มาสู่ประเทศไทย ที่มีการจัดประเพณีไหลเรือไฟเช่นจังหวัดศรีษะเกษจังหวัดเลยจังหวัดนครพนมจังหวัดหนองคายจังหวัดอุบลราชธานีและอื่น ๆ มักจะมีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน การได้ถวายพุทธบูชาด้วยประทีปโคมไฟจะทำให้เป็นผู้มีตาทิพย์รู้แจ้งและเกิดปัญญา ซึ่งเป็นผู้ดูแลรักษาแม่น้ำ จากตำนานได้กล่าวมาว่า ก่อนเสด็จกลับ ณ วันพระเจ้าเปิดโลกซึ่งได้ถูกกล่าวไว้ในธรรมบทว่าวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จกลับไปชั้นดาวดึงส์หลังจากสิ้นสุดการโปรดพุทธมารดามีความเชื่อกันว่าวันนั้นสวรรค์ภูมิมนุษย์ภูมินรกภูมิจะเปิดให้ เห็นกันทั่ว 1 วันซึ่งตรงกับขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 เชื่อว่าเป็นการเสดาะเคราะห์ ลอยไหลไปกับสายน้ำเหลือ แต่สิ่งดีๆ มักประดิษฐ์มาจากต้นกล้วยหรือไม้ไผ่ต่อกันเป็นแพเรือยาวโดยสานไม่ไผ่เป็นโครงก่อน ด้านนอกของเรือจะมีดอกไม้ธูปเทียนตะเกียง ส่วนภายในเรือจะบรรจุไปด้วยขนมข้าวต้มมัดกล้วยอ้อยหมากพลูบุหรี่ ประกอบไปด้วยการไปทำบุญตักบาตรในตอนเช้า พอถึงช่วงบ่ายก็จะมีการละเล่นต่างๆเพื่อความสนุกสนานเช่นการรำวงฉลองเรือไฟ และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเมื่อถึงเวลาประมาณ 19-20 น เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา











การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟเป็นประเพณีที่จัดขึ้นทั่วไปในหลายจังหวัดทางภาคอีสานที่อยู่ติดกับลำน้ำโดยมีความเชื่อความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่สืบกันมาหลายชั่วอายุคนแต่การเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดนั้นแต่นิษฐานว่าน่าจะมีมาก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเผยแพร่มาสู่ประเทศไทยเนื่องจากสมัยก่อนพระมหากษัตริย์ไทยยังยืดถือพิธีพราหมณ์อยู่
ความเชื่อในประเพณีไหลเรือไฟ
สำหรับจังหวัดต่างๆที่มีการจัดประเพณีไหลเรือไฟเช่นจังหวัดศรีษะเกษจังหวัดเลยจังหวัดนครพนมจังหวัดหนองคายจังหวัดอุบลราชธานีและอื่นๆมักจะมีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกันเช่น
เชื่อว่าเป็นการบูชาประทีปตามประเพณีจะก่อให้เกิดอานิสงส์แก่ผู้กระทำคือการได้ถวายพุทธบูชาด้วยประทีปโคมไฟจะทำให้เป็นผู้มีตาทิพย์รู้แจ้งและเกิดปัญญาสำเร็จเป็นพระอรหันต์
เชื่อว่าเป็นการบูชาพญานาคซึ่งเป็นผู้ดูแลรักษาแม่น้ำและช่วยคุ้มครองคนที่สัญจรทางน้ำให้มีความปลอดภัย
เชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทจากตำนานได้กล่าวมาว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จไปโปรดเหล่าพญานาคที่ภพนาคก่อนเสด็จกลับเหล่าพญานาคได้ขอให้พระพุทธองค์ทรงประทับรอยพระบาทไว้สักการะณริมฝั่งแม่น้ำ
เชื่อว่าเป็นการบูชาพระแม่โพสพบูชาพระแม่คงคาที่ประทานความอุดมสมบูรณ์ให้แก่เหล่ามนุษย์
เชื่อว่าเป็นการบูชาวันพระเจ้าเปิดโลกซึ่งได้ถูกกล่าวไว้ในธรรมบทว่าวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จกลับไปชั้นดาวดึงส์หลังจากสิ้นสุดการโปรดพุทธมารดามีความเชื่อกันว่าวันนั้นมนุษย์ภูมินรกภูมิจะเปิดให้เห็นกันทั่วจึงได้เกิดประเพณีไหลเรือไฟเป็นพุทธบูชาก่อน 1 ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าซึ่งตรงกับขึ้น 15 ค่ำเดือน 11
เชื่อว่าเป็นการเสดาะเคราะห์ประเพณีไหลเรือไฟยังมีความเชื่อสืบทอดกันมาอย่างยาวนานว่าเป็นการทำให้เคราะห์กรรมต่างๆลอยไหลไปกับสายน้ำเหลือแต่สิ่งดีๆในชีวิต

การทำเรือสำหรับประกอบพิธีไหลเรือไฟเรือไฟที่ใช้ในการประกอบพิธีนั้นมักประดิษฐ์มาจากต้นกล้วยหรือไม้ไผ่ต่อกันเป็นแพเรือยาวโดยสานไม่ไผ่เป็นโครงก่อนส่วนรูปร่างนั้นทางช่างผู้ชำนาญจะเป็นผู้ออกแบบด้านนอกของเรือจะมีดอกไม้ธูปเทียนตะเกียงส่วนภายในเรือจะบรรจุไปด้วยขนมข้าวต้มมัดกล้วยอ้อยหมากพลูบุหรี่และเครื่องไทยทานต่างๆ
สำหรับพิธีกรรมไหลเรือไฟที่ถือปฏิบัติกันมานั้นประกอบไปด้วยการไปทำบุญตักบาตรในตอนเช้ามีการถวายภัตตาหารเพลและเลี้ยงข้าวปลาอาหารแก่ญาติโยมพอถึงช่วงบ่ายก็จะมีการละเล่นต่างๆเพื่อความสนุกสนานเช่นจากนั้นตอนพลบค่ำก็จะนิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดมนต์และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเมื่อถึงเวลาประมาณ 19-20 น .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: