1. ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบกันสะเทือน หรือระบบรองรับน้ำหนัก หรือ ระบบแขว การแปล - 1. ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบกันสะเทือน หรือระบบรองรับน้ำหนัก หรือ ระบบแขว ไทย วิธีการพูด

1. ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบกันสะเทือน

1. ระบบรองรับน้ำหนัก
ระบบกันสะเทือน หรือระบบรองรับน้ำหนัก หรือ ระบบแขวนล้อ ซึ่งพวกเรานิยมเรียกว่า "ช่วงล่าง" แปลมาจากคำว่า Suspensions ในภาษาอังกฤษ หน้าที่โดยตรง คือ "ลดอาการสั่นสะเทือนอันเกิดจากการกลิ้งของล้อสัมผัสกับพื้นผิวถนน" ให้หลงเหลือส่งถ่ายไปยังห้องโดยสารน้อยที่สุด แต่ระบบกันสะเทือนก็ยังมีหน้าที่แฝงอีกหลายข้อ ได้แก่ ช่วยให้การบังคับควบคุมรถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ, รักษาระดับตัวรถ ให้พื้นรถห่างจากผิวถนนคงที่, ควบคุมล้อให้ตั้งฉากกับพื้นถนนตลอดเวลาเพื่อให้หน้ายางสัมผัสกับพื้นถนนมากที่สุด แม้ในขณะเข้าโค้ง, ลดอาการกระดก และโยนตัว สมดุลให้รถอยู่ในสภาพปกติ ขณะเคลื่อนที่ผ่านผิวถนนที่ไม่ราบเรียบ
การรองรับน้ำหนัก ในศัพท์ทางรถยนต์ หมายถึง การใช้สปริงคั่นกลางระหว่างโครงรถ (Frame), ตัวถัง (Body), เครื่องยนต์, ชุดส่งกำลัง กับล้อ ซึ่งเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพื้นถนน น้ำหนักของอุปกรณ์ดังกล่าว ตลอดจนน้ำหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริง เราเรียกว่า น้ำหนักเหนือสปริง (Sprung weight) ส่วนน้ำหนักใต้สปริง ซึ่งได้แก่ ล้อ, ยาง, ชุดเพลาท้าย (ในรถที่ใช้แบบคานแข็ง) และเบรก จะเป็นน้ำหนักที่สปริงไม่ได้รองรับ ถูกเรียกว่า น้ำหนักใต้สปริง (Unsprung weight)

1.1 แหนบ
แหนบจะรับน้ำหนักและแรงสั่นสะเทือนโดยการ "โค้งหรืองอตัว" ของแผ่นแหนบ สปริงขดรับน้ำหนักโดยการ "หด หรือยุบตัว" ของขดสปริง ส่วนเหล็กบิด หรือทอร์ชั่นบาร์ นั้น จะรับแรงสั่นสะเทือนโดยการ "บิดตัวของเพลา", สปริงลมลดแรงสั่นสะเทือนจากการ "อัดตัวของลม" ในถุงลม, ส่วนสปริงแบบไฮโดรนิวเมติก ดูดซับแรงสั่นสะเทือน โดยการอัดตัวของแก๊สไนโตรเจนและของเหลว (ที่ใช้อยู่เป็นน้ำมันไฮดรอลิก) ในระบบ


1.2 คอยสปริง
เรามักเข้าใจว่า "สปริง" คือ ขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆ ขดเป็นวง รูปทรงกระบอก (สปริงขด หรือ Coil Spring) แบบอย่างที่เราคุ้นเคยกันมาตลอด แต่ในความเป็นจริง สปริงยังมีอยู่อีกหลายประเภท หลายรูปแบบ และที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ แหนบ (Leaf Spring), เหล็กบิด หรือทอร์ชั่นบาร์(Torsion bar), สปริงลม (Air Spring), สปริงยาง (Rubber Spring) และ ไฮโดรนิวเมติก (Hydro - Pneumatic) ในอนาคตเมื่อความก้าวหน้าทางวิศวกรรมสูงขึ้นอีก ก็อาจมีสปริงรูปแบบใหม่ๆ ออกมาใช้งานอีกก็เป็นได้
สปริงจะยุบและยืดตัวเมื่อล้อวิ่งผ่านผิวถนนที่ขรุขระ ส่งผลให้ล้อเคลื่อนที่ขึ้น-ลงได้เกือบอิสระในแนวดิ่งจากโครงรถ ทำให้สามารถ "ดูดกลืน" (Absorb) แรงเต้นของล้อลงได้ แรงจากการเคลื่อนที่ของล้อจึงถูกส่งถ่ายไปยังตัวถังน้อยกว่าที่ล้อเต้นจริง ผลก็คือผู้โดยสารและน้ำหนักบรรทุกจะได้รับแรงสะเทือนจากล้อลดลงนั่นเอง


1.3 ทอชั่นบาร์ (Torsion bar)
มีรถยนต์หลายรุ่นได้นำเอาทอร์ชั่นบาร์มาใช้แทนแหนบและสปริงขด ทั้งล้อหน้าและล้อหลัง โดยเฉพาะในล้อหน้าจะเห็นได้ในรถกระบะ ระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้จะมีทอร์ชั่นบาร์สองท่อน (ของล้อหน้าซ้าย และล้อหน้าขวา) ติดตั้งตามยาวของโครงรถข้างละท่อน ที่ปลายด้านหน้ายึดติดกับปีกนกล่าง ปลายด้านหลังยึดติดกับซับเฟรม ซึ่งสามารถปรับแต่งความตึงของทอร์ชั่นบาร์ได้ น้ำหนักของรถจะทำให้ทอร์ชั่นบาร์บิดตัวไปเหมือนกับสปริงขด จะยุบตัวหรือบิดตัวมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถ การบิดตัวดังกล่าวจะทำให้เกิดผลของความเป็นสปริง เช่นเดียวกับสปริงรูปแบบอื่นๆ

1.4 ปีกนก (Wishbone suspension)
การออกแบบแตกต่างกันไป เช่น ปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันแต่ขนานกัน, ปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันและไม่ขนานกัน ระบบรองรับน้ำหนักประเภทนี้ได้รับความนิยมค่อนข้างแพร่หลาย ปัจจุบันสามารถออกแบบให้แข็งแรงมากพอ และใช้อะลูมิเนียมที่มีน้ำหนักเบา แทนโครงสร้างเดิมที่เป็นเหล็ก จึงไม่แปลก นอกจากในรถยนต์นั่งแล้ว รถ Off-road หลายรุ่นก็ใช้ระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้ด้วย
เซมิเทรลิ่งอาร์ม (Semi trailing arm)
แขนเต้น (Trailing arm) อาจมีอยู่ 2 แขน หรือแขนเดียวก็ได้ ถ้าเป็นแขนเดียวจะเรียกว่า เซมิเทรลิ่งอาร์ม (Semi trailing arm) ถูกออกแบบให้ใช้ในล้อหลัง แขนเต้นมีใช้ทั้งแบบจุดหมุนอยู่ตามแนวยาวและจุดหมุนอยู่ตามแนวขวางกับตัวรถ ปัจจุบันมีให้เห็นมากในรถ MPV ที่ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า จุดเด่น คือ มีชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่น้อย ห้องโดยสารจึงออกแบบได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
แม็คเฟอร์สันสตรัท (MacPherson strut)
การออกแบบคล้ายกับระบบปีกนกธรรมดา แต่ไม่มีปีกนกบน โช้คอัพและคอยล์สปริงจะรวมอยู่บนแกนเดียวกัน ทำให้ประหยัดเนื้อที่และลดชิ้นส่วนต่างๆ ลงได้มาก ตัวถังบริเวณที่รองรับชุดแม็คเฟอร์สันสตรัท ต้องแข็งแรงเป็นพิเศษ ข้อเสียของระบบกันสะเทือนชนิดนี้ คือ ไม่สามารถทำให้รถต่ำลงเท่าระบบกันสะเทือนแบบปีกนก จึงไม่นิยมใช้กับรถแข่งทางเรียบ (Racing Car) แต่บนทางฝุ่นในสนามแรลลี่โลก ใช้ แม็คเฟอร์สันสตรัทเกือบทุกค่ายเลยล่ะ
มัลติลิงค์ (Multi-link suspension)
คำว่ามัลติลิงค์จะค่อนข้างครอบคลุม สำหรับระบบกันสะเทือนที่ใช้แขนยึด (Link) แบบหลายจุด เช่น โฟร์บาร์ลิงค์เกจ, ไฟว์ลิงค์ หรือแขนยึดแบบ 5 จุด ที่ออกแบบให้ใช้แขนยึดหลายจุดเพื่อต้องการควบคุมมุมล้อ และรักษาหน้ายางให้ตั้งฉากกับพื้นถนน ปัจจุบันนิยมใช้กับล้อคู่หลังในกลุ่มรถ Luxury เพราะโดดเด่นเรื่องความนุ่มนวล ทั้งยังให้สมรรถนะในการยึดเกาะถนนที่ดี
2. ระบบบังคับเลียว

หน้าที่ของระบบบังคับเลี้ยว คือ เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่จาก
พวงมาลัยในแนวรัศมีไปเป็นการเคลื่อนที่ในแนวระนาบของคันชักคัน
ส่งเพื่อเปลี่ยนทิศทางการเลี้ยวของล้อ นอกจากนี้ระบบเลี้ยวควรจะมี
การทดแรงให้มีการได้เปรียบเชิงกลเพื่อให้คนขับไม่ต้องออกแรงมาก
ส่วนประกอบหลักสำคัญของระบบเลี้ยว ประกอบด้วย
(1) พวงมาลัย (Steering Wheel)
(2) แกนพวงมาลัย (Steering Shaft)
(3) เฟืองพวงมาลัย (Steering gear) ที่จะใช้ในการศึกษาคือ
Rack and pinion
(4) คันชักคันส่ง (Linkage Element)

2.1 แบบลูกปืนหมุนวน
โครงร่างของระบบบังคับเลี้ยวที่ได้ออกแบบมาสำหรับใช้กับรถยนต์ในปัจจุบันเป็นแบบลูกปืนหมุนวนและแบบเฟืองขับเฟืองสะพานที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบังคับเลี้ยว ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลัก 3 ส่วน
1.แกนพวงมาลัย
2.กระปุกเกียร์พวงมาลัย
3.ก้านต่อพวงมาลัย

แกนพวงมาลัย
แกนพวงมาลัยประกอบด้วย เพลาหลักของพวงมาลัยซึ่งถ่าย ทอดการหมุนพวงมาลัยไปยังกระปุกเกียร์พวงมาลัย ปลอกแกนพวงมาลัยซึ่งเป็นที่อ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบกันสะเทือนหรือระบบรองรับน้ำหนักหรือระบบแขวนล้อซึ่งพวกเรานิยมเรียกว่า "ช่วงล่าง" แปลมาจากคำว่าบริการในภาษาอังกฤษหน้าที่โดยตรงคือ "ลดอาการสั่นสะเทือนอันเกิดจากการกลิ้งของล้อสัมผัสกับพื้นผิวถนน" ให้หลงเหลือส่งถ่ายไปยังห้องโดยสารน้อยที่สุดแต่ระบบกันสะเทือนก็ยังมีหน้าที่แฝงอีกหลายข้อได้แก่ช่วยให้การบังคับควบคุมรถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ รักษาระดับตัวรถให้พื้นรถห่างจากผิวถนนคงที่ ควบคุมล้อให้ตั้งฉากกับพื้นถนนตลอดเวลาเพื่อให้หน้ายางสัมผัสกับพื้นถนนมากที่สุดแม้ในขณะเข้าโค้ง ลดอาการกระดกและโยนตัวสมดุลให้รถอยู่ในสภาพปกติขณะเคลื่อนที่ผ่านผิวถนนที่ไม่ราบเรียบการรองรับน้ำหนักในศัพท์ทางรถยนต์หมายถึงการใช้สปริงคั่นกลางระหว่างโครงรถ (เฟรม), ตัวถัง (ร่างกาย), เครื่องยนต์ ชุดส่งกำลังกับล้อซึ่งเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพื้นถนนน้ำหนักของอุปกรณ์ดังกล่าวตลอดจนน้ำหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริงเราเรียกว่าน้ำหนักเหนือสปริง (เปิดเผยน้ำหนัก) ส่วนน้ำหนักใต้สปริงซึ่งได้แก่ล้อ ยาง น้ำหนักใต้สปริงถูกเรียกว่าจะเป็นน้ำหนักที่สปริงไม่ได้รองรับและเบรกชุดเพลาท้าย (ในรถที่ใช้แบบคานแข็ง) (น้ำหนัก Unsprung) 1.1 แหนบ แหนบจะรับน้ำหนักและแรงสั่นสะเทือนโดยการ "โค้งหรืองอตัว" ของแผ่นแหนบสปริงขดรับน้ำหนักโดยการ "หดหรือยุบตัว" ของขดสปริงส่วนเหล็กบิดหรือทอร์ชั่นบาร์นั้นจะรับแรงสั่นสะเทือนโดยการ "บิดตัวของเพลา" สปริงลมลดแรงสั่นสะเทือนจากการ "อัดตัวของลม" ในถุงลม ในระบบส่วนสปริงแบบไฮโดรนิวเมติกดูดซับแรงสั่นสะเทือนโดยการอัดตัวของแก๊สไนโตรเจนและของเหลว (ที่ใช้อยู่เป็นน้ำมันไฮดรอลิก) 1.2 คอยสปริง เรามักเข้าใจว่า "สปริง" คือขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่าง ๆ ขดเป็นวง (สปริงขดหรือขดลวดสปริง) รูปทรงกระบอกแบบอย่างที่เราคุ้นเคยกันมาตลอดแต่ในความเป็นจริงสปริงยังมีอยู่อีกหลายประเภทหลายรูปแบบและที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบันได้แก่แหนบ (แหนบ), เหล็กบิดหรือทอร์ชั่นบาร์ (แรงบิดบาร์), สปริงลม (สปริงแอร์), สปริงยาง (สปริงยาง) และไฮโดรนิวเมติก (ไฮโดร - นิวเมติก) ในอนาคตเมื่อความก้าวหน้าทางวิศวกรรมสูงขึ้นอีกก็อาจมีสปริงรูปแบบใหม่ ๆ ออกมาใช้งานอีกก็เป็นได้ สปริงจะยุบและยืดตัวเมื่อล้อวิ่งผ่านผิวถนนที่ขรุขระส่งผลให้ล้อเคลื่อนที่ขึ้นลงได้เกือบอิสระในแนวดิ่งจากโครงรถทำให้สามารถ "ดูดกลืน" (ดูด) แรงเต้นของล้อลงได้แรงจากการเคลื่อนที่ของล้อจึงถูกส่งถ่ายไปยังตัวถังน้อยกว่าที่ล้อเต้นจริงผลก็คือผู้โดยสารและน้ำหนักบรรทุกจะได้รับแรงสะเทือนจากล้อลดลงนั่นเอง 1.3 ทอชั่นบาร์ (แรงบิดบาร์) มีรถยนต์หลายรุ่นได้นำเอาทอร์ชั่นบาร์มาใช้แทนแหนบและสปริงขดทั้งล้อหน้าและล้อหลังโดยเฉพาะในล้อหน้าจะเห็นได้ในรถกระบะระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้จะมีทอร์ชั่นบาร์สองท่อน (ของล้อหน้าซ้ายและล้อหน้าขวา) ติดตั้งตามยาวของโครงรถข้างละท่อนที่ปลายด้านหน้ายึดติดกับปีกนกล่างปลายด้านหลังยึดติดกับซับเฟรมซึ่งสามารถปรับแต่งความตึงของทอร์ชั่นบาร์ได้น้ำหนักของรถจะทำให้ทอร์ชั่นบาร์บิดตัวไปเหมือนกับสปริงขดจะยุบตัวหรือบิดตัวมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถการบิดตัวดังกล่าวจะทำให้เกิดผลของความเป็นสปริงเช่นเดียวกับสปริงรูปแบบอื่น ๆ 1.4 ปีกนก (Wishbone ระงับ) การออกแบบแตกต่างกันไปเช่นปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันแต่ขนานกัน ปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันและไม่ขนานกันระบบรองรับน้ำหนักประเภทนี้ได้รับความนิยมค่อนข้างแพร่หลายปัจจุบันสามารถออกแบบให้แข็งแรงมากพอและใช้อะลูมิเนียมที่มีน้ำหนักเบาแทนโครงสร้างเดิมที่เป็นเหล็กจึงไม่แปลกนอกจากในรถยนต์นั่งแล้วรถขับหลายรุ่นก็ใช้ระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้ด้วยเซมิเทรลิ่งอาร์ม (กึ่งแขนต่อท้าย)แขนเต้น (Trailing arm) อาจมีอยู่ 2 แขนหรือแขนเดียวก็ได้ถ้าเป็นแขนเดียวจะเรียกว่าเซมิเทรลิ่งอาร์ม (กึ่งแขนต่อท้าย) ถูกออกแบบให้ใช้ในล้อหลังแขนเต้นมีใช้ทั้งแบบจุดหมุนอยู่ตามแนวยาวและจุดหมุนอยู่ตามแนวขวางกับตัวรถปัจจุบันมีให้เห็นมากในรถ MPV ที่ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้าจุดเด่นคือมีชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่น้อยห้องโดยสารจึงออกแบบได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้นแม็คเฟอร์สันสตรัท (ป๋อนี้ MacPherson)การออกแบบคล้ายกับระบบปีกนกธรรมดาแต่ไม่มีปีกนกบนโช้คอัพและคอยล์สปริงจะรวมอยู่บนแกนเดียวกันทำให้ประหยัดเนื้อที่และลดชิ้นส่วนต่าง ๆ ลงได้มากตัวถังบริเวณที่รองรับชุดแม็คเฟอร์สันสตรัทต้องแข็งแรงเป็นพิเศษข้อเสียของระบบกันสะเทือนชนิดนี้คือไม่สามารถทำให้รถต่ำลงเท่าระบบกันสะเทือนแบบปีกนกจึงไม่นิยมใช้กับรถแข่งทางเรียบ (รถแข่ง) แต่บนทางฝุ่นในสนามแรลลี่โลกใช้แม็คเฟอร์สันสตรัทเกือบทุกค่ายเลยล่ะมัลติลิงค์ (ระบบกันสะเทือนมัลติลิงค์)แบบหลายจุดคำว่ามัลติลิงค์จะค่อนข้างครอบคลุมสำหรับระบบกันสะเทือนที่ใช้แขนยึด (Link) เช่นโฟร์บาร์ลิงค์เกจ ไฟว์ลิงค์หรือแขนยึดแบบ 5 จุดที่ออกแบบให้ใช้แขนยึดหลายจุดเพื่อต้องการควบคุมมุมล้อและรักษาหน้ายางให้ตั้งฉากกับพื้นถนนปัจจุบันนิยมใช้กับล้อคู่หลังในกลุ่มรถหรูเพราะโดดเด่นเรื่องความนุ่มนวลทั้งยังให้สมรรถนะในการยึดเกาะถนนที่ดี2. ระบบบังคับเลียว หน้าที่ของระบบบังคับเลี้ยวคือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่จากพวงมาลัยในแนวรัศมีไปเป็นการเคลื่อนที่ในแนวระนาบของคันชักคันส่งเพื่อเปลี่ยนทิศทางการเลี้ยวของล้อนอกจากนี้ระบบเลี้ยวควรจะมีการทดแรงให้มีการได้เปรียบเชิงกลเพื่อให้คนขับไม่ต้องออกแรงมากส่วนประกอบหลักสำคัญของระบบเลี้ยวประกอบด้วย(1) พวงมาลัย (พวงมาลัย)(2) แกนพวงมาลัย (เพลาขับ)(3) ที่จะใช้ในการศึกษาคือเฟืองพวงมาลัย (เกียร์)ชั้นและ pinion(4) คันชักคันส่ง (องค์ประกอบเชื่อมโยง) 2.1 แบบลูกปืนหมุนวน โครงร่างของระบบบังคับเลี้ยวที่ได้ออกแบบมาสำหรับใช้กับรถยนต์ในปัจจุบันเป็นแบบลูกปืนหมุนวนและแบบเฟืองขับเฟืองสะพานที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบังคับเลี้ยวประกอบด้วยชิ้นส่วนหลัก 3 ส่วน 1.แกนพวงมาลัย 2.กระปุกเกียร์พวงมาลัย 3.ก้านต่อพวงมาลัย แกนพวงมาลัย แกนพวงมาลัยประกอบด้วยเพลาหลักของพวงมาลัยซึ่งถ่ายทอดการหมุนพวงมาลัยไปยังกระปุกเกียร์พวงมาลัยปลอกแกนพวงมาลัยซึ่งเป็นที่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1. ระบบรองรับน้ำหนัก
ระบบกันสะเทือน หรือระบบรองรับน้ำหนัก หรือ ระบบแขวนล้อ ซึ่งพวกเรานิยมเรียกว่า "ช่วงล่าง" แปลมาจากคำว่า Suspensions ในภาษาอังกฤษ หน้าที่โดยตรง คือ "ลดอาการสั่นสะเทือนอันเกิดจากการกลิ้งของล้อสัมผัสกับพื้นผิวถนน" ให้หลงเหลือส่งถ่ายไปยังห้องโดยสารน้อยที่สุด แต่ระบบกันสะเทือนก็ยังมีหน้าที่แฝงอีกหลายข้อ ได้แก่ ช่วยให้การบังคับควบคุมรถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ, รักษาระดับตัวรถ ให้พื้นรถห่างจากผิวถนนคงที่, ควบคุมล้อให้ตั้งฉากกับพื้นถนนตลอดเวลาเพื่อให้หน้ายางสัมผัสกับพื้นถนนมากที่สุด แม้ในขณะเข้าโค้ง, ลดอาการกระดก และโยนตัว สมดุลให้รถอยู่ในสภาพปกติ ขณะเคลื่อนที่ผ่านผิวถนนที่ไม่ราบเรียบ
การรองรับน้ำหนัก ในศัพท์ทางรถยนต์ หมายถึง การใช้สปริงคั่นกลางระหว่างโครงรถ (Frame), ตัวถัง (Body), เครื่องยนต์, ชุดส่งกำลัง กับล้อ ซึ่งเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพื้นถนน น้ำหนักของอุปกรณ์ดังกล่าว ตลอดจนน้ำหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริง เราเรียกว่า น้ำหนักเหนือสปริง (Sprung weight) ส่วนน้ำหนักใต้สปริง ซึ่งได้แก่ ล้อ, ยาง, ชุดเพลาท้าย (ในรถที่ใช้แบบคานแข็ง) และเบรก จะเป็นน้ำหนักที่สปริงไม่ได้รองรับ ถูกเรียกว่า น้ำหนักใต้สปริง (Unsprung weight)

1.1 แหนบ
แหนบจะรับน้ำหนักและแรงสั่นสะเทือนโดยการ "โค้งหรืองอตัว" ของแผ่นแหนบ สปริงขดรับน้ำหนักโดยการ "หด หรือยุบตัว" ของขดสปริง ส่วนเหล็กบิด หรือทอร์ชั่นบาร์ นั้น จะรับแรงสั่นสะเทือนโดยการ "บิดตัวของเพลา", สปริงลมลดแรงสั่นสะเทือนจากการ "อัดตัวของลม" ในถุงลม, ส่วนสปริงแบบไฮโดรนิวเมติก ดูดซับแรงสั่นสะเทือน โดยการอัดตัวของแก๊สไนโตรเจนและของเหลว (ที่ใช้อยู่เป็นน้ำมันไฮดรอลิก) ในระบบ


1.2 คอยสปริง
เรามักเข้าใจว่า "สปริง" คือ ขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆ ขดเป็นวง รูปทรงกระบอก (สปริงขด หรือ Coil Spring) แบบอย่างที่เราคุ้นเคยกันมาตลอด แต่ในความเป็นจริง สปริงยังมีอยู่อีกหลายประเภท หลายรูปแบบ และที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ แหนบ (Leaf Spring), เหล็กบิด หรือทอร์ชั่นบาร์(Torsion bar), สปริงลม (Air Spring), สปริงยาง (Rubber Spring) และ ไฮโดรนิวเมติก (Hydro - Pneumatic) ในอนาคตเมื่อความก้าวหน้าทางวิศวกรรมสูงขึ้นอีก ก็อาจมีสปริงรูปแบบใหม่ๆ ออกมาใช้งานอีกก็เป็นได้
สปริงจะยุบและยืดตัวเมื่อล้อวิ่งผ่านผิวถนนที่ขรุขระ ส่งผลให้ล้อเคลื่อนที่ขึ้น-ลงได้เกือบอิสระในแนวดิ่งจากโครงรถ ทำให้สามารถ "ดูดกลืน" (Absorb) แรงเต้นของล้อลงได้ แรงจากการเคลื่อนที่ของล้อจึงถูกส่งถ่ายไปยังตัวถังน้อยกว่าที่ล้อเต้นจริง ผลก็คือผู้โดยสารและน้ำหนักบรรทุกจะได้รับแรงสะเทือนจากล้อลดลงนั่นเอง


1.3 ทอชั่นบาร์ (Torsion bar)
มีรถยนต์หลายรุ่นได้นำเอาทอร์ชั่นบาร์มาใช้แทนแหนบและสปริงขด ทั้งล้อหน้าและล้อหลัง โดยเฉพาะในล้อหน้าจะเห็นได้ในรถกระบะ ระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้จะมีทอร์ชั่นบาร์สองท่อน (ของล้อหน้าซ้าย และล้อหน้าขวา) ติดตั้งตามยาวของโครงรถข้างละท่อน ที่ปลายด้านหน้ายึดติดกับปีกนกล่าง ปลายด้านหลังยึดติดกับซับเฟรม ซึ่งสามารถปรับแต่งความตึงของทอร์ชั่นบาร์ได้ น้ำหนักของรถจะทำให้ทอร์ชั่นบาร์บิดตัวไปเหมือนกับสปริงขด จะยุบตัวหรือบิดตัวมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถ การบิดตัวดังกล่าวจะทำให้เกิดผลของความเป็นสปริง เช่นเดียวกับสปริงรูปแบบอื่นๆ

1.4 ปีกนก (Wishbone suspension)
การออกแบบแตกต่างกันไป เช่น ปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันแต่ขนานกัน, ปีกนกบนและปีกนกล่างยาวไม่เท่ากันและไม่ขนานกัน ระบบรองรับน้ำหนักประเภทนี้ได้รับความนิยมค่อนข้างแพร่หลาย ปัจจุบันสามารถออกแบบให้แข็งแรงมากพอ และใช้อะลูมิเนียมที่มีน้ำหนักเบา แทนโครงสร้างเดิมที่เป็นเหล็ก จึงไม่แปลก นอกจากในรถยนต์นั่งแล้ว รถ Off-road หลายรุ่นก็ใช้ระบบกันสะเทือนรูปแบบนี้ด้วย
เซมิเทรลิ่งอาร์ม (Semi trailing arm)
แขนเต้น (Trailing arm) อาจมีอยู่ 2 แขน หรือแขนเดียวก็ได้ ถ้าเป็นแขนเดียวจะเรียกว่า เซมิเทรลิ่งอาร์ม (Semi trailing arm) ถูกออกแบบให้ใช้ในล้อหลัง แขนเต้นมีใช้ทั้งแบบจุดหมุนอยู่ตามแนวยาวและจุดหมุนอยู่ตามแนวขวางกับตัวรถ ปัจจุบันมีให้เห็นมากในรถ MPV ที่ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า จุดเด่น คือ มีชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่น้อย ห้องโดยสารจึงออกแบบได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
แม็คเฟอร์สันสตรัท (MacPherson strut)
การออกแบบคล้ายกับระบบปีกนกธรรมดา แต่ไม่มีปีกนกบน โช้คอัพและคอยล์สปริงจะรวมอยู่บนแกนเดียวกัน ทำให้ประหยัดเนื้อที่และลดชิ้นส่วนต่างๆ ลงได้มาก ตัวถังบริเวณที่รองรับชุดแม็คเฟอร์สันสตรัท ต้องแข็งแรงเป็นพิเศษ ข้อเสียของระบบกันสะเทือนชนิดนี้ คือ ไม่สามารถทำให้รถต่ำลงเท่าระบบกันสะเทือนแบบปีกนก จึงไม่นิยมใช้กับรถแข่งทางเรียบ (Racing Car) แต่บนทางฝุ่นในสนามแรลลี่โลก ใช้ แม็คเฟอร์สันสตรัทเกือบทุกค่ายเลยล่ะ
มัลติลิงค์ (Multi-link suspension)
คำว่ามัลติลิงค์จะค่อนข้างครอบคลุม สำหรับระบบกันสะเทือนที่ใช้แขนยึด (Link) แบบหลายจุด เช่น โฟร์บาร์ลิงค์เกจ, ไฟว์ลิงค์ หรือแขนยึดแบบ 5 จุด ที่ออกแบบให้ใช้แขนยึดหลายจุดเพื่อต้องการควบคุมมุมล้อ และรักษาหน้ายางให้ตั้งฉากกับพื้นถนน ปัจจุบันนิยมใช้กับล้อคู่หลังในกลุ่มรถ Luxury เพราะโดดเด่นเรื่องความนุ่มนวล ทั้งยังให้สมรรถนะในการยึดเกาะถนนที่ดี
2. ระบบบังคับเลียว

หน้าที่ของระบบบังคับเลี้ยว คือ เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่จาก
พวงมาลัยในแนวรัศมีไปเป็นการเคลื่อนที่ในแนวระนาบของคันชักคัน
ส่งเพื่อเปลี่ยนทิศทางการเลี้ยวของล้อ นอกจากนี้ระบบเลี้ยวควรจะมี
การทดแรงให้มีการได้เปรียบเชิงกลเพื่อให้คนขับไม่ต้องออกแรงมาก
ส่วนประกอบหลักสำคัญของระบบเลี้ยว ประกอบด้วย
(1) พวงมาลัย (Steering Wheel)
(2) แกนพวงมาลัย (Steering Shaft)
(3) เฟืองพวงมาลัย (Steering gear) ที่จะใช้ในการศึกษาคือ
Rack and pinion
(4) คันชักคันส่ง (Linkage Element)

2.1 แบบลูกปืนหมุนวน
โครงร่างของระบบบังคับเลี้ยวที่ได้ออกแบบมาสำหรับใช้กับรถยนต์ในปัจจุบันเป็นแบบลูกปืนหมุนวนและแบบเฟืองขับเฟืองสะพานที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบังคับเลี้ยว ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลัก 3 ส่วน
1.แกนพวงมาลัย
2.กระปุกเกียร์พวงมาลัย
3.ก้านต่อพวงมาลัย

แกนพวงมาลัย
แกนพวงมาลัยประกอบด้วย เพลาหลักของพวงมาลัยซึ่งถ่าย ทอดการหมุนพวงมาลัยไปยังกระปุกเกียร์พวงมาลัย ปลอกแกนพวงมาลัยซึ่งเป็นที่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 . ระบบรองรับน้ำหนัก
ระบบกันสะเทือนหรือระบบรองรับน้ำหนักค็อคระบบแขวนล้อซึ่งพวกเรานิยมเรียกว่า " ช่วงล่าง " แปลมาจากคำว่าช่วงล่างในภาษาอังกฤษหน้าที่โดยตรงความ " ลดอาการสั่นสะเทือนอันเกิดจากการกลิ้งของล้อสัมผัสกับพื้นผิวถนน "แต่ระบบกันสะเทือนก็ยังมีหน้าที่แฝงอีกหลายข้อช่วยให้การบังคับควบคุมรถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพได้แก่ ,รักษาระดับตัวรถให้พื้นรถห่างจากผิวถนนคงที่ควบคุมล้อให้ตั้งฉากกับพื้นถนนตลอดเวลาเพื่อให้หน้ายางสัมผัสกับพื้นถนนมากที่สุดแม้ในขณะเข้าโค้ง , ,ลดอาการกระดกและโยนตัวสมดุลให้รถอยู่ในสภาพปกติขณะเคลื่อนที่ผ่านผิวถนนที่ไม่ราบเรียบ
การรองรับน้ำหนักในศัพท์ทางรถยนต์หมายถึงการใช้สปริงคั่นกลางระหว่างโครงรถ ( กรอบ ) , ตัวถังเครื่องยนต์ ( ร่างกาย ) ,ชุดส่งกำลังกับล้อซึ่งเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพื้นถนนน้ำหนักของอุปกรณ์ดังกล่าวตลอดจนน้ำหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริงเราเรียกว่าน้ำหนักเหนือสปริง ( มันหนัก ) ส่วนน้ำหนักใต้สปริงล้อ ,ยางชุดเพลาท้าย ( ในรถที่ใช้แบบคานแข็ง ) , และเบรกจะเป็นน้ำหนักที่สปริงไม่ได้รองรับถูกเรียกว่าน้ำหนักใต้สปริง ( น้ำหนักสปริง )


แหนบ 1.1แหนบจะรับน้ำหนักและแรงสั่นสะเทือนโดยการ " โค้งหรืองอตัว " ของแผ่นแหนบสปริงขดรับน้ำหนักโดยการ " หดหรือยุบตัว " ของขดสปริงส่วนเหล็กบิดหรือทอร์ชั่นบาร์นั้นจะรับแรงสั่นสะเทือนโดยการ " บิดตัวของเพลา "สปริงลมลดแรงสั่นสะเทือนจากการ " อัดตัวของลม " ในถุงลมส่วนสปริงแบบไฮโดรนิวเมติกดูดซับแรงสั่นสะเทือน , โดยการอัดตัวของแก๊สไนโตรเจนและของเหลว ( ที่ใช้อยู่เป็นน้ำมันไฮดรอลิก ) ในระบบ



คอยสปริง 1.2เรามักเข้าใจว่า " สปริง " ความขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆขดเป็นวงรูปทรงกระบอก ( สปริงขดค็อคขดสปริง ) แบบอย่างที่เราคุ้นเคยกันมาตลอดแต่ในความเป็นจริงสปริงยังมีอยู่อีกหลายประเภทหลายรูปแบบ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: